Você está na página 1de 2

ภเณ อมฺโภ คือศัพททไมไดแจกดวยวิภตติทง ๗ อยางนามศัพท คงรูปอยู อาวุโส ี่ ั ั้ อยางเดียว แบงเปน ๓ คือ ๑) อุปสัค ๒) นิบาต ๓) ปจจัย

อัพยยศัพท

ิ ้ อุปสัค ใชนำหนานามนาม คุณนาม และกิรยา ใหพเศษขึน เร, อเร ิ เมือนำหนานาม มีอาการคลายคุณนาม [คือเปนวิเสสนะ] ่ เห เมือนำหนากิรยา มีอาการคลายกิรยาวิเสสนะ ่ ิ ิ เช
○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

อุปสัค ๒๐
อติ ยิง, เกิน, ลวง ่ อุป อธิ ยิง, ใหญ, ทับ ่ นิ อภิ ยิง, ใหญ, จำเพาะ, ขางหนา นิ ่ อนุ นอย, ภายหลัง, ตาม ป อป ปราศ, หลีก ปฏิ อป, ป ใกล, บน ปริ อุ ขึน, นอก ้ วิ อว, โอ ลง สํ ปรา กลับความ สุ อา ทัว, ยิง, กลับความ ่ ่ ทุ เขาไป, ใกล, มัน ่ เขา, ลง ไมม,ี ออก ทัว, ขางหนา, กอน, ออก ่ เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ รอบ วิเศษ, แจง, ตาง พรอม, กับ, ดี ดี, งาม, งาย ชัว, ยาก ่

ทิวา สุเว หิยโย ฺ เสฺว อภิกขณํ ฺ

พนาย (คนผดเรียกคนใช) ู ี นิบาตบอกอุปมาอุปไมย แนะผเจริญ (ใชเรียกชายดวยวาจาสุภาพ) ู ยถา, เสยฺยถา ฉันใด วิย ราวกะ ดูกอนผมอายุ (พระพรรษาแก เรียกพระพรรษาออน, ตถา, เอวํ ฉันนัน  ูี ้ อิว เพียงดัง พระเรียกคฤหัสถ) นิบาตบอกประการ เวย, โวย (เรียกคนเลวทราม) กถํ ดวยประการไร ตถา, เอวํ ดวยประการนัน ้ เฮย (เรียกคนเลวทราม) แม (เรียกสาวใช) นิบาตบอกปฏิเสธ น, โน ไม, หามิได อลํ พอ, อยาเลย นิบาตบอกกาล มา อยา ว เทียว วัน ปาโต เชา วินา เวน เอว นันเทียว ่ ในวัน สายํ เย็น
○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

วันวาน วันพรง ุ เนืองๆ

อถ สมฺปติ อายตึ

ครังนัน ้ ้ บัดเดียวนี้ ๋ ตอไป

นิบาตบอกความไดยนคำเลาลือ ิ
กิร, ขลุ, สุทํ ไดยนวา ิ

นิบาตบอกที่
อุทธ,ํ อุปริ เบืองบน ฺ ้ โอรํ ฝงใน  อโธ เบืองต่ำ ้ ปารํ ฝงนอก  อนฺโต ภายใน หุรํ โลกอืน ่ ติโร, พหิ, พหิทธา, พาหิรา ภายนอก สมฺมขา ตอหนา ฺ ุ เหฏฐา ภายใต ปรมฺมขา ลับหลัง ุ อนฺตรา ระหวาง รโห ทีลบ ่ั

นิบาตบอกปริกป [คาดคะเน] ั
เจ หากวา สเจ, อถ ถาวา ยทิ ผิวา  อปฺเปว นาม ชือแมไฉน ่ ยนฺนน กระไรหนอ ู

นิบาตบอกความถาม
กึ หรือ, ทำไม, อยางไร กจฺจิ แลหรือ นุ หนอ กถํ อยางไร นนุ มิใชหรือ [เชิงปฏิเสธ] เสยฺยถีทํ อยางไรนี้ อุทาหุ, อาทู หรือวา

นิบาต

• วัดหลวงพอสดฯ ๒๕๕๒ •

นิบาต ใชลงในระหวางนามศัพทบาง กิรยาศัพทบาง บอก  ิ  นิบาตบอกปริจเฉท อาลปนะ กาล ที่ ปริเฉท อุปไมย ปฏิเสธ ความไดยนเลาลือ ความ ิ กีว เพียงไร สมนฺตา โดยรอบ ปริกป ความถาม ความรับ ความเตือน เปนตน ั ยาว เพียงใด ตาว เพียงนัน ้ นิบาตบอกอาลปนะ ยาวตา มีประมาณเพียงใด ตาวตา มีประมาณเพียงนัน ้ ยคฺเฆ สรวมชีพ, ขอเดชะ กิตตาวตา มีประมาณเทาใด เอตฺตาวตา มีประมาณเทานัน ฺ ้ ภนฺเต, ภทนฺเต ขาแตทานผเจริญ (ผนอยพูดกับผใหญ)  ู ู  ู ยาวเทว เพียงใดนันเทียว ตาวเทว เพียงนันนันเทียว ่ ้ ่
○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

นิบาตบอกความรับ
อาม, อามนฺตา เออ, (ครับ, คะ, ใช ฯลฯ)

นิบาตบอกความเตือน
อิงฆ เชิญเถิด ฺ หนฺท, ตคฺฆ เอาเถิด

นิบาตสำหรับผูกศัพทและประโยค
ปน, ตุ ก็, สวนวา จ ก็, จริงอย,ู อนึง, ่ ดวย (และ) หิ ก็, จริงอย,ู เพราะวา นุ, วต หนอ โข แล อถวา อีกอยางหนึง ่ วา หรือ, บาง, ก็ด,ี ก็ตาม อป แม, บาง อปจ เออก็ สุ สิ

ปจจัย
ลงทายนามศัพท เปนเครืองหมายวิภตติ ่ ั ลงทายธาตุ เปนเครืองหมายกิรยาและวิภตติ ่ ิ ั
• โต ปจจัย ใชลงทายนามนามและสัพพนาม

• ทา ทานิ รหิ ธุนา ทาจนํ ชฺช ชฺชุ ปจจัย ใชลงทายสัพพนาม

นิบาตสักวาเปนเครืองทำบทใหเต็ม ่
เว, หเว เวย, แล โว โวย, แล

นิบาตมีเนือความตางๆ ้
ปุน อีก สห, สทฺธึ กับ, พรอม ปุนปฺปนํ บอยๆ ุ สยํ, สามํ เอง สณิกํ คอยๆ นูน แน ภิยโย ฺ ยิง ่ อทฺธา, อวสฺสํ แนแท ภิยโยโส โดยยิง ฺ ่ อฺญทตฺถุ โดยแท สมฺมา โดยชอบ ปจฺฉา ภายหลัง มิจฉา ฺ ผิด ปฏฐาย, ปภูติ จำเดิม มุสา เท็จ กิจาป ฺ แมนอยหนึง  ่ มุธา เปลา กฺวจิ บาง อุจจํ ฺ สูง อารา ไกล นีจํ ต่ำ อาวี แจง สกึ คราวเดียว อโห โอ สตกฺขตฺตุ ํ รอยคราว อโถ อนึง ่ ตาว กอน นานา ตางๆ ปฐมํ กอน, ทีแรก, ครังแรก เตนหิ ้ ถาอยางนัน ้ นาม ชือ, ชือวา, ธรรมดา, ธรรมชาติ ่ ่ อิติ เพราะเหตุนน, วา...ดังนี,้ ดวยประการฉะนี,้ ชือวา ั้ ่

เปนเครืองหมาย ตติยาวิภตติ แปลวา ขาง ่ ั เปนเครืองหมาย ปญจมีวภตติ แปลวา แต ่ ิ ั ยโต แต-ใด เอกโต ขางเดียว ตโต แต-นัน ้ อุภโต ขางทังสอง ้ เอโต, อโต แต-นัน ่ ปรโต ขางอืน ่ อิโต แต-นี้ อปรโต ขางอืนอีก ่ อมุโต แต-โนน ปุรโต ขางหนา อฺญโต แต-อืน ่ ปจฺฉโต ขางหลัง อฺญตรโต แต-อันใดอันหนึง ทกฺขณโต ขางขวา ่ ิ สพฺพโต แต-ทังปวง ้ วามโต ขางซาย กุโต แต-ไหน อุตตรโต ขางเหนือ ฺ กตรโต แต-อะไร อธรโต ขางลาง อิตรโต แต-นอกนี้
• ตฺร ตฺถ ห ธ ธิ หึ หํ หิจนํ ว ปจจัย ใชลงทายสัพพนาม ฺ

เปนเครื่องหมาย สัตตมีวิภัตติ แปลวา ใน ลงในกาล อยางเดียว ยทา ในกาลใด, เมือใด ่ กรหจิ ในกาลไหนๆ, บางครัง ้ ตทา ในกาลนัน, เมือนัน ้ ่ ้ อธุนา ในกาลนี,้ เมือกี้ ่ เอกทา ในกาลหนึง, (บางที) ่ กุทาจนํ ในกาลไหน สพฺพทา, สทา ในกาลทังปวง, อชฺช ในวันนี้ ้ ในกาลทุกเมือ ่ สชฺชุ ในวันมีอย,ู ในวันนี้ กทา ในกาลไร, เมือไร ่ ปรชฺชุ ในวันอืน ่ กทาจิ ในกาลไหน, บางคราว อปรชฺชุ ในวันอืนอีก ่ อิทานิ, เอตรหิ ในกาลนี,้ เดียวนี้ ๋
• ตเว

ตุ ํ ปจจัย ในนามกิตก ใชลงทายธาตุ*

เปนเครืองหมายจตุตถีวภตติ แปลวา เพืออัน, เพือการ ่ ิ ั ่ ่ เปนเครืองหมายปฐมาวิภตติ แปลวา อ.อัน, อ.การ ่ ั กาตเว เพือการทำ ่ กาตุ ํ เพือการทำ, อ.การทำ ่

ตูน ตฺวา ตฺวาน ปจจัย (กับทังปจจัยทีอาเทศออกจาก ้ ่


กาตูน กตฺวา กตฺวาน ทำแลว ยโต = ยสฺมา ยตฺร = ยสฺมึ ยทา = ยสฺมึ กาเล

• วัดหลวงพอสดฯ ๒๕๕๒ •

เปนเครืองหมาย สัตตมีวภตติ ่ ิ ั ยตฺร, ยตฺถ, ยหึ, ยหํ ตตฺร, ตตฺถ, ตหึ, ตหํ อตฺร, อตฺถ, เอตฺถ, อฺญตฺร, อฺญตฺถ กตฺร, กตฺถ, กุห,ึ กหํ, สพฺพตฺร, สพฺพตฺถ, เอกตฺร, เอกตฺถ อุภยตฺร, อุภยตฺถ
○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

แปลวา ใน ใน-ใด ใน-นัน ้ อิธ, อิห ใน-นี้ ใน-อืน ่ กุหจนํ, กฺว ใน-ไหน ิ ฺ สพฺพธิ ใน-ทังปวง ้ ใน-เดียว ใน-สอง
○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

ตฺวา) ในกิรยากิตก ใชลงทายธาตุ เปนเครืองหมาย อัพยยกิรยา ิ ่ ิ


(คือแจกดวยวิภตติไมได) ั
* ทำใหเปนกิรยานาม ิ

นิบาตเพิมเติม: ่ ขิปปํ สหสา พลัน, โดยพลัน ฺ อฺญตฺตร เวน, แยก

อฺญตร (สัพพนาม) คนใดคนหนึง ่ กตฺถจิ ใน-ไหน, ในทีไหน, ่ อฺญตฺร (สัพพนาม) ใน-อืน (= อฺญสฺม) บางที่ ่ ึ

Você também pode gostar