Você está na página 1de 108

ISSN: 1906-7976

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Journal of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology,


Silpakorn University
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 พ.ศ.2553

Vol. 1 No.2 2010

ISSN 1906-7976

กําหนดการออกและการเผยแพร

ปละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – เดือนมิถุนายน

ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – เดือนธันวาคม

เผยแพรออนไลน http://www.asat.su.ac.th
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

คณะกรรมการดําเนินการวารสารอิเล็กทรอนิกส คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

คณบดี คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ประธานที่ปรึกษา


รองคณบดี ฝายบริหารและวางแผน ที่ปรึกษา
รองคณบดี ฝายวิชาการ วิจัย ที่ปรึกษา
รองคณบดี ฝายกิจการนักศึกษา ที่ปรึกษา
ผูชวยคณบดี ฝายบริหารและวางแผน ที่ปรึกษา
ผูชวยคณบดี ฝายวิชาการ วิจัย ที่ปรึกษา

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล ประธานคณะกรรมการ


รองศาสตราจารย มานะ กาญจนมณีเสถียร กรรมการ
อาจารย ดร.อนันท เชาวเครือ กรรมการ
อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล กรรมการ
อาจารย อนวัช บุญญภักดี กรรมการ
อาจารย นวลเพ็ญ พวงพันสี กรรมการ
อาจารย พิสิษฐ สุวรรณแพทย กรรมการและเลขานุการ
นายจารุกิตติ์ สมโสภณ กรรมการและผูชวยเลขานุการ
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

บรรณาธิการที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข

บรรณาธิการ

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล


email address: surawat@su.ac.th

ผูชวยบรรณาธิการ

อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล


email address: kcharune@su.ac.th

ผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ

รองศาสตราจารย นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข รองศาสตราจารยมานะ กาญจนมณีเสถียร

ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม ผูชวยศาสตราจารยอุไรวรรณ ไอยสุวรรณ

ผูชวยศาสตราจารยภัทราพร ภุมรินทร อาจารย ดร.ศิวพร แพงคํา

อาจารย นายสัตวแพทย ดร.นรินทร ปริยวิชญภักดี อาจารย ดร.สุภาวดี มานะไตรนนท

อาจารย ดร.อนันท เชาวเครือ อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล อาจารย นายสัตวแพทยศิริชัย เอียดมุสิก

ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาจารย พิสิษฐ สุวรรณแพทย นายจารุกิตติ์ สมโสภณ


บรรณาธิการแถลง บ[[[

จากการเปดรับบทความเพื่อเผยแพรใน “วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย


ศิลปากร” ในคราวแรก บทความสวนหนึ่งที่ผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ ไดเผยแพรใน
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรปที่ 1 ฉบับที่ 1 แลวนั้น เนื่องจากไดรับความ
สนใจจากคณาจารยและบุคลากรที่ไดสงบทความมาเปนจํานวนมาก และยังคงมีบทความที่ผานการพิจารณาจาก
ผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ รอการเผยแพร ทางกองบรรณาธิการจึงไดพิจารณาเผยแพรวารสารคณะสัตวศาสตร
และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรปที่ 1 ฉบับที่ 2 กอนวาระกําหนด

บทความในวารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับนี้ เปนผลงานที่สงมา


จากทุกสาขาวิชาที่เปนสวนงานของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดแก
สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวน้ํา สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย และสาขาวิชาพื้นฐานสัตวศาสตร นอกจากนั้นยังพบวาผลงานที่สงมาเกิดจากการ
ทํางานวิจัยรวมกันระหวางสาขาวิชาภายในคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรและคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย
ศิลปากร ซึ่งคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนคณะวิชาที่ใหความอนุเคราะหตอการจัดตั้งคณะสัตวศาสตรและ
เทคโนโลยีการเกษตร และมีสวนรวมในการพัฒนาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรเสมอมา ในการจัดทํา
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงนับวาเปนเวทีที่ใหคณาจารย บุคลากรและ
นักศึกษา ไดมีโอกาสในการเผยแพรผลงาน ซึ่งนับวาเปนกาวที่สําคัญกาวหนึ่งของการพัฒนาคณะสัตวศาสตรและ
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

บรรณาธิการ
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

สารบัญเรื่อง หนา

ผลของพรีไบโอติกสตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในไกเนื้อพันธุพื้นเมืองไทยลูกผสม

ประวิทย วงศสุวรรณ และคณะ……………………………………………………………………. 1

การใชสารสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชบางชนิดเปนพรีไบโอติกสสําหรับเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย

กรดแลคติก

ดาสณี นวมศิริ และคณะ……………………………………………………………………...….. 17

ผลของไคโตซานตอแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดพันธุกากีแคมปเบลล

กัลยาณี จันทคง และคณะ.......................................……………………………………………… 29

การแยกแบคทีเรียโปรไบโอติกสจากไกไขที่ไดรับน้ําหมักชีวภาพจากพืช

อุทุมพร กุลวงศ และคณะ…………………………………………………………………….….. 41

การพบเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนไขไกสดจากตลาดนัดในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี

สุรวัฒน ชลอสันติสกุล…………………………………………………………………………... 50

ศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาที่จังหวัด

รอยเอ็ด

พิสิษฐ สุวรรณแพทย และคณะ………………………………………………………..………… 57

Induction and Recovery Time from Anesthesia in Mozambique Tilapia (Oreochromis

mossambicus Peters, 1852) Fingerlings Exposed to Clove Oil

Somrudee Silarudee and Others………………………………………………………..….......... 85


วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

นิพนธตนฉบับ

ผลของพรีไบโอติกสตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในไกเนื้อพันธุพื้นเมืองไทยลูกผสม
Effect of Prebiotics on Growth Performance in Male Thai Native Crossbred Meat-type Chicken

ประวิทย วงศสุวรรณ1 สมชาย โสรีกุน1 สุรวัฒน ชลอสันติสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล2 และภัทราพร ภุมรินทร1

1
สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
2
สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอ

จากการศึกษาผลของพรีไบโอติกสตอสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผู โดยใชไกพันธุพื้น
เมืองไทยลูกผสมเชิงการคา “ไกตะนาวศรี” เพศผู อายุ 1 วัน จํานวน 60 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุมตลอด
แบงเปน 5 กลุมการทดลอง กลุมละ 2 ซ้ําๆละ 6 ตัว ดังนี้ กลุมที่ 1 เปนกลุมควบคุม กลุมที่ 2 เสริม FOS (Fructo-
oligosaccharide) กลุมที่ 3 เสริม IMO (Isomalto-oligosaccharide) กลุมที่ 4 เสริม Inulin กลุมที่ 5 เสริม
Immunowall® โดยทุกกลุมเสริมพรีไบโอติกสที่ 4 กรัม/กิโลกรัม จากการทดลองพบวาสมรรถนะการ
เจริญเติบโตของกลุมที่ไดรับ FOS มีสมรรถนะการเจริญเติบโตดีที่สุดโดยแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับ
กลุมทดลองอื่นๆ (P<0.05) อยางไรก็ตามกลุมที่ไดรับ Inulin พบวามี FCR ดีที่สุด โดยแตกตางอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติกับกลุมทดลองอื่นๆ (P<0.05) จากการทดลองสรุปไดวาการเสริมพรีไบโอติกสทําใหสมรรถนะการ
เจริญเติบโตของไกเนื้ เพศผูดีขึ้น เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม

คําสําคัญ: พรีไบโอติกส ไกเนื้อ สมรรถนะการเจริญเติบโต

1|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Abstract

Effect of prebiotics on growth performance in male commercial Thai native crossbred chicken
“Tanao-Sri” was investigated. Sixty of day-old chickens were divided in to 5 groups (6 birds/pen/treatment
with 2 replications), using completely randomized design (CRD). Group 1 was control group. Group 2 was
supplemented FOS (Fructo-oligosaccharide). Group 3 was supplemented IMO (Isomalto-oligosaccharide).
Group 4 was supplemented Inulin. Group 5 was supplemented Immunowall® . The result revealed that FOS
group had the greatest growth performance and was significantly different from other treatments (P<0.05),
while Inulin group had the greatest Feed Conversion Ratio and was significantly different from other
treatments (P<0.05). This experiment can be concluded that supplemented with prebiotics could improve
growth performance of chicken compared to the control group.

Keywords: Prebiotics, Broiler Chicken, Growth Performance

บทนํา

ปจจุบันมีการปรับปรุงพันธุไกใหเหมาะสมกับความตองการของตลาดเพื่อใหไดผลผลิตสูงสุดภายใน
ระยะเวลาที่สั้นลง ผูประกอบการจึงไดผสมสารปฏิชีวนะหรือเภสัชเคมีภัณฑเพื่อควบคุมเชื้อโรคในอาหารหรือ
เรงการเจริญเติบโตในอาหารสัตว แตการใชสารดังกลาวเปนระยะเวลานานจะสงผลใหเชื้อจุลินทรียที่เปนเชื้อกอ
โรค เกิดการดื้อยาได ซึ่งทําใหการรักษาโรคยากยิ่งขึ้น เนื่องจากเกิดการดื้อยาของเชื้อกอโรค นอกจากนี้การเลี้ยง
ไกดวยสารปฏิชีวนะยังประสบปญหาในเรื่องสารตกคางในผลิตภัณฑสัตว ซึ่งสงผลกระทบตอการสงออก
ผลิตภัณฑสัตวเปนอยางมากโดย เฉพาะการกีดกันทางการคาจากสหภาพยุโรปที่เขมงวดในเรื่องมาตรฐาน
สุขอนามัย ซึ่งมีการหามใชสารปฏิชีวนะในอาหาร เนื่องจากเล็งเห็นอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูบริโภค เมื่อ
คํานึงถึงสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหารของไก กระเพาะอาหารและลําไสเล็กจะทําหนาที่ในการยอยและดูด
ซึมสารอาหารที่สําคัญ สวนลําไสใหญทําหนาที่สะสมกากอาหารที่ไมดูดซึมแลว โดยในลําไสใหญจะมี
จุลินทรียอยูเปนจํานวนมาก ทําหนาที่ยอยสลายกากอาหารและเปลี่ยนเปนมูล โดยมีจุลินทรียที่มีผลดีตอสุขภาพ
เรียกวา โปรไบโอติกส (Probiotics) เพื่อสงเสริมใหมีจุลินทรียสุขภาพในลําไสใหญเพิ่มปริมาณมากขึ้น ทําได

2|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ดวยการใหอาหารของจุลินทรีย ที่เรียกวา พรีไบโอติกส (Prebiotics) (Olano-Martin et al., 2002) พรีไบโอติกสจ


มีคุณสมบัติทนตอการยอยในทางเดินอาหารสวนบนได เมื่อเคลื่อนมาถึงลําไสใหญจะเปนอาหารใหกับจุลินทรีย
ที่มีประโยชนในลําไสใหญ ซึ่งเมื่อจุลินทรียที่มีประโยชนนําพรีไบโอติกสไปใช จะเกิดการเปลี่ยนรูปพรีไบโอ
ติกส ดวยกระบวนการหมัก (Fermentation) ของจุลินทรียที่มีประโยชน เชน กรดไขมันสายสั้น (Short Chain
Fatty Acids; SCFA) ซึ่งจะใหพลังงานกับเซลลของลําไส ชวยใหผนังลําไสมีความแข็งแรง สามารถทําหนาที่ใน
การยอย การดูดซึมสารอาหารและการดูดซึมน้ําไดสมบูรณ สงผลใหสัตวมีสุขภาพที่ดี นอกจากนั้นจุลินทรียที่มี
ประโยชนยังสามารถผลิตสารปฏิชีวนะไดทําใหเกิดการควบคุมเชื้อกอโรคดวยสารปฏิชีวนะที่จุลินทรียผลิต
ขึ้นมาอีกดวย
แนวทางหนึ่งที่ไกจะมีการเจริญเติบโตที่ดีและปลอดภัยจากสารเคมีตกคาง ไดแก การทําใหจุลินทรียที่มี
ประโยชนสามารถทํางานไดอยางเต็มที่ดวยการเสริมพรีไบโอติกสใหกับจุลินทรียที่มีประโยชนในลําไสของไก
เพื่อกระตุนใหจุลินทรียที่มีประโยชนเจริญเติบโต และกอประโยชนใหกับไกได

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาผลของพรีไบโอติกสชนิดตางๆ ที่มีตอสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผู

วิธีการวิจัย

ใชแผนการทดลองแบบสุมตลอด (Completely Randomized Design; CRD) โดยแบงกลุมการทดลอง


ออกเปน 5 กลุม กลุมละ 2 ซ้ําๆ ละ 6 ตัว รวม 60 ตัว โดยชั่งน้ําหนักไกทุกเชากอนใหอาหารและชั่งน้ําหนัก
อาหารกอนใหและหลังใหอาหารใชระยะเวลาทดลอง 60 วัน กลุมการทดลองแบงออกเปน 5 กลุมการทดลอง
ดังนี้
กลุมที่ 1 กลุมควบคุม ใหอาหารสําเร็จรูปอยางเดียว
กลุมที่ 2 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม FOS (Fructo-oligosaccharide) 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม
กลุมที่ 3 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม IMO (Isomalto-oligosaccharide) 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม
กลุมที่ 4 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม Inulin 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม

3|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กลุมที่ 5 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม ผลิตภัณฑพรีไปโอติกสทางการคาในรูปของผนังเซลลของยีสต


ยี่หอ Immunowall® 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม
ผสมอาหารสําเร็จรูปกับพรีไบโอติกสที่จะใหไกกินในแตละวันโดยผสมอาหาร 2 วันตอ 1 ครั้ง ครั้งละ
1 กิโลกรัมและเพิ่มอาหารตามความตองการโภชนะของไก โดยการใหอาหารจะแบงตามอายุ ดังนี้
ไกอายุ 0-3 สัปดาหจะใชไฟกกเพื่อใหไกเกิดความอบอุน และใหอาหารสําเร็จรูปยี่หอ ป.เจริญพันธุ
เบอร 004 วันละ 3 ครั้ง เปลี่ยนน้ําทุกวัน
ไกอายุ 4-6 สัปดาหในชวงนี้จะไมมีการกก แตใหอาหารสําเร็จรูปยี่หอ ป.เจริญพันธุ เบอร 004 A วันละ
2 ครั้งเชาและเย็น เปลี่ยนน้ําทุกวัน
ไกอายุ 7 สัปดาหขึ้นไปใหอาหารสําเร็จรูปยี่หอ ป.เจริญพันธุ เบอร 004 วันละ 2 ครั้งเชาและเย็น เปลี่ยน
น้ําทุกวัน
ทําการเก็บขอมูลจากการชั่งน้ําหนักไกทุกวันในตอนเชากอนใหอาหารโดยชั่งน้ําหนักไกทุกตัว ชั่ง
น้ําหนักอาหารกอนและหลังการใหอาหารเพื่อคํานวณหาปริมาณอาหารที่ไกกินในแตละวันที่ทําการทดลอง เพื่อ
นําไปคํานวณอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Feed Conversion Ratio; FCR) น้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน
(Average Daily Gain; ADG), ปริมาณอาหารที่สัตวกินได (Feed Intake; FI (กรัม/ตัว/วัน) ประสิทธิภาพการใช
อาหาร (Feed Efficiency; FE) อัตราการตาย (%) (Mortality Rate) และอัตราการเลี้ยงรอด (%) (Survival Rate;
SVR) นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance; ANOVA) โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
SAS และตรวจสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยดวยวิธี DMRT (Duncan’s New Multiple’s Range Test) (SAS,
1998)

4|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ผลการวิจัย

ตารางที่ 1 แสดงน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (ADG) อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR) ปริมาณ


อาหารที่กินได (FI) ประสิทธิภาพการใชอาหาร (FE) น้ําหนักตัวและปริมาณอาหารที่ไกกินของไกเนื้อเพศผูที่
อายุ 1- 60 วันของแตละกลุมการทดลอง

ADG (g) FCR (g/g) FI (g/b/d) FE (%) น้ําหนักตัว ปริมาณอาหาร


(กรัม) ที่ไกกิน (กรัม)
Control 19.40 b 2.07ab 41.84b 46.35 1170.00ab 2427.90 ab
FOS 21.17a 2.14a 46.92a 45.12 1273.75a 2721.70a
IMO 18.72b 2.05ab 39.86d 46.95 1129.17b 2297.50b
Inulin 19.56b 1.96b 41.20bc 47.48 1182.83ab 2389.60b
Immunowall® 18.80b 2.11a 41.01c 45.86 1128.75b 2378.40b
% CV 2.23 2.19 0.61 2.09 4.97 4.49
หมายเหตุ a, b, c, ab, bc หมายถึงอักษรในคอลัมนเดียวกันหากแตกตางกัน แสดงวาคาเฉลี่ยมีความแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

5|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แผนภูมิที่ 1 แสดงคาน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (Average Daily Gain; ADG) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8


สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

ADG

25.00

20.00
control
15.00 FOS
IMO
10.00 Inulin
Immunowall®
5.00

0.00
1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

weeks

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1 แสดงถึงคาน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (Average Daily Gain; ADG)


ของไกเนื้อเพศผู แตละกลุมการทดลองพบวา FOS (21.17) มีคาเฉลี่ยสูงกวากลุมทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติ (p<0.05) สวนกลุม Inulin (19.56), กลุมควบคุม (19.40), Immunowall® (18.80) และ IMO (18.72) มี
คาเฉลี่ยไมแตกตางกัน

6|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แผนภูมิที่ 2 แสดงคาอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Feed Conversion Ratio; FCR) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8


สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

FCR

2.5

2 control

1.5 FOS
IMO
1
Inulin
0.5 Immunowall®

0
1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

Weeks

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 2 แสดงคาอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Feed Conversion Ratio; FCR)


ของไกเนื้อเพศผูที่แตละกลุมการทดลองพบวา Inulin (1.96) มีคาเฉลี่ยดีที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)
เมื่อเทียบกับกลุม FOS (2.14) และ Immunowall® (2.11) แตไมแตกตางจากกลุมกลุมควบคุม (2.07) และ IMO
(2.05)

7|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แผนภูมิที่ 3 แสดงคาปริมาณอาหารที่กินได (Feed Intake; FI (กรัม/ตัว/วัน)) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาห


ของแตละกลุมการทดลอง

FI

50.00
45.00
40.00
control
35.00
30.00 FOS
25.00 IMO
20.00 Inulin
15.00
Immunowall®
10.00
5.00
0.00
1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วั น

weeks

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 3 แสดงคาปริมาณอาหารที่กินได (Feed Intake; FI (กรัม/ตัว/วัน)) ของไก


เนื้อเพศผู แตละกลุมการทดลองพบวากลุม FOS (46.92) มีคาเฉลี่ยสูงกวากลุมทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติ (p<0.05) สวนกลุม Inulin (41.20) ไมแตกตางจากกลุมควบคุมและกลุม Immunowall® (41.01) แตกลุม
ควบคุม (41.84) กลุม Immunowall® (41.01) และกลุม IMO (39.86) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(p<0.05)

8|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แผนภูมิที่ 4 แสดงคาประสิทธิภาพการใชอาหาร (Feed Efficiency; FE) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของ


แตละกลุมการทดลอง

FE

60
50
control
40 FOS
30 IMO
20 Inulin

10 Immunowall®

0
1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

weeks

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 4 แสดงคาประสิทธิภาพการใชอาหาร (Feed Efficiency; FE) ของไกเนื้อ


เพศผูแตละกลุมการทดลองพบวา มีคาเฉลี่ยไมมีแตกตางกันทางสถิติ (P>0.05) โดยกลุม Innulin (47.48) มี
คาเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมาคือกลุม IMO (46.95), Control (46.35) Immunowall® (45.86) และ FOS (45.12)

9|Page
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แผนภูมิที่ 5 แสดงน้ําหนัก (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

การเจริญเติบโต

1400.00
control
1200.00

1000.00
FOS
800.00
น้ําหนั ก(g)

600.00 IMO

400.00
Inulin
200.00

0.00
Immunowall®
1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน
อายุ (สั ปดาห)

จากตารางที่ 1 และ แผนภูมิที่ 5 แสดงน้ําหนัก (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูแตละกลุมการทดลองพบวา FOS


(1273.75) มีคาเฉลี่ยของน้ําหนักตัวสูงที่สุด แตไมแตกตางกับกลุมควบคุม (1170.00) และกลุม Innulin (1182.83)
แตแตกตางกับกลุม IMO (1129.17) และ กลุม Immunowall® (1128.75) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กลุม
IMOและ กลุม Immunowall® ไมตางกับกลุมควบคุมและ กลุม Innulin อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

10 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แผนภูมิที่ 6 แสดงปริมาณอาหารที่ไกกิน (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

อาหารที่ไกกิน/ตัว /สัปดาห

3000.00

2500.00
control
2000.00
ปริ มาณอาหาร(กรั ม)

FOS
1500.00 IMO

1000.00 Inulin
Immunowall®
500.00

0.00
1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

สัปดาห

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 6 แสดงปริมาณอาหารที่ไกกิน (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูแตละกลุมการ


ทดลองพบวา FOS (2721.70) มีคาเฉลี่ยปริมาณอาหารที่กินมากที่สุด แตไมแตกตางจากกลุมควบคุม (2427.90)
แตแตกตางกับกลุม IMO (2297.50), Inulin (2389.60) และกลุม Immunowall® (2378.40) อยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติ (p>0.05)

11 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

อภิปรายผลการวิจัย

จากการทดลองพบวากลุมที่เสริม FOS สามารถเพิ่มน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน, ปริมาณอาหารที่กิน


ได, คาเฉลี่ยของน้ําหนักตัว และ คาเฉลี่ยปริมาณอาหารที่กิน มากที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมทดลองอื่นอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ Xu et al. (2003) ไดศึกษาผลของการยอยโภชนะ
ที่มี Fructo-oligosaccharide ตอกระบวนการยอยของเอนไซม, แบคทีเรียในลําไส และรูปรางของลําไส ในไก
เนื้อเพศผูพบวาการเสริม FOS ที่ 4 กรัม/กิโลกรัม ชวยเพิ่มน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันเมื่อเทียบกับกลุมควบคุม
เพราะวาการเสริม FOS ทําใหมีอัตราการกินไดเพิ่มขึ้น (Ammerman. et.al., (1988) จึงชวยใหการเจริญเติบโตดี
ขึ้น (Waldroup et al., 1993)
จากการทดลองกลุมที่เสริม Inulin สามารถเพิ่มอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ และประสิทธิภาพการ
ใชอาหารได สอดคลองกับการศึกษาผลของการเสริม Chicory Fructans ตอสมรรถนะการเจริญเติบโต, ไขมัน
และลําไสใหญของไกเนื้อเพศผู ที่พบวามีอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อดีขึ้น ประสิทธิภาพการใชอาหาร
เพิ่มขึ้นไดอยางมีนัยสําคัญ โดย Chicory Fructans มีสวนผสมของ Inulin ซึ่งมีคุณมบัติเปนพรีไบโอติกส และใน
Inulin นี้มีสวนประกอบของ Ketoses-oligosaccharide ซึ่งประกอบดวย Glucose, Sucrose และ Fructose ซึ่งเปน
น้ําตาลพื้นฐานของโอลิโกแซคาไรดดังกลาว (Patterson et al., 1997)
จากการทดลองกลุมที่เสริม IMO พบวาไมสงผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตไดดีเทากลุมทดลองอื่น
ซึ่งแตกตางจาการทดลองของ Zhang et al. (2003) ไดศึกษาผลของการเสริม Isomalto-Oligosaccharides ตอการ
เจริญเติบโตและจุลินทรียในลําไสของไกเนื้อเพศผู พบวาสมรรถนะเจริญเติบโตของไกดีในชวง 3 สัปดาหแรก
แตไมสงผลในชวงสัปดาหที่ 4 เพราะวา IMO มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเอนไซมและจุลินทรียในลําไส ในชวง
อายุ 7 สัปดาหของไกจะมีการเปลี่ยนแปลงเอนไซมและจุลินทรียในลําไส (Barnes et al., 1972; He et al., 2000)
Zhang (2000) รายงานวาการเสริม IMO ที่ 0.2 หรือ 0.4% มีผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในชวงระยะแรก
ของการเลี้ยง
จากการทดลองกลุมที่เสริม Immunowall® พบวาไมสงผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตไดดีเทากลุม
ทดลองอื่น ซึ่งไมสอดคลองกับการทดลองของ Santin et al. (2006) ไดศึกษาผลสมรรถนะและการพัฒนาลําไส
เล็กของไกเนื้อเพศผูจากอาหารที่ผสม Saccharomyces cerevisiae Cell Wall (SCCW) พบวาชวยใหอัตราการ
เปลี่ยนอาหารเปนเนื้อดีขึ้น เนื่องจากการเสริม SCCW ชวยใหการดูดซึมในลําไสดีขึ้นทําใหสามารถเพิ่ม
สมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผูได (Santin et al. 2001) และ Yeast cell wall มีสวนประกอบของ

12 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Mannan-oligosaccharides ที่ทําใหอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อดีขึ้น (Savage & Zakrzewska, 1997, Fritts &


Waldroup, 2003)

สรุปผลการวิจัย

จากการทดลองพบวาพรีไบโอติกสตางชนิดกันมีผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผู
แตกตางกันทางสถิติ (p<0.05) โดย กลุมที่ใหอาหารสําเร็จรูปผสม FOS มีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน ปริมาณ
อาหารที่กินได คาเฉลี่ยของน้ําหนักตัว และคาเฉลี่ยปริมาณอาหารที่กินดีที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมทดลองอื่นๆ อยาง
มีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สําหรับอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อและประสิทธิภาพการใชอาหารพบวากลุม
ที่ใหอาหารสําเร็จรูปผสม Inulin มีคาดีที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมทดลองอื่นๆอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)
และทุกกลุมการทดลองมีอัตราการตาย 0 % และ อัตราการเลี้ยงรอดที่ 100 % จากการทดลองการเสริมพรีไบโอ
ติกสชนิด Inulin และ FOS มีศักยภาพในการสงเสริมสมรรถนะการเจริญโตของไกเนื้อพันธุพื้นเมืองไทยลูกผสม
เชิงการคา “ไกตะนาวศรี” เพศผู

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.ไชยวัฒน ไชยสุต หนวยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพ คณะเภสัชศาสตร


มหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่อนุเคราะหพรีไบโอติกส บริษัท แอคอินเทล จํากัด ที่อนุเคราะห Immunowall® บริษัท
ตะนาวศรีไกไทย จํากัด ที่อนุเคราะหสัตวทดลอง บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว จํากัด ที่อนุเคราะหอาหาร
สัตวทดลอง โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเพชรบุรี ที่อนุเคราะหใหใชโรงเรือนและอุปกรณเลี้ยงสัตว และ
ขอขอบคุณ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่
สนับสนุนงบประมาณการวิจัย

13 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

บรรณานุกรม

เกียรติศักดิ์ สรอยสุวรรณ. (2545). การเจริญเติบโตสัตวปก. พิมพครั้งที่ 2. คณะวิชาสัตวศาสตร สถาบัน


เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, นครศรีธรรมราช. 290 น.
ธํารงศักดิ์ พลบํารุง. (2542). การเลี้ยงไกพันธุเนื้อ. พิมพครั้งที่ 9. สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 35 น.
สุวิทย รัตนชัย. (2539). การเลี้ยงไกเนื้อเพศผู. สํานักพิมพเกษตรสยาม, กรุงเทพฯ. 88 น.
มานพ มวงใหญ. (2542). สหสาขาศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท: การเลี้ยงสัตว. หนวยวิชาปรสิตวิทยา ภาควิชาพยาธิ-
วิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
Ammerman, E., Quarles, C. and Twining P. V. (1988). Broiler response to the addition of dietary fructo-
oligosaccharides. Poultry Science. 67 (Suppl.1):46.
Bailey, J. S., Blankenship, L. C. and Cox. N. A. (1991). Effect of fructo-oligosaccharides on
Salmonella colonization of the chicken intestine. Poultry Science. 70:2433–2438.
Bradley, G.L., Savage, T.F. and Timm, K.I. (1994). The effects of supplementing diets with Saccharomyces
cerevisiae var. boulardii on male poultry performance and ileal morphology. Poultry Science.
73:1766–1770.
Barnes, E.M., Mead, G.C. and Barnum. D.A. (1972). The intestinal flora of the chicken in the period 2 to 6
weeks of age, with particular reference to the anaerobe. Poultry Science. 13:311–326.
Chen, Y.C. and Chen. T.C. (2004). Mineral utilization in layers as influenced by dietary oligofructose and
inulin. International Journal of Poultry Science, 3 (7): 442-445.
Chen, Y.C., Nakthong C. and Chen., T.C. (2005). Improvement of laying hen performance by dietary
prebiotic chicory oligofructose and inulin. International Journal of Poultry Science 4 (2): 103-108.
Cumming, J.H., Macfarlane G.T. and Englyst H.N. (2001). Prebiotic digestion and fermentation. Am J Clin
Nutr 2001;73(suppl):S415-420.
Chung, C.H. and Day., D. F. (2004). Efficacy of Leuconostoc mesenteroides (ATCC 13146)
isomaltooligosaccharides as a poultry prebiotic. Poultry Science. 83:1302–1306.
Farn-Worth, E.R. (2000). Prebiotics and probiotics. Handbook of Nutraceuticals and Functional Foods. New
York, CRC Press. 2000:407-422.

14 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Francis, C., Janky D. M., Arafa A. S. and Harms, R. H. (1978). Interrelationships of lactobacillus and zinc
bacitracin in diets of turkey poults. Poultry Science. 57:1687-1689.
Fritts, C.A., Waldroup P.W. (2003). Evaluation of Bio-Mos mannan-oligosaccharides as a replacement for
growth promoting antibiotics in diet for turkeys. International Journal of Poultry Science; 2 (1):19-
22.
Fuller, R., (1977). The importance of Lactobacilli in maintaining normal microbial balance in the crop. Br.
Poultry Science. 18: 85-94
Gibson, G.R. and Roberfroid, M.B. (1995). Dietary modulation of the human colonic microbiota: introducing
the concept of prebiotics. Journal of Nutrition. 125, 1401–1412.
Halsted, C.H. (2003). Dietary supplements and functional foods. Am J Clin Nutr 77 (Suppl):1001-1007.
He, Z. Y., Yang, Z. H., Wu, Y. C. and Cui. F. T. (2000). Study on the law of colonization of main normal
flora in chick’s digestive tract. Acta Vet. Zootech. Sin. 31:41–48.
Hopkins, M. J., Cummings, J. H., Coleman, N. and Langlands. S. J. (2004). Prebiotic carbohydrates modify
the mucosa associated microflora of the human large bowel. Gut, 2004 53:11. 1610-1616.
Kleessen, B., Sykura B, Aunft H.J. and Blaut., M. (1997). Effects of inulin and lactose on fecal microflora,
microbial activity, bowel habit in elderly constipated person. Am J Clin Nutr 65: 1397-1402.
Luo, J., Rizkalla S.E. and Alamowitch C. (1996). Chronic consumption of short-chain fructo-oligosaccharides
by healthy subjects decreased basal hepatic glucose production but had no effect on insulin-stimulate
glucose metabolism. Am J Clin Nutr 63:939-935.
MacFaddin, J.F. (1985). Media for isolation, cultivation, identification and maintenance of medical bacteria,
Volume I. Williams & Wilkins, London
Olano-Martin, E., Gibson, G.R. and Rastall R.A. (2002). Comparison of the in vitro bifidogenic properties of
pectins and pecticoligosaccharides. Journal of Applied Microbiology 93, 505–511.
Ohata, A., Ohtsuki M., Baba S., Adachi T. and Sakata., T., Sakaguchi E.l. (1995). Calcium and magnesium
absorption from the colon and rectum are increased in rats fed fructooligosaccharides. J Nutr;
125:2417-2424

15 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Patterson, J. A., Orban, J. I., Sutton, A. L. and Ricards, G. N. (1997). Selective enrichment of Bifidobacteria
in the intestinal tracts of broilers by thermally produced ketoses and effect on broiler performance.
Poultry Science. 76: 497-500.
Roberfroid, M.B. (2000). Prebiotics and probiotics: are they functional foods. Am J Clin Nutr;
71(Suppl):1682-1700.
Rycroft, C.E., Jones, M.R., Gibson, G.R. and Rastall., R.A. (2000). Fermentation properties of gentio-
oligosaccharides. Letters in Applied Microbiology 32, 156–161.
SAS Institute Inc., (1989). SAS User’s Guide: Statistics, version 6.12. SAS Institute Inc., Cary, NC.
Santin, E., Paulillo., A.C., Nakagui., L.S., Alessi., A.C. and Maiorka. A.M. (2006). Evaluation of yeast cell
wall on the performance of broiles fed diets with or without mycotoxins. Brazilian Journal of Poultry
Science. 8:221 – 225.
Santin, E., Maiorka A., Macari M., Grecco M., Sanchez J.C., Okada T.M. and Myasaka., A.M. (2001).
Performance and intestinal mucosa development in broiler chickens fed ration containing
Saccharomyces cerevisiae cell wall. Journal of Applied Poultry Research; 10:236-244.
Savage, T.F., Zakrzewska E.I. (1997). The performance of male turkeys fed a starter diet containing a
mannan-oligosaccharides. Zootechnia International; 20:30-32.
Waldroup, A. L., Skinner, J. T., Hierholzer, R. E. and Waldroup, P. W. (1993). An evaluation of fructo-
oligosaccharide in diets for broiler chickens and effects on salmonellae contaminationof carcasses.
Poultry Science. 72:643–650.
Xu, Z.R., Hu, C.H., Xia, M.S., Zhan, X.A. and Wang, M.Q. (2003). Effects of dietary fructo-oligosaccharide
on digestive enzyme activities, intestinal microflora and morphology of male broilers. Poultry
Science. 82:1030-1036.
Zhang, W. F., Li, D. F., Lu W. Q. and Yi, G. F. (2003). Effects of isomalto-oligosaccharides on broiler
performance and intestinal microflora. Poultry Science 82:657–663.

Received 10 December 2009


Accepted 10 January 2010

16 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

นิพนธตนฉบับ

การใชสารสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชบางชนิดเปนพรีไบโอติกสสําหรับเพาะเลี้ยงแบคทีเรียกรดแลคติก
The Use of Some Plant Carbohydrate Extract as Prebiotics for Culturing of Lactic Acid Bacteria

ดาสณี นวมศิริ1 อรชุมา มีกุล1 สุรวัฒน ชลอสันติสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล2 และ ธนิต ผิวนิ่ม3

1
สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
2
สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
3
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อทดสอบผลของสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมหัวใหญ หอมแดง
หอมแขก กระเทียมกลีบเล็ก กระเทียมโทน กระเทียมกลีบใหญ ผักกาดขาวปลี ผักกาดหางหงษ หัวไชเทา และ
มันแกว ตอการเจริญของแบคทีเรียกรดแลกติก ทําการวิเคราะหขอมูลโดยการเปรียบเทียบสวนโคงของการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรียจากการวัดคาการดูดกลืนแสง ผลการศึกษาพบวาสารสกัดคารโบไฮเดรตจาก
หอมหัวใหญ หอมแดง หอมแขก กระเทียมกลีบเล็ก กระเทียมโทน กระเทียมกลีบใหญ ผักกาดขาวปลี ผักกาด
หางหงษ หัวไชเทา และมันแกว สามารถกระตุนการเจริญของแบคทีเรียกรดแลกติก L. acidophilus ได

คําสําคัญ: แบคทีเรียกรดแลคติก คารโบไฮเดรต สารอาหารจากพืช การเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย

17 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Abstract

The aim of this study was studied the effects of carbohydrate extracts from Onion, Shallot, Tree
onion, Garlic (small cloves), Garlic (single cloves), Garlic (large cloves), Chinese cabbage, Michilli-type
cabbage, Chinese radish and Yam bean on the growth of lactic acid bacteria. The plants extracts were tested
for the effects on the growth of lactic acid bacteria. The data was analyzed by using the comparison between
the growth curves of lactic acid bacteria by measuring the optical density. The result revealed that
carbohydrate extracts from Onion, Shallot, Tree onion, Garlic (small cloves), Garlic, Garlic (large cloves),
Chinese cabbage, Michilli-type cabbage, Chinese radish and Yam bean could be able to stimulate the growth
of three strains of lactic acid bacteria namely L. acidophilus.

Keywords: Lactic Acid Bacteria, Carbohydrate, Phytonutrient, Bacterial Culture

บทนํา

คารไบไฮเดรตเปนสารจําพวกอัลดีไฮด (Aldehyde) หรือคีโตน (Ketone) ที่มีหมูไฮดรอกซี (-OH group)


หลายหมูในโมเลกุล ที่มีธาตุเปนองคประกอบคือ คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ในอัตราสวน 1 : 2 : 1
(สุปรียา, 2544 ) โดยคารโบไฮเดรต (Carbohydrates) เปนสารที่ใหพลังงานแกรางกาย ทั้งนี้คารโบไฮเดรตแบง
ออกเปน 2 ประเภท คือ คารโบไฮเดรตที่เปนโครงสราง (Structure Carbohydrate) และคารโบไฮเดรตที่ไมเปน
โครงสราง (Non-Structure Carbohydrate) ไดแก น้ําตาล (Sugar) โอลิโกแซคคาไรด (Oligosaccharides) และโพ
ลีแซคคาไรด (Polysaccharides) บางชนิด ซึ่งเปนคารโบไฮเดรตที่มีความสําคัญตอรางกาย นําไปใชสราง
พลังงาน และเปนแหลงอาหารของแบคทีเรียที่เปนประโยชนตอรางกาย (เยาวรัตน, 2547)
พรีไบโอติกส คือ สวนประกอบของสารคารโบไฮเดรตที่ไมถูกยอยและถูกดูดซึมในระบบทางเดิน
อาหารตอนบนและสามารถเพิ่มปริมาณแบคทีเรียชนิดสรางกรดแลคติกที่มีอยูในลําไสใหญและสงผลดีตอ
สุขภาพ (Gibson and Roberfroid, 1995) แหลงธรรมชาติของอาหารพรีไบโอติกสคือ อาหารที่มีเสนใยจากพืชผัก
และผลไมตางๆ เชน หัวหอม กระเทียม กลวย หนอไมฝรั่ง พืชสมุนไพร ธัญพืช ฯลฯ (มาลี, 2543)

18 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ในประเทศไทยมีพืชพื้นบานที่มีสารพรีไบโอติกสที่มีประโยชนตอสุขภาพมากมาย จากการวิจัยพบวา
แหลงธรรมชาติของสารพรีไบโอติกส คือ อาหารที่มีเสนใยจากพืชผักและผลไม เชน หัวหอม กระเทียม กลวย
หนอไมฝรั่ง รากหัวของพืช (หัวมัน) วานหางจระเข เห็ด พืชสมุนไพร ธัญพืช ฯลฯ (มาลี, 2543) ดังนั้นจึงทําการ
สกัดคารโบไฮเดรตจากพืชผักที่สามารถหาไดงายในทองถิ่นซึ่งคัดเลือกมาใชในการศึกษา เพื่อเปนแนวทางใน
การวิเคราะหและสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชผักทองถิ่นตอไป

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาชนิดของสารสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชผักในทองถิ่นที่เหมาะตอการใชเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย
กรดแลคติก

วิธีการวิจัย

ทําการทดลองโดยคัดเลือกพืชจํานวน 10 ชนิดไดแก หอมหัวใหญ, หอมแดง, หอมแขก, กระเทียมกลีบ


เล็ก, กระเทียมโทน, กระเทียมกลีบใหญ, ผักกาดขาวปลี, ผักกาดหางหงษ, หัวไชเทา และมันแกว โดยซื้อจาก
ตลาดกลางพืชผักในทองถิ่น สําหรับจุลินทรียที่ใชในการทดลอง ไดแก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034
โดยสั่งซื้อจากศูนยจุลินทรีย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) นําพืชแตละชนิดมา
สกัดคารโบไฮเดรตตามแตชนิดของพืช ไดแก หอมหัวใหญ, หอมแดง, หอมแขก, ผักกาดขาวปลี, ผักกาดหาง
หงษ, มันแกว และหัวไชเทา โดยวิธีการสกัดดวยน้ําอยางงาย (Simple water extraction) (Wongputtisin, 2003)
สําหรับกระเทียมทั้ง 3 ชนิด ทําการกําจัดสารอัลลิซิโดยใชวิธีการอบ (ศิริกุล, 2542) แลวจึงนํามาทําการสกัดเอา
คารโบไฮเดรตโดยใชเอทานอล 70% (Laura et al., 2001) แลวนําสกัดที่ไดมาประกอบสูตรอาหารเพาะเลี้ยง
แบคทีเรียกรดแลคติกที่มี deMan, Rogosa and Sharpe (MRS broth) เปนองคประกอบหลักเพื่อศึกษาการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรียกรดแลคติกจากสูตรอาหารเพาะเลี้ยงแบคทีเรียกรดแลคติก 27 สูตร ที่แตกตางกัน
ประกอบดวยสูตรอาหารชุดควบคุม 1 สูตร และสูตรอาหารทดสอบ 26 สูตร โดยทําการทดลองพืชแตละชนิด
ชนิดละ 2 ซ้ํา ดังนี้

19 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

สูตรที่ 1 สูตรควบคุม MRS broth ที่มีน้ําตาลกลูโคส 2%


สูตรที่ 2 และ 3 MRS broth ที่ผสมสารฟรุกโตโอลิโกแซคาไรดซึ่งจัดเปนสารพรีไบโอติกสมาตรฐาน
แทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2% ตามลําดับ
สูตรที่ 4 และ 5 MRS broth ที่ผสมสารไอโซมอลโตโอลิโกแซคคาไรดซึ่งจัดเปนสารพรีไบโอติกส
มาตรฐานแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2% ตามลําดับ
สูตรที่ 6 และ 7 MRS broth ที่ผสมสารอินนูลินซึ่งจัดเปนสารพรีไบโอติกสมาตรฐานแทนกลูโคสที่
ความเขมขน 1% และ 2% ตามลําดับ
สูตรที่ 8 และ 9 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากกระเทียมกลีบเล็กแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ
2% ตามลําดับ
สูตรที่ 10 และ 11 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากกระเทียมโทนแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ
2% ตามลําดับ
สูตรที่ 12 และ 13 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากกระเทียมกลีบใหญแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1%
และ 2% ตามลําดับ
สูตรที่ 14 และ 15 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากผักกาดขาวปลีแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ
2% ตามลําดับ
สูตรที่ 16 และ 17 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากผักกาดหางหงษแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ
2% ตามลําดับ
สูตรที่ 18 และ 19 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากมันแกวแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%
ตามลําดับ
สูตรที่ 20 และ 21 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหอมหัวใหญแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%
ตามลําดับ
สูตรที่ 22 และ 23 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหอมแดงแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%
ตามลําดับ
สูตรที่ 24 และ 25 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหอมแขกแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%
ตามลําดับ
สูตรที่ 26 และ 27 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหัวไชเทาแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%
ตามลําดับ

20 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ตรวจวัดอัตราการเพิ่มปริมาณของแบคทีเรียโดยการวัดความขุนในสูตรอาหารตางๆจํานวน 27 สูตร
โดยการวัดคาความขุนดวยเครื่องสเปกโตโฟโตมิเตอร (Spectrophotometer) ที่ความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ทุก
4 ชั่วโมง เปนเวลา 24 ชั่วโมง และทําการวัดอีกครั้งในชั่วโมงที่ 38 (Olano et al., 2000 อางโดย เยาวรัตน, 2547)

ผลการวิจัย

สวนที่ 1 การศึกษาเสนโคงการเจริญของแบคทีเรียกรดแลคติก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034


ในสูตรอาหารที่ผสมสารตางกันที่ระดับความเขมขนเทากัน ที่ 1% และ 2%

21 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

1.6
OD 600 nm

1.4
1.2
1
0.8
0.6
0.4
0.2
0
0 5 10 15 20 25 30 35 40
เวลา (ชั่วโมง)

สูตรที่ 1 (glucose 2%) สูตรที่ 2 (FOS 1%)


สูตรที่ 4 (IMO 1%) สูตรที่ 6 (Inulin 1%)
สูตรที่ 8 (กระเทียมกลีบเล็ก 1%) สูตรที่ 10 (กระเทียมโทน 1%)
สูตรที่ 12 (กระเทียมกลีบใหญ 1%) สูตรที่ 14 (ผักกาดขาวปลี 1%)
สูตรที่ 16 (ผักกาดหางหงษ 1%) สูตรที่ 18 (มันแกว 1%)
สูตรที่ 20 (หอมหัวใหญ 1%) สูตรที่ 22 (หอมแดง 1%)
สูตรที่ 24 (หอมแขก 1%) สูตรที่ 26 (หัวไชเทา 1%)

แผนภูมิที่ 1 แสดงการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน


ที่ความเขมขน 1%

พบวาที่ระดับความเขมขน 1% (w/v) มีการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034


เรียงจากมากไปนอยดังนี้คือ สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากกระเทียมโทน, มันแกว, ผักกาดหาง
หงษ, กลูโคส, กระเทียมกลีบใหญ, ผักกาดขาวปลี, กระเทียมกลีบเล็ก, หอมแขก, หัวไชเทา, อินนูลิน, หอมแดง,
หอมหัวใหญ, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด และไอโซมอลโตโอลิโกแซคคารไรด ตามลําดับ

22 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

1.8
OD 600 nm

1.6
1.4
1.2
1
0.8
0.6
0.4
0.2
0
0 5 10 15 20 25 30 35 40
เวลา (ชั่วโมง)

สูตรที่ 1 (glucose 2%) สูตรที่ 3 (FOS 2%)


สูตรที่ 5 (IMO 2%) สูตรที่ 7 (Inulin 2%)
สูตรที่ 9 (กระเทียมกลีบเล็ก 2%) สูตรที่ 11 (กระเทียมโทน 2%)
สูตรที่ 13 (กระเทียมกลีบใหญ 2%) สูตรที่ 15 (ผักกาดขาวปลี 2%)
สูตรที่ 17 (ผักกาดหางหงษ 2%) สูตรที่ 19 (มันแกว 2%)
สูตรที่ 21 (หอมหัวใหญ 2%) สูตรที่ 23 (หอมแดง 2%)
สูตรที่ 25 (หอมแขก 2%) สูตรที่ 27 (หัวไชเทา 2%)

แผนภูมิที่ 2 แสดงการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน


ที่ความเขมขน 2%

พบวาที่ระดับความเขมขน 2% (w/v) มีการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034


เรียงจากมากไปนอยดังนี้คือ สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว, ผักกาดขาวปลี, หอมแขก,
กลูโคส, หอมแดง, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด, ไอโซมอลโตโอลิโกแซคคารไรด, อินนูลิน, ผักกาดหางหงษ,
กระเทียมโทน, หัวไชเทา, กระเทียมกลีบใหญ, กระเทียมกลีบเล็ก และหอมหัวใหญ ตามลําดับ
สวนที่ 2 การเจริญของแบคทีเรียที่สรางกรดแลคติก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตร
อาหารตางๆ ทั้งหมด 27 สูตร ที่ใชสารสกัดคารโบไฮเดรตทดแทนแหลงคารบอนในอาหารเลี้ยงเชื้อ

23 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

2
OD 600 nm

1.5

0.5

0
0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 36 38 40
เวลา (ชั่วโมง)
สูตรที่ 1 (glucose 2%) สูตรที่ 2 (FOS 1%) สูตรที่ 3 (FOS 2%)
สูตรที่ 4 (IMO 1%) สูตรที่ 5 (IMO 2%) สูตรที่ 6 (Inulin 1%)
สูตรที่ 7 (Inulin 2%) สูตรที่ 8 (กระเทียมกลีบเล็ก 1%) สูตรที่ 9 (กระเทียมกลีบเล็ก 2%)
สูตรที่ 10 (กระเทียมโทน 1%) สูตรที่ 11 (กระเทียมโทน 2%) สูตรที่ 12 (กระเทียมกลีบใหญ 1%)
สูตรที่ 13 (กระเทียมกลีบใหญ 2%) สูตรที่ 14 (ผักกาดขาวปลี 1%) สูตรที่ 15 (ผักกาดขาวปลี 2%)
สูตรที่ 16 (ผักกาดหางหงษ 1%) สูตรที่ 17 (ผักกาดหางหงษ 2%) สูตรที่ 18 (มันแกว 1%)
สูตรที่ 19 (มันแกว 2%) สูตรที่ 20 (หอมหัวใหญ 1%) สูตรที่ 21 (หอมหัวใหญ 2%)
สูตรที่ 22 (หอมแดง 1%) สูตรที่ 23 (หอมแดง 2%) สูตรที่ 24 (หอมแขก 1%)
สูตรที่ 25 (หอมแขก 2%) สูตรที่ 26 (หัวไชเทา 1%) สูตรที่ 27 (หัวไชเทา 2%)

แผนภูมิที่ 3 แสดงการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารตางกัน

จากแผนภูมิการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 เปรียบเทียบกันในสูตร


อาหารทั้งหมด 27 สูตรพบวาแบคทีเรียมีการเจริญเรียงลําดับจากมากไปนอยดังนี้ สูตรอาหารที่ผสมสารสกัด
คารโบไฮเดรตจากมันแกว 2%, ผักกาดขาวปลี 2%, กระเทียมโทน 1%, หอมแขก 2%, มันแกว 1%, ผักกาดหาง
หงษ 1%, กลูโคส 2%, หอมแดง 2%, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด 2%, ไอโซมอลโตโอลิโกแซคคารไรด 2%,
กระเทียมกลีบใหญ 1%, อินนูลิน 2%, ผักกาดขาวปลี 1%, กระเทียมกลีบเล็ก 1%, หอมแขก 1%, ผักกาดหางหงษ
2%, กระเทียมโทน 2%, หัวไชเทา 2%, กระเทียมกลีบใหญ 2%, หัวไชเทา 1%, กระเทียมกลีบเล็ก 2%, อินนูลิน

24 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

1%, หอมแดง 1%, หอมหัวใหญ 2%, หอมหัวใหญ 1%, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด 1% และไอโซมอลโตโอลิ


โกแซคคารไรด 1% ตามลําดับ

อภิปรายผลการวิจัย

การเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน ที่ความ


เขมขน 1% พบวาสอดคลองกับเยาวรัตน (2547) โดยพบวาที่ระดับความเขมขน 1% (w/v) สูตรอาหารที่ผสมสาร
สกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกวทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญดีกวา
หอมแดง
การเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน ที่ความ
เขมขน 2% พบวาสอดคลองกับเยาวรัตน (2547) เชนกัน โดยพบวาที่ระดับความเขมขน 2% (w/v) สูตรอาหารที่
ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกวทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญ
สูงสุด ซึ่งดีกวาสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมแดง จากทั้ง 2 ความเขมขนของสารสกัดจาก
มันแกวที่ผสมในสูตรอาหาร ที่สามารถชวยใหแบคทีเรียกรดแลคติกสามารถเจริญเติบโตไดดี เนื่องจากในสาร
สกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว มีปริมาณคารโบไฮเดรตมากกวาพืชชนิดอื่น
สําหรับการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารตางกันทั้ง 27
สูตร พบวายังคงสอดคลองกับเยาวรัตน (2547) โดยพบวาสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว
2% ทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญสูงสุด และสูตรอาหารที่ผสมสารสกัด
คารโบไฮเดรตจากมันแกว 1% ทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญดีกวา
หอมแดง 2% และ 1% ,สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว 1% และ 2% สามารถกระตุนการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาอาหารชุดควบคุมที่มีน้ําตาลกลูโคส
2% และสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกวทั้ง 2 ความเขมขน และสูตรอาหารที่ผสมสารสกัด
คารโบไฮเดรตจากหอมแดง 2% สามารถกระตุนการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034
ไดดีกวาสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน แตไมสอดคลองกับสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน และสารสกัด
คารโบไฮเดรตจากหอมแดง 1% และ 2% ที่สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus
acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาอาหารชุดควบคุมที่มีน้ําตาลกลูโคส 2% อาจเนื่องมาจากสารอินนูลินมีคุณภาพ
แตกตางกัน เชน มีความบริสุทธิ์ของสารที่แตกตางกัน และแหลงที่มาของหอมแดงอาจจะมีความแตกตางกัน ซึ่ง

25 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

พืชที่ปลูกตางถิ่นกัน จะมีองคประกอบของสารแตกตางกันออกไปตามแตละทองถิ่น ทั้งนี้อาจจะเกี่ยวกับชนิด


ของดิน ธาตุอาหารพืชในดิน และองคประกอบอื่นๆ
อยางไรก็ตามพบวาผลการทดลองสอดคลองกับฉวีวรรณ (2546) ซึ่งพบวาสูตรอาหารที่ผสมสารอินนู
ลิน 2% สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาสูตร
อาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากกระเทียมกลีบใหญ 2% แตไมสอดคลองกับฉวีวรรณ (2546) ที่พบวา
สูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน 2%, สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากกระเทียมกลีบใหญ 1% และ
2% สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาอาหารชุด
ควบคุมที่มีน้ําตาลกลูโคส 2% และพบวาสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน 2% สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจาก
กระเทียมกลีบใหญ 1% อาจเนื่องมาจากกระเทียมมาจากแหลงที่ตางกัน หรืออาจจะเปนผลมาจากการมีสารอัลลิ
ซินในกระเทียม ซึ่งไมสามารถกําจัดใหหมดได

สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาการเจริญเติบโตของแบคทีเรียกรดแลคติก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ใน


สูตรอาหารตางๆ กัน พบวาสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว ที่ความเขมขน 2% (w/v) สามารถกระตุนการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีที่สุดจากพืชทั้ง 10 ชนิด รองลงมาได
ผักกาดขาวปลี ที่ความเขมขน 2% (w/v) และกระเทียมโทน ที่ความเขมขน 1% (w/v) สามารถกระตุนการเจริญ
ของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดตามลําดับ ซึ่งพืชทั้ง 3 ชนิด มีศักยภาพที่จะพัฒนาเปน
สารพรีไปโอติกสสําหรับแบคทีเรียกรดแลคติกตอไปได

26 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.ไชยวัฒน ไชยสุต หนวยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพ คณะเภสัชศาสตร


มหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่อนุเคราะหพรีไบโอติกส หองปฏิบัติการ Thanit – Trobe Laboratory คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ที่อนุเคราะหเครื่องมือและสารเคมี และขอขอบคุณ คณะ
สัตวศาสตรและเทคโนโลยี การเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่สนับสนุน
งบประมาณการวิจัย

บรรณานุกรม

ฉวีวรรณ สีสม. (2546). การสกัดสารพรีไบโอติกสจากกระเทียมเพื่อกระตุนการเจริญของแบคทีเรีย


Lactobacillus acidophilus. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีศึกษา), คณะวิทยาศาสตร,
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม
ปรียาภรณ อิสรานุวัฒน. (2539). รายงานการวิจัยการศึกษาผลของการเติมน้ําผลไมบางชนิดตอการเจริญของเชื้อ
แลคโตบาซิลลัส แอซิโดฟลัสในกระบวนการผลิตแอซิโดฟลัสมิลค. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เยาวรัตน นาคตอย. (2547). ผลของสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมแดง (Allium ascalonicum Linn.), ฝรั่ง
(Psidium guajava Linn.) และมันแกว (Pachyrrhizus erosus Linn.) ตอการเจริญของ Lactobacillus
acidophilus. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีศึกษา), คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. มหาสารคาม
มาลี จิรวงศศรี. (2543). Carbohydrate: Inulin, Oligofructose. อาหารและยา. 7 (2) : 19-23.
รุจา มาลัยพวง. (2544). การผลิตโปรไบโอติคสําหรับอาหารไกจากแบคทีเรียกรดแลคติคของไทย. วิทยานิพนธ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ), คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
กรุงเทพฯ.
วันทนีย เกรียงสินยศ. (2542). คารโบไฮเดรตกับโภชนาการมนุษย. โภชนาการ. 34 (1) : 59-68.
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. (2540). สารานุกรมสมุนไพร. สํานักพิมพโอเดียนสโตร. โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส, กรุงเทพฯ.
618 น.
สุปรียา ยืนยงสวัสดิ์. (2544). คารโบไฮเดรต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สงขลา.

27 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ศิริกุล จันทรสวาง. (2542). การสกัดน้ํามันหอมระเหยจากตะไครหอม. วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยี 3(3):


38-42.
อรนาถ สุนทรวัฒน, พรทิพย ชัยมณี และธนิต ผิวนิ่ม. (2549). ปฏิบัติการชีวเคมี (Experimental Biochemistry).
พิมพครั้งที่ 5. โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร, นครปฐม.
อบเชย วงคทอง และ ขนิษฐา พูนผลกุล. (2544). หลักการประกอบอาหาร. สํานักพิมพ.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
Gibson, G. R. and Roberfoid, B. M. (1995). Dietary Modulation of the Human Colonic Microbiota :
Introducing the Concept of Preioticss. Journal of Nutrition. 126(6): 1401-1412.
Ingrid, W., Gerhard, R. and Beatrice, L.P. (2001). Protective Role of Probiotics and Prebiotics in Colon
Cancer. American Journal of Clinical Nutrition. 73: 45-455.
Laura, J., Martí nez., F. M., Cabrejas., A.M., Mollá., F.E., André u.,J.L., Waldron, K.W. and Esteban, R.M.
(2001). Study of Total Fructan and Fructooligosaccharide Content in Different Onion Tissues.
Journal of the Science of Food and Agriculture 81(2): 177-182.
Lemar, K. M., Turner, M. P. and Lloyd, D. (2002). Garlic (Allium sativum) as an Anti-Candida Agent:
Comparison of the Efficacy of Fresh Garlic and Freeze-dried Extracts. Journal of Applied
Microbiology 93(3): 398-405.
Paludan, M., Huss, H. H. and Gram, L. (1999). Characterization of Lactic Acid Bacteria Isolate from a Thai
Low-Salt Fermented Fish Product and the Role of Garlic as Substrate for Fermentation. International
Journal of Food Microbiology 46(3): 219-299.
Wongputtisin, P. (2003). Selection of Oligosaccharides from Some Local Plants for Utilizing as Prebiotics.
M.S. in Biotechnology Thesis, Faculty of Agro-Industry, Chiang Mai University., Chiang Mai.

Received 10 December 2009


Accepted 10 January 2010

28 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

นิพนธตนฉบับ

ผลของไคโตซานตอแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดพันธุกากีแคมปเบลล
Effect of Chitosan on Coliform Bacteria in Khaki Campbell Ducks

กัลยาณี จันทคง1 ทวีศักดิ์ พุกจีน1 ศุภชัย กองผุย1 สุรวัฒน ชลอสันติสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล2
พิเชษฐ ศรีบุญยงค1 และบุญศรี จงเสรีจิตต3

1
สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
2
สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
3
ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณลักษณะบางประการของเชื้อ Escherichia coli ATCC 25922 และ


เชื้อแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดสาว ระยะกอนไข พันธุกากีแคมปเบลล หลังจากเพาะเลี้ยงเชื้อ 12 ชั่วโมง มี
จํานวนเชื้อเทากับ 8.9× 1010 CFU/ml เมื่อนํามาทดสอบหาความไวรับตอยาตานจุลชีพ พบวา E. coli ATCC
25922 มีความไวรับตอโคลิสติน และพบวาไคโตซานที่ความเขมขน 400 ppm เปนความเขมขนนอยที่สุดที่
สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ E. coli ATCC 25922 ได ดวยวิธีการเลี้ยงแบคทีเรียรวมกับไคโตซาน สําหรับ
การทดสอบในสัตว พบวากลุมทดลองที่ไดรับไคโตซาน 400 ppm มีปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด
และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียลดลง โดยมีคาใกลเคียงกับกลุมทดลองที่ไดรับโคลิสติน 400 ppm นอกจากนี้กลุม
ทดลองที่ไดรับไคโตซาน 400 ppm สามารถลดปริมาณแบคทีเรียใชอากาศทั้งหมดไดใกลเคียงกับกลุมที่ไดรับโค
ลิสติน 400 ppm ซึ่งแตกตางกับกลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) และมีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอ
วันและอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัวดีที่สุด แตกตางกับกลุมทดลองที่ไดรับโคลิสติน 400 ppm
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) แตอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว ไมแตกตางจากกลุมควบคุม

29 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

สรุปวาไคโตซานมีผลตอเชื้อ E. coli ATCC 25922 ที่ระดับความเขมขนต่ําสุดที่ 400 ppm และไคโตซานมีผลตอ


แบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดสาวระยะกอนไข พันธุกากีแคมปเบลลใกลเคียงกับยาปฏิชีวนะชนิดโคลิสติน

คําสําคัญ: ไคโตซาน เปด อี. โคไล

Abstract

This research was objected to study the effect of Chitosan on some properties of Escherichia coli
ATCC 25922 and coliform bacteria in pre-laying period of Khaki Campbell ducks. For twelve hours after
incubated, 8.9 x 1010 CFU/ml of bacterial were found. Antimicrobial sensitivity test showed E.coli ATCC
25922 was sensitive to Colistin. Chitosan inhibited growth of E.coli ATCC 25922 by minimal inhibitory
concentration test at 400 ppm. For in vivo, group given 400 ppm of chitosan had total coliform bacteria, fecal
coliform bacteria and total aerobic bacteria decreased as same as 400 ppm of colistin with significantly
difference (P<0.05) when compared to control. Average Daily Gain of group given 400 ppm chitosan had
significantly difference (P<0.05) when compared to 400 ppm. colistin and control while feed conversion had
not statistically significant (P>0.05). It can be concluded that the minimal inhibitory concentration of chitosan
on E.coli ATCC 25922 was 400 ppm and the effect of chitosan on coliform bacteria in pre-laying period of
Khaki Campbell was the same as colistin.

Keyword: Chitosan, Duck, E. coli

30 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

บทนํา

การเลี้ยงเปดไขเพื่อใหไดผลผลิตที่ดี มีคุณภาพ ตรงตามความตองการของผูบริโภคในปจจุบัน


จําเปนตองอาศัยปจจัยหลัก ๆ อยู 2 ปจจัย คือ ปจจัยภายในตัวเปด เชน สายพันธุ ภูมิตานทานโรค อายุ เปนตน
และปจจัยภายนอกตัวเปด ไดแก สภาพแวดลอมทั้งภายในโรงเรือนและภายนอกโรงเรือนตองเปนสถานที่ที่ได
กอสรางถูกตองเหมาะสมตอการเลี้ยงเปด และที่สําคัญคือความสะอาดภายในโรงเรือน ที่สามารถปองกันการ
ปนเปอนเชื้อโรคเขาสูตัวเปด ทั้งที่ปนเปอนมาจากภายนอกโดยติดตอมาทางภาชนะใหอาหาร ภาชนะใหน้ํา สัตว
พาหะ หรือสิ่งแวดลอมตางๆ โดยเฉพาะเชื้อจําพวกโคลิฟอรมแบคทีเรีย (Coliform Bacteria) ซึ่งเปนเชื้อที่พบอยู
ในรางกายทั่วๆ ไป แตหากมีปริมาณมากกวาปกติ จะสงผลตอสุขภาพเปดได ทําใหจํานวนผลผลิตลดลง อาจจะ
สงผลถึงขนาดของไข สี จึงทําใหไขมีคุณภาพไมตรงตามความตองการของผูบริโภค เปนตน จินตนา (2549)
กลาววา ผูประกอบการสวนมากใชยาประเภทยาปฏิชีวนะ เพื่อเปนการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย แตการใชยาปฏิชีวนะ
ติดตอกันเปนเวลานานๆ จะกอใหเกิดการดื้อยาของจุลินทรียและเกิดสารตกคางในเปดและเกิดอันตรายตอผู
บริโภคได อัญชลี (2547) กลาววาในปจจุบันไดมีการนําไคโตซาน ซึ่งเปนสารสกัดที่ไดจากเปลือกกุง กระดองปู
แกนปลาหมึกและผนังเซลลของเห็ดราบางชนิดมาใชในการยับยั้งตอตานจุลินทรียโดยเฉพาะแบคทีเรียโคลิ
ฟอรมซึ่งไคโตซานสามารถยับยั้งเชื้อ E. coli ได และอุนใจ (2544) กลาววาไคติน-ไคโตซาน สามารถใชเปนสาร
เสริมผสมลงในอาหารสัตวบก เชน สุกร วัว ควาย เปด ไก ได

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะบางประการของเชื้อ E.coli ATCC 25922


2. เพื่อศึกษาผลของไคโตซานตอเชื้อแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดสาวระยะกอนไข พันธุกากีแคมปเบลล

วิธีการวิจัย

สวนที่ 1 เปนการศึกษาแบบ In Vitro เพื่อสรางเสนโคงการเจริญเติบโตมาตรฐาน (Standard Growth


Curve) ของเชื้อ E.coli ATCC 25922 โดยการวัดคาการดูดกลืนแสง ดวยเครื่อง Spectrophotometer ที่ความยาว
คลื่น 660 นาโนเมตร และทดสอบความไวของเชื้อ E.coli ATCC 25922 ตอยาตานจุลชีพ (Antimicrobial

31 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Sensitivity Test) พรอมกับทดสอบหาระดับความเขมขนต่ําสุดของไคโตซานที่สามารถยับยั้ง E.coli ATCC


25922 (Minimal Inhibitory Concentration) 3 วิธี ไดแก Broth dilution test, Bacterial co-culture และ Agar disc
diffusion susceptibility test
สวนที่ 2 เปนการศึกษาแบบ In Vivo ใชแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design โดยใช
เปดพันธุกากีแคมปเบลล เพศเมีย อายุ 14 สัปดาห เปนสัตวทดลอง โดยแบงกลุมการทดลองเปน 3 กลุม กลุมละ
3 ซ้ํา ซ้ําละ 3 ตัว รวม 27 ตัว ทําการวิเคราะหปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด (Total Coliform Bacteria),
ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (Fecal Coliform Bacteria) และการตรวจยืนยันเชื้อ E.coli กอนและหลังการใหไคโต
ซานและสารปฏิชีวนะดวยวิธี Most Probable Number Method จากการเก็บตัวอยางมูลในวันที่ 1 ถึง 5 และวันที่
12 หลังจากการใหไคโตซานและสารปฏิชีวนะ ทําการเก็บขอมูลน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (Average Daily
Grain; ADG) และอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว (Feed Conversion Ratio; FCR) เฉพาะระยะเวลา
ที่ทําการทดลอง เปนระยะเวลา 12 วัน สัตวทดลองไดรับอาหารสัตวผสมสําเร็จรูปที่มีโปรตีนไมนอยกวา 17 %
โดยใหอาหารแบบจํากัดกลุมละ 20% ของน้ําหนักตัว แบงใหวันละ 2 ครั้ง คือ เชา (07.30 น .) และเย็น (17.30
น .) และมีน้ําสะอาดใหเปดกินอยางเต็มที่ตลอดวัน ซึ่งทุกกลุมจะไดรับอาหารผสมสําเร็จรูปชุดเดียวกัน แบง
ออกเปนกลุมการทดลองดังนี้
กลุมที่ 1 กลุมควบคุม ใหเฉพาะอาหารผสมสําเร็จรูป
กลุมที่ 2 กลุมทดลอง ใหอาหารผสมสําเร็จรูป + ไคโตซานที่ 400 สวนในลานสวน (ppm)
กลุมที่ 3 กลุมทดลอง ใหอาหารผสมสําเร็จรูป + โคลิสตินที่ 400 สวนในลานสวน (ppm)
ไคโตซานที่ใชในการทดลองเปนชนิดแผนเกร็ดเล็ก (Flake) มีคา Degree of Deacetylation (DD) ที่ 85%
โคลิสตินที่ใชในการทดลองเปนโคลิสติน ซัลเฟต ยี่หอโคลิสติน มิกซ พาวเดอร 10% ของบริษัท ไทยเมจิฟารมา
ซิวติคัล จํากัด

ผลการวิจัย

สวนที่ 1 การสรางเสนโคงการเจริญเติบโตมาตรฐาน ของเชื้อ E. coli ATCC 25922 โดยการวัดคาการ


ดูดกลืนแสง ผลการทดลองปรากฏวา เมื่อวัดคาดูดกลืนแสงทุกๆ ชั่วโมง เปนเวลา 24 ชั่วโมงแลว พบวาคา OD
เพิ่มขึ้นแปรผันตามจํานวนเชื้อที่เพิ่มขึ้นตามจํานวนชั่วโมงที่เพาะเลี้ยงโดยคาดวาอยูในชวง Lag phase ที่ชั่วโมง
0-9 และชวง Log phase จะเจริญเติบโตในชั่วโมงที่ 9 ถึงชั่วโมงสุดทาย จากการทดลองจึงเลือกใชจํานวนเชื้อ E.

32 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

coli ATCC 25922 เริ่มตนที่คา OD เทากับ 0.655 ในชั่วโมงที่ 12 ซึ่งมีจํานวน 8.9 x 1010 CFU/ml สําหรับการ
ทดสอบความไวของเชื้อ E. coli ATCC 25922 ตอยาตานจุลชีพจํานวน 7 ชนิด ไดแก โคลิสติน นอรฟลอกซาซิน
เบคซิตราซิน ไนโตรฟูแรนโตอิน กานาไมซิน เจนตาไมซิน และออกซิเตตราซัยคลิน พบวานอรฟลอกซาซิน
เบคซิตราซินและออกซิเตตราซัยคลิน ไมสามารถยั้บยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E.coli ATCC 25922 ได สวน
เจนตาไมซิน กานาไมซิน ไนโตรฟูแรนโตอินและโคลิสตินสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E.coli ATCC
25922 ได แตกานาไมซินและเจนตาไมซินเปนยาที่ใชสําหรับฉีด จึงไมเลือกใชในการทดลอง สวนไนโตรฟูแรน
โตอินเปนอนุพันธของไนโตรฟูแรน ซึ่งถูกหามใชในสัตวที่ใหผลผลิตเพื่อการบริโภค ในขณะที่โคลิสตินเปนยา
สําหรับรับประทาน จึงเลือกใชโคลิสตินในการทดลองสวนที่ 2 สําหรับการทดสอบหาระดับความเขมขนต่ําสุด
ของไคโตซานที่สามารถยับยั้งการเจริญของ E.coli ATCC 25922 พบวา ไคโตซานที่ความเขมขน 400 ppm เปน
ความเขมขนนอยที่สุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E.coli ATCC 25922 ไดถึง 100% โดยวิธีการ
เพาะเลี้ยงแบคทีเรียรวมกับไคโตซาน
สวนที่ 2 การวิเคราะหปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย และการตรวจ
ยืนยันเชื้อ E.coli พบวาในวันกอนใหไคโตซานและโคลิสติน และวันที่ 1 พบปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอรม
มากกวา 1100 MPN/g ของทุกกลุมทดลองและในวันที่ 2 ของระยะใหยาพบวา กลุมที่ไดรับโคลิสตินมีจํานวน
แบคทีเรียโคลิฟอรมลดลงเหลือ > 600 MPN/g และลดลงเรื่อยๆ ในวันถัดมา ในสวนกลุมที่ไดรับไคโตซาน
ปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอรมจะลดลงเหลือ > 742.67 MPN/g ในวันที่ 4 และพบวาในวันกอนใหไคโตซานและ
โคลิสติน, วันที่ 1 และวันที่ 2 ของการทดลองพบปริมาณฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียมากกวา 1100 MPN/g ของทุก
กลุมการทดลอง และในวันที่ 3 พบวากลุมที่ไดรับโคลิสตินมีจํานวนฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียลดลงเหลือ >
886.66 MPN/g และลดลงเรื่อยๆ ในวันถัดมา สวนกลุมที่ไดรับไคโตซานมีปริมาณฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย
ลดลงเหลือ 77.00 MPN/g ในวันที่ 5 ของระยะใหยาและยังลดลงในวันสุดทายของระยะพักยา (withdrawal
period) อีกดวย และทดสอบยืนยันหลังเก็บผลการทดลองทั้ง 7 ครั้งแลวนั้น สามารถพบเชื้อ E. coli ทั้ง 7 ครั้งที่
เก็บผลการทดลองและสามารถพบเชื้อ E. coli ทุกกลุมการทดลอง สําหรับการวิเคราะหปริมาณแบคทีเรียใช
อากาศทั้งหมด พบวาปริมาณแบคทีเรียใชอากาศทั้งหมดในในวันกอนใหไคโตซานและโคลิสตินทั้ง 3 กลุมไม
แตกตางกันทางสถิติ (P>0.05) สวนในวันที่ 1 พบวากลุมควบคุมไมแตกตางจากกลุมที่เสริมไคโตซาน แตทั้ง 2
กลุมแตกตางจากกลุมที่เสริมโคลิสตินอยางมีสถิติ (P<0.05) และตั้งแตวันที่ 2 จนถึงระยะพักยาวันสุดทายพบวา
กลุมควบคุมแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับกลุมที่เสริมไคโตซานและกลุมที่เสริมโคลิสติน โดยกลุมที่เสริมไคโต
ซานมีปริมาณลดลงมากกวากลุมที่เสริมโคลิสติน

33 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แผนภูมิที่ 1 แสดงคาการลดลงของปริมาณแบคทีเรียใชอากาศทั้งหมด (106CFU/g)

120

100

80
กลุมควบคุม
ปริมาณเชื้อ 60
40 กลุมเสริมไค
โตซาน
20
กลุมเสริมโค
0 ลิสติน
ระยะกอนใหยา วันที่ 2 วันที่ 4 วันที่ 12

วันที่ทําการทดลอง

สําหรับการศึกษาผลของไคโตซานตอน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันและอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปน
น้ําหนักตัว ผลการทดลองที่ไดแสดงไวในตาราง ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงผลของไคโตซานตอน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (ADG)


น้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย กลุมการทดลอง
ตอวัน (กรัม/วัน) กลุมควบคุม กลุมที่เสริมไคโตซาน กลุมที่เสริมโคลิสติน
b
วันที่เริ่มทําการทดลอง 0.029 0.047a 0.022 b
ถึง
วันสิ้นสุดการทดลอง
จํานวน 12 วัน
หมายเหตุ a, b อักษรตางกันในแถวเดียวกันแสดงวาแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

34 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

จากตารางแสดงใหเห็นวา เปดมีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน เทากับ 0.029 0.047 และ0.022 (กรัม/วัน)


ตามลําดับ โดยกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน ดีสุด
แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) กับกลุมควบคุมและกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่
400 ppm

ตารางที่ 2 แสดงผลของไคโตซานตออัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว (FCR)


อัตราการแลกเปลี่ยน กลุมการทดลอง
อาหารเปนน้ําหนักตัว ควบคุม (T1) เสริมไคโตซาน (T2) เสริมโคลิสติน (T3)
วันที่เริ่มทําการทดลอง 29.06ab 15.53b 42.60a
ถึง
วันสิ้นสุดการทดลอง
จํานวน 12 วัน
หมายเหตุ a, b อักษรแตกตางกันในแถวเดียวกันแสดงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

จากตารางที่ 2 พบวาอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว เทากับ 29.06 15.53 และ42.60


ตามลําดับ โดยกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มีอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปน
น้ําหนักตัว ดีที่สุด แตกตางกับกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่ 400 ppm อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(P<0.05) แตไมแตกตางจากกลุมควบคุม

อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการทดลองวิเคราะหปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียและการ
ตรวจยืน ยันเชื้อ E.coli ไมแตกตางกับการทดลองของ Lifeng et al. (2004) ที่ใชไคโตซานในการยับยั้งการ
เจริญเติบโตของ E. coli โดยใชไคโตซานที่คา % Deacetylation เทากับ 85% และละลายไคโตซานดวยกรดอะซิ
ติก 0.25% พบวาไคโตซานสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตในระยะตางๆ ของ E.coli ได เชนเดียวกับ Tsai et al.
(2004) ที่รายงานวาไคโตซานมีความสามารถมากในการยับยั้งเชื้อ E.coli ได นอกจากนั้น บุญศรีและคณะ
(2547) ไดทดลองการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียในอาหารโดยไคโตซาน พบวาไคโตซานสามารถ

35 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ยับยั้งการเจริญของ Staphylococus aureus E.coli และ Salmonella typhimurium เชนเดียวกับ พิมพรรณ และ
พรรณี (2543) ที่พบวา ไคโตซานสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E. coli ไดในเวลา 24 ชั่วโมง
จากการศึกษาผลของไคโตซานตอน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันและอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปน
น้ําหนักตัว พบวาสอดคลองกับการศึกษาของปยะบุตร (2544) ที่ใชไคโตชานชวยเพิ่มการเจริญเติบโตและเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใหอาหารแสดงใหเห็นถึงความนาจะเปนไปไดในการนําไคโตซานมาเสริมในอาหารไกเนื้อ
เพื่อเรงการเจริญเติบโต นอกจาก นั้น ปยะบุตรและคณะ (2543) ไดศึกษาการใชประโยชนของไคโตซานเปนสาร
เรงการเจริญเติบโตในเปดเนื้อ พบวา การใชไคโตซานที่ 350 ppm ทําใหน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันมีคาสูงสุดที่
60.54 กรัม/วัน และมีคาอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัวดีที่สุดเทากับ 1.85 โดยพบวาเปดเนื้อใน
กลุมทดลองมีขนาดตัวที่สม่ําเสมอ มีสุขภาพที่ดีและมีขนสวยงาม ในขณะที่กลุมควบคุมมีขนาดตัวที่แตกตางกัน
มีคาน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันต่ํากวาเชนเดียวกับ ปยะบุตรและสุวลี (2543) รายงานวา ไคโตซานสามารถชวย
เพิ่มประสิทธิภาพการใชอาหาร ทําใหมีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันดีขึ้น โดยในกลุมทดลองที่ใชไคโตซาน 300
ppm มีคา FCR ต่ําที่สุดที่ 1.85 ในขณะที่ สุคีพและคณะ (2546) กลาววาการใชสารไคโตซานเสริมในอาหารไก
ทําใหสมรรถภาพการผลิตไมแตกตางจากกลุมควบคุมที่ไมเสริมไคโตซานได เชนเดียวกับ ไพทูลและคณะ
(2547) ไดศึกษาการเสริมไคโตซานในอาหารตอสมรรถภาพการผลิตของไกเนื้อ พบวาเมื่อสิ้นสุดการทดลองการ
เสริมไคโตซานไมมีผลตอสมรรถภาพการผลิต ตนทุนคาอาหารในการเพิ่มน้ําหนักนั้นสูงขึ้น เมื่อระดับการเสริม
ไคโตซานในอาหารเพิ่มขึ้น สําหรับกลุมเสริมยาปฏิชีวนะใหผลไมแตกตางกับกลุมที่เสริมไคโตซาน

สรุปผลการวิจัย

จากการทดลองพบวากลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มีปริมาณของแบคทีเรีย


โคลิฟอรมและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดลดลง จากคา MPN/g เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุม แตมีคา
ใกลเคียงกับกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่ 400 ppm ดังนั้นจึงสามารถใชไคโตซานทดแทนสาร
ปฏิชีวนะได โดยทั้งนี้พบวากลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย
ตอวันดีที่สุด แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) กับกลุมควบคุมและกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูป
ผสมโคลิสตินที่ 400 ppm รวมถึงมีอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว ดีที่สุด แตกตางกับกลุมทดลองให
อาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่ 400 ppm อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) เชนกัน จึงสรุปไดวาสามารถใชไค
โตซานผสมอาหารสัตวเพื่อเปนสารเสริมการเจริญเติบโตได

36 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.บุญศรี จงเสรีจิตต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร


วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ที่อนุเคราะหเชื้อ E. coli ATCC 25922 ศูนยวิจัยพืชอาหารสัตวเพชรบุรี
กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว ที่อนุเคราะหสถานที่เลี้ยงสัตว บริษัท A.N. LAB Aquatic Nutrition จํากัด ที่
อนุเคราะหไคโตซาน และคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่อนุเคราะหงบประมาณการวิจัย

บรรณานุกรม

กมลศิริ พันธนียะ. (2546). ไคติน-ไคโตซาน. สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมสัตวน้ํา, กรมประมง.


แหลงที่มา : http://www.nicaonline.com/articles9/site/view_article.asp?idarticle=158, 25 มิถุนายน 2550.
กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานคุณภาพสัตวน้ําและผลิตภัณฑสัตวน้ํา. 2548. การวิเคราะหปริมาณ Coliforms,
Fecal coliforms และ E.coli. แผนพับ, ศูนยวิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตวน้ําและผลิตภัณฑสัตวน้ํา,
สมุทรสาคร.
จิราภรณ เชาวลิตสุขุมาวาสี. (2544). ไคติน-ไคโตซานสารมหัศจรรยจากธรรมชาติ. LAB TODAY. 1(2) : 12-20.
จินตนา อินทรมงคล. 2549. กระบวนการสารธรรมชาติทดแทนการใชเคมีภัณฑสังเคราะหในการเลี้ยงสัตว.
ปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว. กรุงเทพฯ. แหลงที่มา:
http://www.dld.go.th/organic/knowlage/natural.html: 18 มีนาคม 2550
ชูศักดิ์ อาจสูงเนิน และสุนันท กิตติจารุวัฒนา. 2546. คูมือการวิเคราะหยาสัตว. เลมที่ 7. พิมพครั้งที่ 1. ชุมนุม
สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด กรุงเทพฯ
ธํารงคศักดิ์ พลบํารุง. (2547). การลงทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงเปดไข. กองอาหารสัตว, กรมปศุสัตว.
แหลงที่มา : http://www.dld.go.th/home/duck/cost_egg.htm, 15 เมษายน 2550.
นพพร สุขมีชัย. (2547). ไคโตซาน อีกทางเลือกของเกษตรกร. เคล็ดลับเกษตร. ปที่ 9(32): 13-15.
บุญศรี จงเสรีจิตต ผุสดี นาคพลายพันธุ และสุวบุญ จิรชาญชัย. 2547. การยับยั้งแบคทีเรียในอาหารโดยไคโต
ซาน: รายงานการวิจัย. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม. 88-95.
ปฐม เลาหะเกษตร. (2544). การเลี้ยงเปด. พิมพครั้งที่ 2. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว คณะ

37 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตเจาคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.


ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ. (2547). ไคติน-ไคโตซาน Chitin and Chitosan. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะ
วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี, กรุงเทพฯ. แหลงที่มา :
http://www.kmutt.ac.th/organization/Research/.htm, 25 กุมภาพันธ 2550.
ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ และสุวลี จันทรกระจาง. (2543). การใชไคโตซานในไกเนื้อ. แผนพับ. นิทรรศการ
เรื่อง เกษตร ยุคใหมกับไคติน-ไคโตซาน, ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ รวมกับ ชมรมไคติน-
ไคโตซาน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.
ประภัสสร สุรวัฒนาวรรณ. (2544). ไคติน-ไคโตซาน. กลุมวิจัยอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ, ศูนยเทคโนโลยี
โลหะและวัสดุแหงชาติ. กรุงเทพฯ. แหลงที่มา : http://www.gpo.or.th/rdi/html/chitin.html, 18 เมษายน
2550.
พิมพรรณ ชํานิงาน และพรรณี ศรีบัวทอง. (2543). การใชไคโตซานเปนสารฆาเชื้อจากธรรมชาติภายใตสภาวะ
ทางดานสรีรวิทยา. ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. แหลงที่มา :
http://www.scisoc.or.th/stt/30/secl/paper/stt30L0001.pdf, 18 พฤษภาคม 2550.
ไพทูล แกวหอม, ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ และรณชัย สิทธิไกรพงษ. (2547).การเสริมไคโตซานในอาหารตอ
สมรรถภาพการผลิตของไกเนื้อ. รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการเกษตรแหงชาติ ประจําป 2547
สาขาสัตวศาสตร/สัตวบาล คณะเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ภาวดี เมธะคานนท. (2544). การใช ไคติน/ไคโตซานในทางการเกษตร. แผนพับ. นิทรรศการ เรื่อง เกษตร ยุค
ใหมกับไคติน-ไคโตซาน, ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ รวมกับ ชมรมไคติน-ไคโตซาน,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.
มาลินี ลิ้มโภคา. (2540). การใชยาตานจุลชีพในสัตว. พิมพครั้งที่ 4. จรัลสนิทวงศ กรุงเทพฯ.
วิสาตรี คงเจริญสุนทร และจิราภรณ แกนภักดี. (2545). ผลของไคโตซานในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย.
วารสารวิทยาศาสตรบูรพา. 7(1) : 25-31.
วีระชัย โชควิญู. (2547). โคลิฟอรมแบคทีเรีย. เทคนิคการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําดานแบคทีเรีย.
แหลงที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp1/data/07/coliform.htm, 24 พฤษภาคม 2550.
สวัสดิ์ บํารุงสุข. (2546). การเลี้ยงเปดไขพันธุกบินทรบุรี. กองบํารุงพันธุสัตว, กรมปศุสัตว. แหลงที่มา :
http://www.dld.go.th/service/dkegg_kabin/main.html, 15 เมษายน 2550.

38 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

สิริรัตน จงฤทธิพร อัธยา กังสุวรรณ และสุดิป คูมาร รักชิต. (2547). การยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย


ที่กอใหเกิดโรคโดยไคโตซาน. กองพัฒนาอุตสาหกรรมสัตวน้ํา. กรมประมง. กรุงเทพฯ
โสภา พิศวงปราการ และพรทิพย วงศแกว. (2544). การทดสอบปฏิกิริยาของไคโตซานในการยับยั้งการเจริญ
ของแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv.vesicatoria สาเหตุโรคใบจุดของมะเขือเทศ. ภาควิชาโรค
พืชวิทยา คณะเกษตรศาสตร,มหาวิทยาลัยขอนแกน. แหลงที่มา :
http://www.scisoc.or.th/stt/30/sec_l/paper/stt30_L0031.pdf, 28 สิงหาคม 2550.
สุคีพ ไชยมณี สุชน ตั้งทวีวิพัฒน และบุญลอม ชีวะอิสระกุล. (2546). การศึกษาเบื้องตนของการสกัดและใชสาร
ไคโตซานเสริมในอาหารไกเนื้อ. เอกสารประกอบการประชุม ไคติน-ไคโตซานแหงประเทศไทย. ศูนย
วัสดุชีวภาพไคติน-ไคโตซาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ.
161-164.
สุนันท กิตติจารุวัฒนา. (2545). การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสําหรับการวิเคราะหสารตองหามกลุมไนโตรฟูแรน
จํานวน 5 ชนิดดวยวิธี High - Performance Liquid Chromatography. สํานักตรวจสอบคุณภาพสินคาปศุ
สัตว, ปทุมธานี. แหลงที่มา : http://www.dld.go.th/person/trainning/High-Performance.doc., 5
สิงหาคม 2550
อนุเทพ ภาสุระ. (2546). แหลงของจุลินทรียกอโรคในระบบทางเดินอาหาร. ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะ
วิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยบูรพา. แหลงที่มา : http://uniserv.buu.ac.th/forum2/post.asp?method=
TopicQuote&TOPIC, 5 พฤษภาคม 2550.
อัญชลี ทวีสุจินันทสกุล. (2547). อิทธิพลของ pH และอุณหภูมิที่มีตอประสิทธิภาพการยับยั้งยีสตของไคโตซาน.
วิทยานิพนธปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.
อุนใจ รักษพันธ. (2544). ไคติน-ไคโตซาน สารมหัศจรรยจากธรรมชาติ. Up Date. ฉบับที่ 162 : 27-28.
Hayes, E. R., Davies, D.H. and Munroe, V.G. (1977). Organic solvent systems for chitosan. Proceedings of
1st International Conference on Chitin and Chitosan. MIT Sea Grant Program. Massachusetts: 103
Lifeng Q., Zirong., X., Xia., J., Caihong. H. and Xiangfei, Z. (2004). Preparation and antibacterial activity of
chitosan nanoparticles: Report. Animal Science College. Zhenjiang University. 2693-2670.

39 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

No, H.K., Park, N.Y., Lee, S.H. and Meyers, S.P. (2002). Antibacterial activity of chitosans and chitosan
oligomers with different molecular weights. International Journal of Food Microbiology. 74(1-2): 65-
72.
Rupp, H.S., Munns, R.K. and Long, A.R. (1994). Simutaneous Determination of Nitrofurazone,
Nitrofurantoin, and Furazolidone in Channel Catfish (Ictalurus punctatus) Muscle Tissue by Liquid
Chromatography. J of AOAC International. 77(2):344-350.
Seong, H.S., Kim, J.P. and Ko, S.W. (1999). Preparation chito-oligosaccharides as antimicrobial agents for
cotton. Textile Research Journal. 69(7): 483-488.
Tsai, Guo-Jane, Zhang, Shu-lin and Shieh, Pei-Ling. (2004). Antimicrobial activity of a low-molecular-weight
chitosan obtained from cellulase digestion of chitosan. Journal of Food Protection 67:2 396-398.
Wood, S.J. and Shadomy, S. (2005). Disk diffusion susceptibility tests with norfloxacin: confirmation of
proposed interpretive criteria. Department of Pathology, Virginia Commonwealth University,
Virginia, USA. แหลงที่มา : http://www.springerlink.com/content/r0301vnrr378l7p3/, 28 สิงหาคม
2550.
Yalpani, M., Johnson, F. and Robinson, L.E. (1992). Chitin and Chitosan: Sources, Chemistry, Biochemistry,
Physical Properties and Applications, Elsevier, Amsterdam. แหลงที่มา :
http://www.geocities.com/wvrdc_dld/MADICINE.html, 23 พฤษภาคม 2550.

Received 10 December 2009


Accepted 10 January 2010

40 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

นิพนธตนฉบับ

การแยกแบคทีเรียโปรไบโอติกสจากไกไขที่ไดรับน้ําหมักชีวภาพจากพืช
Isolation of Probiotic Bacteria from Plant Biological Fermented Juice Feds - Laying Chicken

อุทุมพร กุลวงศ1 นัฐพร เปลี่ยนสมัย1 อาภัสสร อนวิเศษ1 วิชัย กอประดิษฐสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล3 และ
สุรวัฒน ชลอสันติสกุล3

1
สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
2
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
3
สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจหาเชื้อและทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรีย
โปรไบโอติกสที่แยกไดจากไกไข ทําการแยกแบคทีเรียโปรไบโอติกสดวยวิธีเพาะเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อที่
จําเพาะ จากนั้นนํามาตรวจลักษณะทางสัณฐานวิทยาดวยกลองจุลทรรศน แลวจึงนํามาทดสอบการผลิตเอนไซม
คาตาเลส ความสามารถทนตอเกลือน้ําดี การยอยโปรตีน ไขมัน และแปง การทนกรด – ดาง ความไวของเชื้อตอ
สารปฏิชีวนะ และความสามารถตอการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียกอโรค ผลการศึกษา สามารถคัดเลือกเชื้อแบคทีเรีย
ไดจํานวน 240 ไอโซเลท ในจํานวนนี้พบวาเปนแบคทีเรียซึ่งติดสีแกรมบวกจํานวน 14 ไอโซเลท และไมผลิต
เอนไซมคาตาเลส โดยพบวา ASAT 0801 ที่แยกไดจากมูลของไกไข มีศักยภาพในการเปนแบคทีเรีย
โปรไบโอติกสได

คําสําคัญ: แบคทีเรียโปรไบโอติกส คุณสมบัติทางชีวเคมี และไกไข

41 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Abstract

This research aimed to isolate and investigate the biochemical properties of the Probiotic bacteria
isolated from the feces of the laying chicken. The feces samples were isolated for Probiotic bacteria by using
MRS Selective medium and reisolate for pure culture. Single colony of bacterial isolate on the MRS medium
was smeared onto slide and observed with compound microscope to determine its morphological
characteristics. Other biochemical properties such as catalase activity, resistant to bile salt, production of the
enzymes which digested protein, lipid and starch, and resistant to ionic stress were also investigated. These
bacteria were also tested to determine their biological characteristics such as their sensitivity to antibiotics and
their capability to inhibit the pathogenic bacteria. From 240 isolates, 14 isolates were Gram Positive bacteria
with none catalase production and ASAT 0801 showed high potential to be a Probiotic bacteria in laying
chicken production.

Keywords: Probiotic bacteria, Biochemical properties and laying chicken

บทนํา

จุลินทรียโปรไบโอติกส คือ จุลินทรียกลุมดีมีประโยชน สงเสริมการมีชีวิตที่สมบูรณของสิ่งมีชีวิต และ


เปนอาหารเสริมที่ประกอบดวยจุลินทรียที่ยังมีชีวิต ซึ่งจะไปปรับระดับความสมดุลยของจุลินทรียในระบบ
ทางเดินอาหาร (Fuller, 1989) ซึ่งตรงกันขามกับคําวา สารปฏิชีวนะ (Antibiotics) ที่เปนสารทําลายและตอตาน
สิ่งมีชีวิต จุลินทรียโปรไบโอติกส หลายชนิดที่มีอยูในลําไสของสัตว ชวยปองกันการเกิดโรคตาง ๆ โดยจะไป
ควบคุมปริมาณของเชื้อโรคจนเชื้อโรคไมสามารถกอใหเกิดโรคได ดังนั้นแบคทีเรียที่ใชเปนโปรไบโอติกสตอง
มีคุณสมบัติของการเปนโปรไบโอติกส เชน เปนแบคทีเรียที่ไมทําใหเกิดโรค สามารถสรางกรดแลคติคได
สามารถทนกรดและน้ําดีได สามารถผลิตสารตอตานจุลชีพได และเพิ่มจํานวนไดเร็ว (Nousiainen and Setala,
1998) นอกจากนี้โปรไบโอติกสยังชวยลดระดับของโคเลสเตอรอล โดยเฉพาะแบคทีเรียกรดแลคติคที่สามารถ
ผลิตเอนไซมที่ใชในการสลายเกลือน้ําดี (Bile Salt) ซึ่งทําใหเกลือน้ําดีไมสามารถจับตัวกันได ลําไสดูดซึมเกลือ
น้ําดีกลับไดนอยลง โดยสวนหนึ่งจะถูกขับออกไปพรอมกับมูล (Klaver and Van Der Meer, 1993) เพื่อรักษา

42 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ระดับเกลือน้ําดีใหสมดุล กรดน้ําดี (Bile Acid) ซึ่งมีโคเลสเตอรอลเปนสวนประกอบจะถูกนําไปใชในการสราง


เกลือน้ําดีทดแทนสวนที่ถูกขับออกพรอมไปกับมูล โคเลสเตอรอลรวมในรางกายถูกดึงไปใช ทําใหเปนการลด
ระดับของโคเลสเตอรอลในรางกายลง โปรไบโอติกสที่ใชกันในอุตสาหกรรมการปศุสัตวและการเกษตรจะชวย
เพิ่มศักยภาพการผลิต โดยมีทั้งแบบที่ผลิตใชเองในระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก สวนในอุตสาหกรรมขนาด
ใหญเปนการนําเขาซึ่งนับวามีมูลคาสูงมากตอป ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงศึกษาคุณสมบัติการเปนโปรไบโอติกส
ของแบคทีเรียกรดแลคติคที่แยกไดจากไกไข ซึ่งจุลินทรียโปรไบโอติกสที่ใชกันในอุตสาหกรรมอาหารสัตวใน
ปจจุบัน ยังตองสั่งชื้อจากตางประเทศ และในกรณีที่ตองการหาเชื้อสายพันธุใหมมาเปนโปรไบโอติกส จะตองมี
การพิสูจนใหเห็นถึงความปลอดภัยอยางชัดเจนเสียกอน ซึ่งตองใชเวลานาน และตนทุนสูง (วิเชียร ลีลาวัชรมาศ,
2541) ประกอบกับสภาพแวดลอมของไทย ก็ไมเหมาะสมตอจุลินทรียที่นําเขาจากประเทศอื่น ดวยเหตุนี้ การใช
จุลินทรียที่แยกไดภายในประเทศ นาจะเปนประโยชนสูงสุด และเพื่อนํามาประยุกตใชเลี้ยงไกของไทย
Nousiainen and Setala (1998) กลาววาแบคทีเรียโปรไบโอติกสเปนแบคทีเรียสวนใหญที่มักเสริมในการเลี้ยง
สัตวเนื่องจากมีคุณสมบัติคอนขางครบตามหลักเกณฑของโปรไบโอติกสที่ดี การศึกษาถึงการคัดเลือกสายพันธุ
จุลินทรียจากทางเดินอาหารของสัตวเพื่อนํามาใชในสัตวชนิดนั้นจึงเปนการลดปญหาเรื่องความจําเพาะเจาะจง
ระหวางตัวสัตวกับสายพันธุจุลินทรียที่ใช (Morelli, 2000)

อุปกรณและวิธีทดลอง

นําไมพันสําลีปายมูลสัตวปกจากบริเวณทวารรวมของสัตวปกแลวนํามาเพาะเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อแข็ง
MRS (deMan Rogosa and Sharpe) หลังจากการเพาะเชื้อแบคทีเรียแลว (Conway and others., 1987) ทําการเก็บ
โคโลนีเชื้อที่รอบโคโลนีเปนสีเหลือง และเลือกลักษณะโคโลนีที่แตกตางกันจากอาหารแข็ง MRS มา Streak เชื้อ
ลงบนจานเพาะเชื้อที่มีอาหารแข็ง MRS แลวนําไปยอมสีแกรม พรอมกับทดสอบเอนไซมคาตาเลส และเก็บเชื้อ
ไวที่ 4 องศาเซลเซียส (Axelsson, 1993) จากนั้นนําไปทดสอบความสามารถการทนตอเกลือน้ําดี 0.3 %
(Conway and others., 1987) การยอยโปรตีน ไขมัน และแปง (Michael and Pelezar, 1995) การทนตอสภาวะ
กรด – ดาง (pH 2 – 10) (Jin and others., 1998) ความไวของเชื้อตอสารปฏิชีวนะ โดยวิธี Agar Disc Diffusion
Method ความสามารถของเชื้อแบคทีเรียที่คัดเลือกไดตอการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียกอโรค โดยวิธี Agar Disc
Diffusion Method (Schillinger and Lucke, 1989) และ วิธี Agar Spot Diffusion Method (Spelhaug and
Harlander, 1989) เชื้อแบคทีเรียกอโรคที่ทดสอบ ไดแก Escherichia coli, Staphylococcus aureus และ

43 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Salmonella typhimurium จากนั้นจึงนํามาทดสอบการเลี้ยงแบคทีเรีย ณ อุณหภูมิที่เหมาะสม (งามนิจ นนทโส,


2550) และทดสอบการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยใชเครื่องวัดคาการดูดกลืนแสง (Spectrophotometer) วัดที่
660 นาโมเมตร ทุก ๆ 2 ชั่วโมง เปนเวลา 24 ชั่วโมง (ศริสา ทวีแสง และคณะ, 2548)

ผลและวิจารณผลการทดลอง

จากการนํามูลของไกไขจํานวน 10 ตัวอยาง มาทําการเจือจางแลวนําไปเพาะเชื้อแบคทีเรียดวยวิธี Pour


Plate พบวา สามารถแยกแบคทีเรียไดจํานวน 240 ไอโซเลท และเมื่อนํามาทําการยอมสีแกรม พบวาไดแบคทีเรีย
ติดสีแกรมบวก มีรูปรางกลมและแทง การเรียงตัวเปนแบบกระจาย คู โซ และแบบกลุม จํานวน 14 ไอโซเลท
โดยพบวามีแบคทีเรียรูปรางกลมมากกวารูปรางแทง (Smith, 1965) เนื่องจากแบคทีเรียแกรมลบสวนใหญจะเปน
เชื้อแบคทีเรียกอโรค (ศศิมา วรหาญ, 2550) ดังนั้นจึงคัดเลือกเฉพาะแบคทีเรียแกรมบวก ทั้ง 14 ไอโซเลทไปทํา
การทดสอบความสามารถในการสรางเอนไซมคาตาเลส และพบวาทั้ง 14 ไอโซเลทไมสรางเอนไซมคาตาเลส
จากนั้นจึงนําไปทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีในหองปฏิบัติการ โดยทดสอบการทนตอเกลือน้ําดี 0.3 % จากผล
การทดลองพบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดจํานวน 14 ไอโซเลท สามารถทนตอเกลือน้ําดีไดจํานวน 12 ไอโซเลท
สอดคลองกับการทดลองของ Erkkila and Petaja (2000) ที่ทดสอบการทนตอเกลือน้ําดีโดยทดลองในสภาวะที่
คลายกับระบบทางเดินอาหาร ภายในสภาวะลําไสเล็กใช MRS broth ที่มี pH 4-7 และเกลือน้ําดีที่มีระดับความ
เขมขนรอยละ 0.15 และ 0.30 พบวา Lactobacillus sake (RM10) และ Pediococcus acidilactici (P2) สามารถทน
ตอเกลือน้ําดีที่มีระดับความเขมขนรอยละ 0.30 ที่ pH 6 การที่แบคทีเรียสามารถอาศัยอยูในสําไสของสัตวและมี
สมบัติทนตอเกลือน้ําดีไดนั้นจะมีความสําคัญตอระบบสมดุลยของจุลินทรียภายในลําไส โดยจะไปชวยปรับปรุง
และรักษาสมดุลของจุลินทรียภายในลําไส รวมถึงการชวยรักษาโรคที่เกิดกับลําไสไดดวย (Brennan and others.,
1993) เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้งหมดจํานวน 12 ไอโซเลท มาทดสอบการยอยโปรตีน การยอยไขมัน และ
แปง พบวาเกิดการยอยโปรตีน และไขมัน 8 และ 10 ไอโซเลท ตามลําดับ โดยดูจากเกิดวงใสรอบ ๆ โคโลนี แต
ไมพบไอโซเลทใดเลยที่ยอยแปง โดยในการยอยโปรตีนแบคทีเรียก็จะยอยสลายเคซีน (Casein) ซึ่งเปนโปรตีน
ในน้ํานมทําใหน้ํานมมีลักษณะขุนขาว การยอยสลายเคซีนได ทําใหเคซีนมีการละลายไดดีขึ้นและใสขึ้น สวน
การยอยสลายไขมัน แบคทีเรียใชเอนไซมลีซิลทิเนส (Lecitinase) หรือ ฟอสฟาทิเดส (Phosphatedase) ในการตัด
พันธะฟอตเฟตเอสเทอร (Phosphate ester) (กรรณิกา สรรพานิช และคณะ, 2531) จะเห็นไดวาเมื่อนําแบคทีเรียที่
คัดเลือกไดมาทดสอบ การยอยโปรตีน ไขมัน และแปง และพบวาสามารถยอยทั้งโปรตีน และไขมันไดจํานวน 7

44 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ไอโซเลท การที่แบคทีเรียสามารถสรางเอนไซมในการยอยสลายโปรตีน และไขมันไดนั้น จะชวยในการทํางาน


ของระบบยอยอาหาร ทําใหรางกายสามารถดูดซึมสารอาหารไปใชไดเร็วขึ้น ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ
Austin and others. (1995) ซึ่งกลาววาแบคทีเรียที่สามารถสรางเอนไซมยอยสลายโปรตีน และไขมัน จะเปนการ
ชวยเรงการเจริญของสัตวได เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้งหมดจํานวน 7 ไอโซเลท มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อ
เหลว MRS ที่ปรับใหมีสภาพ pH ตาง ๆ คือ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 พบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้งหมด
จํานวน 7 ไอโซเลท สามารถทนทานตอสภาวะความเปนกรด – ดางไดจํานวน 4 ไอโซเลท สามารถเจริญไดใน
อาหารเลี้ยงเชื้อเหลว MRS ที่มีคา pH 2.0-10.0 ซึ่งสอดคลองกับขอมูลความเปนกรด - ดางในหลอดอาหารของ
ไก ซึ่งเปนอวัยวะสวนตนในระบบทางเดินอาหารมีคาเทากับ 3.71 - 4.80 (Sturkie, 1976) และ pH ของน้ํายอย
ในทางเดินอาหารไก สามารถลดต่ําลงถึง 0.5 – 2.0 ได (Jin and others., 1998) จึงมีผลตอการอยูรอดของจุลินทรีย
โปรไบโอติกส ดังนั้นการนําจุลินทรียมาใชเปนโปรไบโอติกส ควรคัดเลือกสายพันธุที่มีความทนทานตอสภาวะ
ที่เปนกรดตลอดจนตองสามารถมีชีวิตรอดภายใตสภาวะที่เปนกรดในกระเพาะอาหาร (Holzapfel and others.,
1998) สอดคลองกับการทดลองของ Teresa and others. (2005) ซึ่งไดทดลองแยกแบคทีเรีย Bacillus spp. จากมูล
แกะและแมวมาทดสอบการทนตอสภาพน้ํายอยในกระเพาะ ผลการทดลองชี้วา Bacillus spp. ที่แยกไดสามารถ
ทนตอสภาพน้ํายอยไดดี เมื่อนําเชื้อแบคทีเรียที่คัดเลือกไดจากการทนกรด – ดางจํานวน 4 ไอโซเลท มาทดสอบ
ความไวของเชื้อตอสารปฏิชีวนะ จากผลการศึกษาพบวา มีการยับยั้งของสารปฏิชีวนะตอเชื้อแบคทีเรียที่คัดเลือก
ได การที่เชื้อมีความไวตอยาปฏิชีวนะอยูในระดับปานกลางแสดงใหเห็นวาเชื้อมีคุณสมบัติที่จะใชเปนโปรไปโอ
ติกสตอไป เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดจํานวน 4 ไอโซเลท มาทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียกอ
โรค ไดแก Escherichia coli, Staphylococcus aureus และ Salmonella typhimurium ดวยวิธี Agar disc diffusion
พบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้ง 4 ไอโซเลท สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli ได 4 ไอโซเลท
Staphylococcus aureus ได 1 ไอโซเลท Salmonella typhimurium ได 4 ไอโซเลท สําหรับวิธี agar spot method
พบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้ง 4 ไอโซเลท สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli ได 2 ไอโซเลท
Staphylococcus aureus ได 4 ไอโซเลท Salmonella typhimurium ได 1 ไอโซเลท จากผลการทดลองจะเห็นไดวา
ASAT 0801 เปนเชื้อที่มีความสามารถตอการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียกอโรคไดดีที่สุดเมื่อเทียบกับ
แบคทีเรียตัวอื่น ๆ Garriga and othes., 1998 กลาววา แบคทีเรียกอโรคที่มักเจริญเพิ่มจํานวนในทางเดินอาหาร
สวนมากไดแก Campylobacter, Escherichia coli และ Salmonella spp. ดังนั้น จุลินทรียที่สามารถนํามาใชเปน
โปรไบโอติกส ควรมีคุณสมบัติยับยั้งจุลินทรียกลุมที่เปนสาเหตุของโรค ซึ่งนอกจากจะชวยลดความเสี่ยงตอการ
เปนโรคติดเชื้อในสัตวแลว ยังสามารถนําจุลินทรียที่มีสมบัติดังกลาวมาใชรักษาโรคติดเชื้อได เมื่อนําแบคทีเรียที่

45 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

คัดเลือก ไดแก ASAT 0801 มาเลี้ยงในอุณหภูมิที่แตกตางกันคือ 10 , 30 และ45 องศาเซลเซียส โดยที่ 30 องศา


เซลเซียสใหเปนหลอดควบคุม จากการศึกษาพบวา ที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส แบคทีเรียสามารถเจริญเติบโต
ไดในวันที่สามของการทดลอง และที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียสแบคทีเรียสามารถเจริญเติบโตไดในวันแรกของ
การทดลอง Niamsup and others. (2003) กลาววาอุณหภูมิของสัตวปกอยูที่ ประมาณ 40 – 42 องศาเซลเซียส
แสดงวาที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียสมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม เพราะมีความใกลเคียงกับอุณหภูมิของสัตว
เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดมาเลี้ยงในอาหารเหลว MRS เปนเวลา 24 ชั่วโมง พบวาแบคทีเรียที่คัดเลือกไดมี
การเจริญไดดีในระยะแรกซึ่งอยูในชวง 2- 10 ชั่วโมง จากนั้นการเจริญเติบโต เริ่มชาลงจนถึงชั่วโมงที่ 24
สอดคลองกับ Sarantinopoulos and others. (2003) ซึ่งศึกษาการเจริญเติบโตของแบคทีเรียกรดแลคติค P.
pentosaceus KUB3 สามารถปรับตัวและเขาสูระยะการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วตั้งแตชั่วโมงแรก และยัง
สอดคลองกับ Rodriguez and Manca de Nadra (1995) ซึ่งศึกษา Pediococcus pentosaceus 12p ที่แยกจากไวนจะ
เขาสูระยะการเจริญเติบโตคงที่ในชั่วโมงที่ 10

สรุปผลการทดลอง

การแยกเชื้อและคุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรียโปรไบโอติกสที่แยกไดไกไขที่อายุ 52 สัปดาห
สามารถแยกไดแบคทีเรียโปรไบโอติกส คือ Lactobacillus plantarum

ขอเสนอแนะ

ในการศึกษาครั้งตอไปควรศึกษาคุณสมบัติอื่น ๆ ของจุลินทรียโปรไบโอติกสเพิ่มเติม เชน


ความสามารถในการยึดเกาะเยื่อบุผนังลําไส และศึกษาระดับการแขงขันกับเชื้อกอโรคในการยึดเกาะที่เยื่อบุผนัง
ลําไสเพื่อยืนยันประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อกอโรคในลําไส

46 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

บรรณานุกรม

กรรณิกา สรรพานิช, ชะลอ วิเศษเสนีย, เยาวลักษณ ดิสระ และวิลาวัณย เจริญจิระตระกูล. 2531. คูมือปฏิบัติการ
จุลชีววิทยา. สงขลา : ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. 114 หนา.
งามนิจ นนทโส. 2550. การแยกเชื้อแบคทีเรียที่สรางกรดแลคติคและการบงชี้แบคทีเรียกรดแลคติค.
แหลงที่มา: http://ilti.kku.ac.th/ams/course57/317316/pdf/317316/14isolation_and_identification_of_
lactic_acid_bac teria.pdf -, 13 ธันวาคม 2550.
วิเชียร ลีลาวัชรมาศ. 2541. โปรไบโอติกส อาหารเพื่อสุขภาพสําหรับมนุษยและสัตว. ตอนที่ 1. จารพา 41 : 50-
53.
รุจา มาลัยพวง. 2544. การผลิตโปรไบโอติกสสําหรับอาหารไกจากแบคทีเรียกรดแลคติคของไทย. วิทยานิพนธ
ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ศริสา ทวีแสง, บวรศักดิ์ ลีนานนท และสิงหนาท พวงจันทนแดง. 2548. การเหลือรอดชีวิตของเชื้อแบคทีเรีย
โปรไบโอติกสในน้ําผลไมชนิดตาง ๆ (Survival of Probiotics Bacteria in Different Kinds of Fruit
Juices). วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน.
ศศิมา วรหาญ. 2550. การคัดเลือกและศึกษาประสิทธิภาพของโปรไบโอติกแบคทีเรียตอการยับยั้ง
เชื้อแบคทีเรียกอโรค. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยแมโจ. เชียงใหม.
Austin, B., Stuckey, L.F., Robertson, D.A.W., Effendi, I. and Griffith, D.R.W. 1995. A probiotic strain of
Vibrio alinolyticus effective in reducing diseases by Aeromonas salmonicida, Vibrio anguillarum and
Vibrio ordalii. J. Fish disc. 18 : 93-96.
Axelsson, L.T. (1993). Lactic Acid Bacteria : classification and physiology. In Lactic Acid Bacteria.
(ed. Salminen, S.and Wright, A.V.) New York : Marcel Dekker. Pp.1-64.
Brennan, M., Wanismail, B. and Ray. B. 1993. Prevelence of viable Lactobacillus acidophilus in dried
commercial products. J. Food Prot. 46 : 877-892.
Conway, P.L., Corback, S.L. and Goldin. B.R. 1987. Survival of lactic acid bacteria in the human stomach
and adhesion to intestinal cell. J.Dairy Sci. 70 : 1-12.
Erkkila, S and Petaja, E. 2000. Screening of commercial meat starter cultures at low pH and in the presence of
bile salts for potential. probiotic use. J.Meat Science.55 : 297-300.

47 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Fuller, R. 1989. Probiotic in man and animal. J. App. Bacteriol. 66 : 365-378.


Garriga, M., M. Pascual, J.M. Monfort and M. Hugas. 1998. Selection of lactobacilli for chicken probiotic
adjuncts. J. Appl. Microbiol. 84 : 125-132.
Holzapfel, W.H., P. Haberer, J. Snel, U. Schilinger and J. Huis in’t veld. 1998. Overview of gut flora and
probiotics. Int. J. Food Microbiol. 41: 85-101.
Jin, L. Z., Y.W. Ho, N. Abdullah, N.A. Ali and S. Jalaludin. 1998. Effects of adherent Lactobacillus cultures
on growth, weight of organs and intestinal microflora and volatile fatty acids in broilers. Animal Feed
Science and Technology. 70: 197-209.
Klaver, F.A.M. and R. Van der Meer. 1993. The Assumed assimilation of cholesterol by lactobacilli and
Bifidobacterium bifidum is due to their bile salt deconjugating activity. Appl. Environ. Microbiol. 59
: 1120-1124.
Michael, J. and Pelezar, J. 1995. Hydrolysis of polysaccharide protein and lipid. Inlaboratory exercises in
microbiology. New York : MC GrawHill. pp. 126-188.
Morelli, L. 2000. In vitro selection of probiotic lactobacilli: A critical appraisal. Current Issues
Interesting of Microbiology. 1(2): 59-67
Niamsup, P., I.N. Sujaya, M. Tanaka, T. Sone, S. Hanada, Y. Kamagata, S. Lumyong, A. Assavanig,
K.Asano, F. Tomita, and A. Yokota. 2003. Lactobacillus thermotolerans sp. nov., a novel
thermotolerant species isolated from chicken faeces. International Journal of Systematic and
Evolutionary Microbiology 53 : 263-268.
Nousiainen, J and J. Setala. 1998. Lactic acid bacteria as animal probiotics, pp. 431-473. In S. Salminen and
A. von Wright (eds). Lactic Acid Bacteria. 2nd ed., Mercel Dekker Inc., New York.
Rodriguez, A.V. and M.C. Manca de Nadra. 1995. Effect of pH and hydrogen peroxide produced by
Lactobacillus hilgardii on Pediococcus pentosaceus growth. FEMS Microbiol. Letters. 128 : 59-62.
Sarantinopoulos, P., L. Makras, F. Vaningelgem, G. Kalantzopoulos, L.D. Vuyst and E. Tsakalidou. 2003.
Growth and energy generation by Enterococcus faecium FAIR-E 198 during citrate metabolism. Int.
J. Food Microbiol. 84: 197-206.

48 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Schillinger, U. and F. Lucke. 1989. Antibacterial activity of Lactobacillus sake isolated from meat. Appl.
Environ. Microbiol. 55 (8) : 1901-1906.
Smith, H.W. 1965. The Development of the flora of the alimentary tract in young animals. J.
Pathol. Bacteriol. 90 : 495-513. Cited by R. Fuller. 1992. Probiotics : The Scientific Basis.398 p.
Spelhaug, S.R. and Harlander. S.K. 1989. Inhibition of foodborne bacterial pathogens by bacteriocins from
Lactococcus lactis and Pediococcus pentasaceous. J. Food Prot. 52 : 856-862.
Sturkie, P.D. 1976. Avian Physiology. Springer – Verlag, Berlin. 400 p.
Teresa, M.B., C.R. Serra, R.M.La Ragione,M.J. Woodward and A.O. Henriques. 2005. Screening for Bacillus
isolate in the broiler gastrointestinal tract. Appl. Environ. Microbiol. 71(2) : 968-978.

Received 10 December 2009


Accepted 10 January 2010

49 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

นิพนธตนฉบับ

การพบเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนไขไกสดจากตลาดนัดในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี
Occurrence of Salmonella spp. Contamination in Fresh Hen’s Eggs from Local Retail Market in
Amphoe Cha-Am, Phetchaburi

สุรวัฒน ชลอสันติสกุล1

1
สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจหาการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในไขไกสด จํานวน 54
ตัวอยาง จากแผงจําหนายไขไกสดจํานวน 12 แผง จากตลาดนัดจํานวน 8 แหง ในเขตอําเภอชะอํา จังหวัด
เพชรบุรี ในชวงเดือนเมษายน พ.ศ. 2550 ทําการตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาโดยวิธี Enrichment และ Selective
Isolation ผลการศึกษาจากไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง เมื่อทําการวิเคราะหการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา พบวามี
การปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในเปลือกไข จํานวน 12 ตัวอยาง

คําสําคัญ: ไข ไขไก เชื้อซัลโมเนลลาและตลาดนัด

50 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Abstract

The objective of this study was to survey the presence of Salmonella spp. in 54 hen’s egg samples.
The subjected eggs were collected from 12 grocery stalls located in 8 local retail markets during April, 2007
in Cha-Am district, Phetchaburi province. Salmonella spp. isolation and identification by enrichment and
selective isolation. According to observation and experiment, Salmonella spp. was found in 12 egg shell

Keyword: Egg, Hen’s Egg, Salmonella spp. and Local Retail Markets

บทนํา

โรคซัลโมเนลโลซิสเปนโรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เรียกวา เชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella) ซึ่ง


เปนแบคทีเรียกลุมใหญกลุมหนึ่งในสกุล Enterobacteriaceae เชื้อซัลโมเนลลาเปนเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบ
รูป รางทอน ขนาดประมาณ 0.5 – 3 ไมครอน ไมสรางสปอร เคลื่อนที่ไดโดยแฟกเจลลาที่รายลอมตัวเชื้อ มีความ
สามารถเจริญไดทั้งแบบใชอากาศและไมใชอากาศ สามารถใชน้ําตาลไดหลายชนิด ยกเวน น้ําตาลแลคโตส
แบคทีเรียชนิดนี้เปนสาเหตุสําคัญของโรคซัลโมเนลโลซีส ซึ่งเปนโรคที่มีสาเหตุจากอาหาร (Foodborne
diseases) โดยจะทําใหเกิดอาการทองเสีย มีไข ปวดทอง ภายหลังจากไดรับเชื้อประมาณ 12-72 ชั่วโมง อาหารที่
พบไดบอยวามีการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลา คือ อาหารที่ไดจากสัตว เชน เนื้อสัตว เนื้อไก ไข หรือนม
(อรุณบางตระกูลนนท, 2546) อาหารโปรตีนหลักของประชากรโลก คือเนื้อสัตวและผลิตภัณฑจากสัตว ประเทศ
ไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีการเลี้ยงสัตวเพื่อบริโภคเปนอาหาร ทั้งโคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร ไกเนื้อ ไกไข เปด
เนื้อ เปดไข แพะ แกะ เชื้อซัลโมเนลลาจึงเปนแบคทีเรียที่กอใหเกิดโรคอาหารเปนพิษที่มีอันตรายสูง
นอกจากนั้นยังกอใหเกิดปญหาการติดเชื้อดื้อยาในคนและสัตว โดยเชื้อซัลโมเนลลาอาศัยอยูในทางเดินอาหาร
ลําไสของสัตวและคนและแพรกระจายเชื้อไปในดิน น้ําและสิ่งแวดลอมปนเปอนเขาสูหวงโซอาหารโดยผาน
ทางอุจจาระ ซึ่งเปนอันตรายอยางยิ่งหากนําเนื้อ นมหรือไขที่มีเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนมาใชประกอบอาหาร
โดยจะทําใหผูบริโภคมีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคอาหารเปนพิษ Dickson et al, 2003 พบวาวัตถุดิบอาหารจาก
สัตวเปนแหลงและสาเหตุสําคัญของโรคติดเชื้อซัลโมเนลลาในคน เชื้อซัลโมเนลลาสามารถปนเปอนใน
ขบวนการผลิตเนื้อสัตวตั้งแตการเลี้ยงสัตวระดับฟารม การขนสง โรงฆาสัตว และการเก็บรักษาไดทุกขั้นตอน

51 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

เชื้อซั ลโมเนลลา (Salmonella spp.) เปนแบคทีเรียที่บอยครั้งทําใหเกิดการระบาดขึ้นในสัต วปก เชน เปด ไก


และนก สําหรับในไขนั้นถึง แมไขที่มีเปลือกหุม โดยทั่วไปเปนที่เ ขาใจว าถาเปลือกไม มีรอยร าวหรือแตก
เชื้อซั ลโมเนลลาจะไมสามารถปนเปอนได แตเปลือกไขมีความพรุน ทําใหเชื้อซัลโมเนล-ลาสามารถผานเขา
ไปในไขขาวและไขแดงได

อุปกรณและวิธีทดลอง

ดําเนินการสํารวจจํานวนสถานที่จําหนายไขไกสดจากแผงลอยในตลาดนัด และเลือกตัวอยางประชากร
โดยไมอาศัยหลักความนาจะเปน (Non-probability sampling) โดยการเลือกสุมแบบเจาะจง (Purposive
sampling) จํานวน 8 แหง ตามวันนัดของตลาดนัดนั้นๆ ชวงระหวางเดือนเมษายน พ.ศ. 2550 ในเขตอําเภอชะอํา
จังหวัดเพชรบุรี
ตัวอยางไขไกสด เลือกตัวอยางไขไกสดดวยวิธีการสุมแบบบังเอิญจากสถานที่จําหนายไข จํานวนทั้งสิ้น
127 ตัวอยาง โดยการคละขนาดและคละบรรจุภัณฑ โดยสุมไขไกสด จํานวน 1- 5 ฟองตอตัวอยาง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
จํานวนฟองไขในภาชนะบรรจุของผูจําหนายโดยปกติ
อาหารเลี้ยงเชื้อและสารเคมี เปนอาหารเลี้ยงเชื้อและสารเคมีที่มีความจําเพาะในวิธีการตรวจทาง
แบคทีเรียวิทยาทั่วไป
สถานที่ดําเนินการ หองปฏิบัติการจุลชีววิทยา คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย
ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
วิธีการ ทําการ Swab บริเวณผิวของเปลือกไขไกสด แลวทําการตอกไขแตละตัวอยางแยกเอาเนื้อไขออก
จากกัน แลวนําตัวอยางทั้งเปลือกและเนื้อไขแยกตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา ดวยวิธี Enrichment และ Selective
isolation โดยประยุกตวิธีการตรวจหาแบคทีเรียที่เปนตัวกอโรคในทางเดินอาหาร (Enteropathogen) สําหรับการ
ตรวจหา Salmonella spp. ในการศึกษาครั้งนี้ประยุกตใชวิธีการ ISO 6579 (1993-09-01)

วิธีการวิเคราะหขอมูล

นําขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel® 2003 โดยใชสถิติเชิง


พรรณนา ไดแก รอยละ เพื่อเปรียบเทียบการพบหรือไมพบเชื้อซั ลโมเนลลา

52 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ผลและวิจารณผลการทดลอง

จากการสุมเก็บตัวอยางไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง จากแผงจําหนายไขไกสด 12 แผง จากตลาดนัด 8


แหง ในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ในชวงเดือนเมษายน พ.ศ. 2550 พบการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลา
ในไขไกสด ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงของผลการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในไขไกสด
แหลงจําหนาย จํานวน การปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา ภาชนะใสไขไกสดที่พบการปนเปอน
ตัวอยาง เปลือกไขไกสด เนื้อไขไกสด ถาดกระดาษ ถาดพลาสติก ถุงพลาสติก
แผงที่ 1 4 1 0 0 0 1
แผงที่ 2 6 1 0 1 0 0
แผงที่ 3 2 0 0 0 0 0
แผงที่ 4 4 2 0 1 1 0
แผงที่ 5 6 1 0 0 1 0
แผงที่ 6 5 0 0 0 0 0
แผงที่ 7 5 1 0 0 1 0
แผงที่ 8 3 2 0 0 1 1
แผงที่ 9 5 0 0 0 0 0
แผงที่ 10 4 1 0 0 1 0
แผงที่ 11 6 3 0 1 2 0
แผงที่ 12 4 0 0 0 0 0
รวม 54 12 0 3 7 2

จากตัวอยางที่ศึกษามีไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง เมื่อทําการวิเคราะหการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา


พบวามีการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในเปลือกไข จํานวน 12 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 22.22 (12/54) แตไมพบ
การปนเปอนในเนื้อไขไกสดแตอยางใด เมื่อพิจารณาจากจํานวนแผงจําหนายไขไกสด จํานวน 12 แผง พบการ
ปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา จํานวน 8 แผง คิดเปนรอยละ 66.67 (8/12) สําหรับภาชนะบรรจุไขไกสดที่พบวาบรรจุ
53 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ไขไกสดที่ตรวจพบการปนเปอน พบวาภาชนะบรรจุประเภท ถาดพลาสติก มากที่สุด จํานวน 7 ตัวอยาง คิดเปน


รอยละ 58.33 (7/12) รองลงมา ไดแก ถาดกระดาษ จํานวน 3 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 25.00 (3/12) และ
ถุงพลาสติก นอยที่สุด จํานวน 2 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 16.67 (2/12) แสดงวาในไขไกสดที่มีจําหนายในตลาด
นัดในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี มีความเสี่ยงภัยในการบริโภค ซึ่งผูบริโภคอาจจะไดรับเชื้อซัลโมเนลลาที่
ปนเปอนมากับไขไกสดได จากการศึกษาครั้งนี้สอดคลองกับเสกสม อาตมางกรูและคณะ 2548 ซึ่งพบเชื้อ
ซัลโมเนลลาที่เปลือกไขไก 5 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 9.40 จากฟารมขนาดเล็กและศูนยรวบรวมไข โดยพบวา
ฟารมไกไขที่ทําการศึกษา พบวามีการสะสมขยะมูลฝอยภายในฟารม มีการเก็บไขไกปนเปอนอุจจาระรวมกับ
ไขไกที่เปลือกสะอาด ไมมีการทําความสะอาดผิวเปลือกไขไก ที่เก็บไขไกภายในฟารมวางอยูภายในโรงเรือน
เลี้ยงไกไข มีการหมุนเวียนใชถาดไขไกที่นํามาจากภายนอกฟารมโดยไมไดทําความสะอาดหรือทําการฆาเชื้อ
โรคถาดไขไกกอนนํามาใชภายในฟารม และที่ศูนยรวบรวมไขไกมีการนําไขมาจากฟารมหลายแหงและไดจัด
วางไขไกกับพื้น ดวยเหตุนี้อาจจะเปนสาเหตุทําใหพบการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลาในไขไกสด สุมณฑา
วัฒนสินธุ, อรุณ บางตระกูลนนทและธเนศ ชิดเครือ 2546 ไดศึกษาการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลาในอาหาร
สัตว พบการปนเปอนถึงจํานวน 44 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 29.53 โดยพบวาเนื้อและกระดูกปนมีอัตราการ
ปนเปอนสูงสุด คิดเปน รอยละ 100 รองลงมาเปนกากน้ํามันพืชคาโนลา คิดเปน รอยละ 50.00 และถั่วเหลืองนึ่ง
ทั้งเมล็ด คิดเปนรอยละ 44.40 เนื่องจากเชื้อซัลโมเนลลาสามารถพบไดในทางเดินอาหารทั้งจากมนุษยหรือสัตว
ปก รวมถึงสัตวพาหะดวย โดยเชื้อซัลโมเนลลาสามารถเจริญเติบโตไดดีที่อุณหภูมิประมาณ 37 องศาเซลเซียส
ทําใหเชื้อซัลโมเนลลาสามารถปนเปอนไดตั้งแตฟารมเลี้ยงสัตวปก หองเก็บรักษาไขไกกอนสงจําหนาย พาหนะ
ขนสงไขไก สถานที่จําหนายไขไกกอนถึงผูบริโภค มีโอกาสใหเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนได โดยที่เชื้อ
ซัลโมเนลลาสามารถมีชีวิตในอุจจาระที่ติดบนถาดไขไก อุปกรณในการเลี้ยงสัตวและผิวเปลือกไขไกไดนาน 7
วัน (สุเจตน ชื่นชมและคณะ 2547) ดังนั้นจึงสามารถกลาวไดวา เชื้อซัลโมเนลลา มีการเจริญเติบโต แพรกระจาย
และปนเปอนไดคอนขางงายในสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ซึ่งอยูในเขตรอนชื้น และในกระบวนการผลิต
ไขไกตั้งแตฟารมเลี้ยงสัตวจนถึงผูบริโภคมีจุดวิกฤตหลายจุดที่สามารถพบการปนเปอนได มาตรการสุขาภิบาล
ในกระบวนผลิตไขไก ตลอดจนมาตรการสุขลักษณะอาหารมีความสําคัญตอสุขภาพของผูบริโภค

54 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

สรุปผล

จากตัวอยางที่ศึกษามีไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง เมื่อทําการวิเคราะหการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา


พบวามีการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในเปลือกไข จํานวน 12 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 22.22 (12/54) แตไมพบ
การปนเปอนในเนื้อไขไกสด จากแผงจําหนายไขไกสด จํานวน 12 แผง จากตลาดนัด 8 แหง ในเขตอําเภอชะอํา
จังหวัดเพชรบุรี ในชวงเดือนเมษายน พ.ศ.2550

บรรณานุกรม

เสกสม อาตมางกรู, อรทัย ไตรวุฒานนท, สุเตน ชื่นชมและคนอื่น ๆ. 2548. รายงานการวิจัยการประกัน


คุณภาพไขไกเพื่อการบริโภค, ทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการวิจัยบูรณาการสํานักงานคณะกรรมการวิจัย
แหงชาติ ปงบประมาณ 2548
สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2548. มาตรฐานสินคา
เกษตรและอาหารแหงชาติ ไขไก มกอช. 6702-2548, ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและ
งานทั่วไป เลม 122 ตอน 60ง วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2548
สุเจตน ชื่นชม,นําดี แซเฮง, อรประพันธ สงเสริม และคนอื่นๆ. 2547 .การศึกษาการคงอยูของเชื้อโรคและการ
ลดเชื้อโรคที่ปนเปอนมากับเปลือกไขและถาดไข. ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ดวนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปงบประมาณ 2547
สุมณฑา วัฒนสินธุ, อรุณ บางตระกูลนนท, ธเนศ ชิดเครือ. 2546. การปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลาในอาหาร
สัตวและการควบคุม. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ครั้งที่ 2
วันที่ 13-14 มีนาคม พ.ศ. 2546 ณ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
อรุณ บางตระกูลนนท สุมาลี บุญมา นพรัตน หมานริม สุพล เลื่องยศลือชากุล จตุรงค สุตัณทวิบูรย และมยุรา
กุสุมภ. 2537 การศึกษาโรคSalmonellosis จากสุกรในประเทศไทย. การประชุมวิชาการกรม
วิทยาศาสตรการ- แพทย. 10-11 สิงหาคม 2537.
อรุณ บางตระกูลนนท. 2546. โรคซัลโมเนลโลซีส. หนังสือประกอบการฝกอบรมโรคติดตอระหวางสัตวและ
คน สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ

55 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Dickson, J.S., Hurd, H.S. and Rostagno, M. H. 2003. Review salmonella in the pork production chain
National pork board,Des Moines,LA.web:http://www.porkboard.org/
ISO-6579 (1993-09-01) Microbiology General Guidance on Method for the detection of Salmonella third
Edition.

Received 20 December 2009


Accepted 30 January 2010

56 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

นิพนธตนฉบับ

ศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาที่จังหวัดรอยเอ็ด

A potential of Concentrating Solar Power Plant using Parabolic Trough at Roi Et Province

พิสิษฐ สุวรรณแพทย1 เสริม จันทรฉาย2 และจรุงแสง ลักษณะบุญสง2

1
สาขาวิชาพื้นฐานสัตวศาสตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
2
ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

57 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

บทคัดยอ

ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบ

รางพาราโบลาที่จังหวัดรอยเอ็ด โดยวิธีการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร (computer simulation)

โดยระบบดังกลาวมีกําลังการผลิตไฟฟา 10 MW ซึ่งประกอบดวยตัวรวมรังสีดวงอาทิตยแบบรางพาราโบลาที่มี

พื้นที่รวม 75,000 ตารางเมตร และเครื่องยนตกังหันไอน้ําที่ทํางานดวยวัฎจักร Rankin ในการจําลองการทํางาน

จะใชโปรแกรม TRANSYS รวมกับ STEC LIBRARY ที่พัฒนาโดยศูนยวิจัยอวกาศประเทศเยอรมัน (German

Aerospace Center) และใชขอมูลรังสีตรงราย 10 นาทีจํานวน 1 ป ซึ่งผูวิจัยไดทําการวัดที่จังหวัดรอยเอ็ด จากผล

การวิเคราะหพบวาระบบดังกลาวมีประสิทธิภาพเฉลี่ยตอปเทากับ 18% และสามารถผลิตไฟฟาได 18.4 GWh/hr

โดยมี capacity factor 21% เมื่อพิจารณาตนทุนการผลิตไฟฟาในรูปของ levelized electricity cost พบวามีคา

เทากับ 8.5 บาท/kWh

คําสําคัญ; รังสีตรง โรงไฟฟาพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย ระบบความรอนแบบรางพาราโบลา

58 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Abstract

In this work, a solar thermal power plant using parabolic troughs for Roi Et province was investigated

by using a computer simulation. The power plant has a capacity of 10 MW. It consists of parabolic troughs

with the total area of 75,000 m2 and a Rankin cycle steam turbine. A simulation program named TRANSYS

with the STEC LIBRARY developed by the German Aerospace Center was used to perform the simulation. A

one-year period of direct normal solar radiation measured at Roi Et was employed for this simulation. Results

obtained from the simulation show that the power plant can product annually the electricity of 18.4 GWh with

the average efficiency of 18% and capacity factor of 21%. The levelized electricity cost is found to be 8.5

bahts/kWh.

Keyword: Direct Normal Radiation, Solar Thermal Power Plant, Parabolic Trough

59 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

บทนํา

การผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลา(parabolic trough) ในชวง

20 ป ที่ ผา นมา ไดมีการพั ฒนาทางดา นเทคโนโลยีนี้ อยา งกว า งขวางจนถึงขั้นการจั ดตั้ ง โรงไฟฟา เพื่อปอ น

กระแสไฟฟา เขาสู ระบบสายสงในเชิงพานิชย โดยในปจจุบันมีโรงงานไฟฟาแบบดังกลา วในรัฐแคลิ ฟอรเ นีย

ประเทศสหรัฐอเมริกา จํานวน 9 โรง ซึ่งมีกําลังการผลิตรวม 350 MWe ปริมาณไฟฟาดังกลาวคิดเปน 90 % ของ

การผลิ ต ไฟฟ าดว ยพลังงานแสงอาทิตยทั่วโลกหรือเปนกํา ลังไฟฟ าที่ส ามารถตอบสนองความตองการของ

350,000 ครัวเรือน นอกจากนี้ยังมีโรงไฟฟ าพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนอีกหลายแหงที่อยูในระหวาง

ดําเนินการกอสราง โดยตนทุนการผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาแบบนี้จะต่ํากวาการใชโซลารเซลล และมีแนวโนมที่

จะสามารถแขงขันได กับ พลัง งานในรู ปแบบตา งๆ ไดในอนาคต อยางไรก็ตาม สมรรถนะของการผลิตไฟฟา

พลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาขึ้นกับความเขมรังสีตรงของดวงอาทิตย (Direct normal

irradiance) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของรังสีรวมของดวงอาทิตย โรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบ

รางพาราโบลาจะมีสมรรถนะสูงในกรณีที่ตั้งอยูในบริเวณที่มีคาความเขมรังสีตรงสูง สําหรับกรณีประเทศไทย

ขอมูลดังกลาวยังไมชัดเจน ทั้งนี้เพราะการวัดรังสีตรงมีเฉพาะที่สถานศึกษาบางแหงเทานั้น จึงไมสามารถชี้ชัด

ถึงศักยภาพการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาในประเทศไทยได

ดังนั้นผูวิจัยจึงไดดําเนินการวิเคราะหศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบราง

พาราโบลาในประเทศไทย เพื่อนําผลที่ไดไปใชประโยชนตอไป

60 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

วัตถุประสงคของโครงการวิจัย

เพื่อศึกษาเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาดว ยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาที่มีอยู

ในปจ จุ บั น และเพื่อ วิ เ คราะห ศักยภาพในการผลิ ตไฟฟ า ด ว ยพลัง งานแสงอาทิ ต ยร ะบบความรอนแบบราง

พาราโบลาในกรณีของจังหวัดรอยเอ็ด

วิธีดําเนินการวิจัย

การเลือกตําแหนงที่ตั้งของระบบผลิตไฟฟา

เนื่องจากระบบผลิต ไฟฟาดว ยพลังงานแสงอาทิตย แบบรางพาราโบลาทํางานดว ยรั งสีตรง และการ

จําลองการทํางานของระบบตองใชขอมูลรังสีตรงจากการวัดรายชั่วโมง หรือนอยกวา 1 ชั่วโมง ดังนั้น ในลําดับ

แรก ผูวิ จั ยจะทํ า การเลือกบริเ วณที่มีค วามเข มรั ง สี ต รงสู ง โดยอาศัยแผนที่ความเขม รัง สี ต รง ซึ่ ง พั ฒนาโดย

หองปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตยรวมกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ซึ่งไดแสดงใน

รูปที่ 1

61 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

จุดที่ทําการวัด
ความเข มรังสีตรง

บริ เวณที่ความ
เขมรั งสีตรงมี
คา สูงสุด

รูปที่ 1 แสดงบริเวณที่ความเขมรังสีตรงมีคาสูงสุด และตําแหนงที่มีขอมูลรังสีตรงที่ได

จากการวัด

62 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

จากรูปที่ 1 พบวาบริเวณที่ไดรับความเขมรังสีตรงสูงอยูในพื้นที่บางสวนของภาคกลางครอบคลุมบางสวนของ

จังหวัดสิงหบุรี นครสวรรค ลพบุรี และชัยนาท สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ครอบคลุมพื้นที่บางสวน

ของจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ รอยเอ็ด ยโสธร สุรินทร และอุบลราชธานี โดยมีคาอยูในชวง 1, 350-1,400

kWh/m2-yr ผูวิจัยไดเลือกพื้นที่ของจังหวัดรอยเอ็ดสําหรับจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาดวย

คอมพิวเตอร ทั้งนี้เพราะจังหวัดรอยเอ็ดอยูในบริเวณที่ไดรับพลังงานจากรังสีตรงคอนขางสูง นอกจากนี้ยังเปน

จังหวัดที่มีขอมูลรังสีตรงราย 10 นาที ซึ่งจําเปนตอการจําลองการทํางานดวยคอมพิวเตอร

การเตรียมขอมูลรังสีตรงและขอมูลอุตุนิยมวิทยาอื่นๆ

ขอมูลรังสีตรง

ขอมูลความเขมรังสีตรงที่จะนํามาใชในงานวิจัยนี้ไดจากสถานีอุตุนิยมวิทยาเกษตร อําเภอเมือง จังหวัด

รอยเอ็ด (16.07 ON, 103.00OE) โดยเครื่องวัดเปนของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ซึ่งติดตั้ง

อยูที่สถานีอุตุดังกลาว ตั้งแตเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2549 จนถึงปจจุบัน (พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เครื่องวัดเปนไพ

เฮริโอมิเตอรของบริษัท Epply รุน NIP ติดตั้งบนเครื่องติดตามดวงอาทิตย (Solar tracker) ของบริษัท

Kipp&Zonen รุน 2AP สัญญาณที่ไดจะบันทึกดวยเครื่องบันทึกสัญญาณแบบตัวเลข (data logger) ของบริษัทโย

โกกาวา รุน DC100

63 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม
กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

รูปที่ 2 แสดงเครื่องวัดรังสีตรงและเครื่องบันทึกขอมูล

ที่สถานีอุตุเกษตร อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด

เครื่องวัดรังสีตรงจะไดสัญญาณเปนศักยไฟฟา โดยเครื่องบันทึกขอมูลจะรับสัญญาณจากเครื่องวัดรังสี

ตรงทุกๆ 1 วินาที จากนั้นจะเฉลี่ยทุกๆ 10 นาที และเก็บคาเฉลี่ยในหนวยความจํา เมื่อครบ 1 เดือนเจาหนาที่

ประจําสถานีจะทําการบันทึกขอมูลลงดิสตเก็ตของเครื่องบันทึกขอมูลและจัดสงมาทาง อีเมลล (email) มายัง

หองปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผูวิจัยจะทําการแปลงขอมูลสัญญาณไฟฟาใหเปนความเขมรังสีตรงโดยการหารดวยคา Sensitivity ของ

(W 2) โดยขอมูลที่นํามาใชงานจะเริ่มตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2549


เครื่องวัดซึ่งมีคาประมาณ 8  V/ (W-m

จนถึง วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2550

เนื่องจากคคาความเขมรังสีตรงและรังสีรวมที่ไดนั้น ถึงแมจะไดมาจากเครื่องวัดที่มีสมรรถนะสูง แตก็มี

โอกาสเกิดการผิดพลาดได ดังนั้นผูวิจัยจึงไดทําการควบคุมคุณภาพขอมูลโดยการตรวจสอบขอมูลราย 10 นาที

ดวยวิธีการอาศัยการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรใหแสดงกราฟคาความเขมรังสีตรงและรังสี

รวมตลอดทั้งปซึ่งจะตรวจสอบคาที่ผิดปกติไดโดยงาย ซึ่งคาที่ผิดปกตินี้ไดแกคาความเขมรังสีตรงหรือรังสีรวม

64 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ที่สูงจนผิดปกติหรือต่ํากวาผิดปกติ ซึ่งผูวิจัยไดแสดงตัวอยางการตรวจสอบขอมูลที่ผิดปกติดังรูปที่ 3 จากนั้นทํา

จึงทําการซอมคาที่ผิดปกติดังกลาว โดยผูวิจัยใชวิธี linear interpolation กับขอมูลที่ผิดพลาดหรือขาดหายเพียง

เล็กนอยในเพียงบางชวงเวลาเล็กนอยเพียง 1-2 คาในแตละวัน

รูปที่ 3 แสดงขอมูลรังสีดวงอาทิตยที่มีคาสูงผิดปกติ

65 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

หลังจากผูวิจัยไดทําการควบคุมคุณภาพของขอมูล โดยกลั่นกรองขอมูลที่ผิดปกติออกจากขอมูลทั้งหมด

และทําการซอมขอมูลเสร็จสิ้น จะไดขอมูลความเขมรังสีตรงราย 10 นาทีดังกลาวขางตนมีจํานวน 52, 560คาดัง

แสดงในรูปที่ 4

รูปที่ 4 แสดงเขมรังสีตรงตั้งแต วันที่ 1/5/2549 ถึง วันที่ 30/4/50ของจังหวัดรอยเอ็ดที่

ผานการควบคุมคุณภาพขอมูลแลว

66 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ขอมูลความเร็วลม

ขอมูลความเร็วลมที่ไดมาทั้งหมดมาจากงานบริการขอมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาเปนขอมูลราย 3 ชั่วโมง

มีหนวยเปน (น็อต) ซึ่งขอมูลดังกลาวเปนขอมูลที่อยูในรูปแบบ html สําหรับขอมูลความเร็วลมที่ใชนั้นเปน

ขอมูลความเร็วลมราย 10 นาทีในหนวย m/s ผูวิจัยทําการแปลงขอมูลดังกลาวใหอยูในรูปแบบ text file ใหมี

หนวยเปน m/s จากนั้นทําการคํานวณหาคาความเร็วลมราย 10 นาที ผูวิจัยใชวิธี linear interpolation โดยอาศัย

โปรแกรม IDL

ขอมูลอุณหภูมิ

ขอมูลอุณหภูมิที่ไดมาทั้งหมดมาจากงานบริการขอมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาเปนขอมูลราย 3 ชั่วโมงมี

หนวยเปน o C ซึ่งขอมูลอยูในรูปแบบ html file เชนเดียวกับขอมูลความเร็วลม ผูวิจัยไดทําการคํานวณใหเปน

ขอมูลราย 10 นาทีโดยใชวิธี linear interpolation ดวยโปรแกรม IDL

ขอมูลความชื้นสัมพัทธของอากาศ

ขอมูลความชื้นสัมพัทธของอากาศนี้ได มาจากงานบริการขอมู ลของกรมอุตุนิยมวิทยาเปนขอมู ลราย 3

ชั่วโมง เชนเดียวกับกรณีขอมูลความเร็วลมและขอ มูลอุณหภูมิ โดยเปนขอมูลราย 3 ชั่วโมงอยูในรูปแบบ html

file ผูวิจัยใชวิธี linear interpolation ดวยโปรแกรม IDL ใหเปนขอมูลราย 10 นาทีสําหรับนํามาใชงาน

67 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

การจัดทําชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยา (Metrological Data)

สําหรับการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรเพื่อหาพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดตอป

ตองใชรูปแบบชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาที่เปนรูปแบบเฉพาะซึ่งเปนขอมูลชนิด text file นามสกุล dat ซึ่ง

จะแสดงใหเห็นรูปแบบชุดขอมูลดังกลาวที่เปดดวยโปรแกรม Notepad จะแสดงใหเห็นในรูปที่ 5 ซึ่ง

การสรางชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาสามารถสรางโดยอาศัยโปรแกรม Microsoft Excel

รูปที่ 5 แสดงลักษณะรูปแบบมาตรฐานของชุดขอมูลอุตุนิ ยมวิท ยาสํ าหรับ การจําลอง

การทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร

68 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

จากรูปที่ 5 จะเห็นไดวาขอมูลอุตุนิยมวิทยาดังกลาวนั้นเปนขอมูลที่เปนลักษณะสดมภในแตละสดมภก็

จะเปนขอมูลอุตุนิยมวิทยาตางๆตามลําดับดังนี้ สดมภที่ 1 คือลําดับของขอมูลซึ่งขอมูลที่นํามาใชงานนั้นมีลําดับ

ตั้งแตลําดับที่ 1 จนถึงลําดับที่ 52560 สดมภที่ 2 คือเวลาซึ่งเปนเวลาทั้งสิ้น 1 ปนั้นคือเวลาที่ใชทั้งสิ้น สดมภที่ 3

คือ ขอมูลความเร็วลมราย 10 นาทีหนวย m/s สดมภที่ 4 คือ ขอมูลอุณหภูมิอากาศแวดลอมราย 10 นาทีหนวย

สดมภที่ 5 คือ ขอมูลความชื้นสัมพัทธของอากาศราย 10 นาที สดมภที่ 6 คือ ขอมูลความเขมรังสีรวมราย 10 นาที

หนวย W/m2 สดมภที่ 7 คือ ขอมูลความเขมรังสีรวมราย 10 นาที W/m2

รายละเอียดของระบบที่จะทําการวิเคราะห

ระบบรางพาราโบลา

สําหรับระบบรางพาราโบลานั้นเปนระบบแรกที่พัฒนาและใชงานมาเปนเวลากวา 20 ป ซึ่งระบบ

ดังกลาวมีการใชงานจริงในรัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีจํานวนระบบการผลิตไฟฟาทั้งสิ้น 9

ระบบและขณะนี้กําลังอยูระหวางการกอสรางอีก 1 ระบบในประเทศสเปน แตละระบบมีรายละเอียดปลีกยอยที่

แตกตางกัน ผูวิจัยจะเลือกระบบที่มีการทํางานคลายกับระบบ SEG ซึ่งใชงานที่สหรัฐอเมริกาในปจจุบัน โดย

กําหนดใหมีกําลังการผลิตไฟฟา เทากับ 10 MW ทั้งนี้เพราะเปนระบบขนาดกลางที่ไมซับซอน มีความเหมาะสม

กับประเทศไทย สําหรับลักษณะของระบบแสดงไดดังแผนภูมิในรูปที่ 6

69 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม
กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

รูปที่ 6 แสดงแผนภูมิของระบบผลิตไฟฟาแบบรางพาราโบลา

ระบบนี้ประกอบดวย ตัวรับรังสีดวงอาทิตยแบบรางพาราโบลา (parabolic


parabolic trough) ตัวแลกเปลี่ยนความ

รอน (heat exchanger) กังหันไอน้ํา (steam turbine) เครื่องควบแนน (condenser) และเครื่องกําเนิดไฟฟา

หลักการทํางานของระบบนั้นเริ่มจากรังสีดวงอาทิตยตกกระทบตัวรับรังสีแบบรางพาราโบลา
บบรางพาราโบลา รังสีดวงอาทิตยถูก

สะทอนไปรวมกันที่ทอดูดกลืนรังสีซึ่งอยูที่โฟกัสของรางพาราโบลา ความรอนที่เกิดขึ้นจะถายเทไปใหน้ํามันที่

มีจุดเดือดสูง น้ํามันดังกลาวจะไหลไปยังถึงเก็บความรอน (thermal storage) และจะถูกสูบไปผานตัวแลกเปลี่ยน

ความรอน โดยความรอนจะถ
จะถายเทไปใหน้ํา ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้นจนกลายเปนไอน้ํายิ่งยวด (super-heated

steam) แลวสงผานเขาไปในกังหันไอน้ํา เพื่อใหกําลังกับเครื่องกําเนิดไฟฟา สําหรับไอน้ําอิ่มตัว (saturated

steam) ที่ออกมาจากกังหันไอน้ําจะผานตัวควบแนน (condenser) กลายเปนน้ําไหลกลับไปใช


บไปใชผานตัวแลกเปลี่ยน

ความรอนอีกครั้งหนึ่ง โดยในชวงที่รังสีดวงอาทิตยมีความเขมต่ํา จะนําความรอนจากถังเก็บความรอนมาใชงาน


70 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

สําหรับระบบที่จะทําการศึกษามีกําลังการผลิตไฟฟา 10 MW โดยมีพื้นที่รับแสงของรางพาราโบลารวมทั้งหมด

75,000 ตารางเมตร และมีอุปกรณเก็บสะสมความรอนไวใชในขณะที่ไมมีแสงแดดไดประมาณ 2 ชั่วโมง (Jones

et al., 2001)

การจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร (computer simulation)

โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับใชในการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร

ในการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรสําหรับระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย

ระบบความรอนแบบรวมแสง ผูวิจัยเลือกที่จะจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม TRNSYS

ซึ่งเปนซอฟแวรที่พัฒนาโดย University of Wisconsin ซึ่งซอฟแวรดังกลาวมีลักษณะเปนโมดุล และนิยมใชใน

งานดานพลังงานแสงอาทิตยทั่วไป โดยโปรแกรมดังกลาวจะประกอบดวย subroutine ที่แทนองคประกอบของ

ระบบ ผูใชตองนํา subroutine ตางๆ มาเชื่อมตอกันใหเปนระบบสําหรับใชงาน ขอดีของโปรแกรม TRNSYS คือ

ผูใชสามารถดู source code ซึ่งเปนภาษา FORTRAN และศึกษาแบบจําลองทางคณิตศาสตร นอกจากนี้ผูใชยัง

สามารถเขียน source code เปน subroutine เพิ่มเติมตามระบบของตนเองได เนื่องจากขอดีดังกลาวขางตนคณะ

นักวิจัยจาก German Aerospace Agency (DLR) จึงไดทําการพัฒนา subroutine เปนโมดุลขององคประกอบตางๆ

ของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยอุณหภูมิสูงขึ้น โดยเรียกกันทั่วไปวา STEC LIBRARY ผูวิจัยได

ดําเนินการจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยดวยโปรแกรม TRNSYS และ STEC

LIBRARY โดยไดสงนักวิจัยไปทําการพัฒนาโปรแกรมสําหรับระบบผลิตไฟฟาทั้ง 3 ระบบ รวมกับผูเชี่ยวชาญ

71 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ดาน TRNSYS และ STEC LIBRARY ที่ Aerospace Agency (DLR) เมือง Koln ประเทศเยอรมัน เมื่อเดือน

เมษายน ค.ศ. 2006.

แบบจําลองขององคประกอบของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยในโปรแกรม TRNSYS และ

STEC LIBRARY (Schwarzbozl, 2002)

ระบบรางพาราโบลา ใน STEC LIBRARY ทําการจําลองแบบ (modeling) ประสิทธิภาพของตัวรับรังสี

แบบรางพาราโบลาดวยสมการ (Lippke, 1995)

 T  Tin  T  Tin
  K  M  Sh   A  B  out   (C  Cw  WS )  out
 2  2  DNI
1 (1)
Tout  Tin  (Tout  Tin ) 2
 D 3
DNI

 = ประสิทธิภาพของตัวรับรังสีแบบรางพาราโบลา

Cp = ความรอนจําเพาะ (specific heat)


2
DNI = รังสีตรงที่ตกตั้งฉากกับระนาบรับแสง reflector ของตัวรับรังสี (kJ/h-m )

Tout = ความแตกตางระหวางอุณหภูมิของเหลวที่ไหลออกจากชองรับรังสีที่โฟกัสกับอุณหภูมิอากาศแวดลอม

Tin = ความแตกตางระหวางอุณหภูมิของเหลวที่ไหลเขาทอรับรังสีกับอุณหภูมิอากาศแวดลอม

K = incident angle modifier

72 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

M = สัมประสิทธิ์การสูญเสียความรอนที่สวนทาย (end losses) ของทอรับรังสี

Sh = แฟคเตอรเนื่องมาจากผลที่เกิดจากการบังกันของตัวรับรังสีในแถวขางเคียง

WS = ความเร็วลม

C w = สัมประสิทธิ์การสูญเสียความรอนจากลม

A, B, C, D เปนคาคงที่

จากคาประสิทธิภาพ จะสามารถคํานวณพลังงานที่ทอรับรังสีดูดกลืน (absorber tube) ไดดวยสมการ

Q abs  Aeff  DNI   (2)


Q abs = พลังงานที่ทอรับรังสีดูดกลืนได

A eff = พื้นที่รับรังสีดวงอาทิตยของรางพาราโบลา

DNI = รังสีตรงที่ตกตั้งฉากกับระนาบของรางพาราโบลา

 = ประสิทธิภาพ

เนื่องจากจะมีการสูญเสียพลังงานจากทอรับรังสี ดังนั้นพลังงานที่ไดจึงเปนไปตามสมการ

 Q
Q net
 Q
abs

pipe (3)

Q net = พลังงานที่ของไหลในทอรับรังสีไดรับ เมื่อพิจารณาการสูญเสียความรอนแลว

73 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม
กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553


Q abs = พลังงานที่ทอรับรังสีไดรับ

Q pipe = พลังงานที่สูญเสียจากทอรับรังสี

จากนั้นจะทําการคํานวณอัตราการไหลของของเหลวในทอรับรังสี เพื่อใหไดอุณหภูมิของไหลที่กําหนดไว

โดยใชสมการ


Q
 
M net
(4)
c p Tout  Tin 

เมื่อ 
M = อัตราการไหลของของเหลวในทอรับรังสี

Q net = พลังงานที่ของไหลในทอรับรังสีไดรับ เมื่อพิจารณาการสูญเสียความรอนแลว

Tout = อุณหภูมิของเหลวที่ไหลออกจากชองรับรังสีซึ่งจะกําหนดใหคงที่

Tin = อุณหภูมิของเหลวที่ไหลเขาทอรับรังสี

แบบจําลองของตัวเก็บความรอน (thermal storage) ตัวเก็บความรอนที่ใชเ ปนแบบ concrete / oil storage

โดย total heat transfer coefficient จะมีความสัมพันธกับ mass flow rate ตามสมการ

(5)

เมื่อ UA = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (total heat transfer coefficient)

74 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

UAref = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมอางอิง

m
 = อัตราการไหลเชิงมวล (mass flow rate)

m
 ref = อัตราการไหลเชิงมวลอางอิง

ak i = เปนคาคงที่เอมไพริคัล

แบบจําลองของ Economizer และ super heater ในที่นี้จะใชแบบจําลองของตัวแลกเปลี่ยนความรอน

แบบไหลสวนทาง (counter flow heat exchanger) ซึ่ง effectiveness, ECO เขียนไดดังสมการ


UA  C min 
  1 
C min  C max 
1 e 
 ECO  UA  Cmin   (6)
C min  C min  1 C max 
1 e
C max

เมื่อ UA = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (total heat transfer coefficient)

C min = Min (m C p cold , m C p hot ) (7)

 = อัตราการไหลเชิงมวล (mass flow rate)


m

Cp = ความรอนจําเพาะ (specific heat)

แบบจําลองของ Evaporator

Effectiveness ของ evaporator จะหาโดยใชสมการ


  UA 
 Evaporator  1  exp  (8)
 m hot  cphot 

เมื่อ UA = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (total heat transfer coefficient)

75 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

 hot = อัตราการไหลดานอุณหภูมิสูง
m

C p ,hot = ความรอนจําเพาะของดานอุณหภูมิสูง

3.4.3 การสรางโปรแกรมสําหรับจําลองการทํางานของระบบ

ผูวิจัย จะนําโปรแกรมของแบบจํา ลองของแตละองคประกอบมาตอเรียงกันใหเปนโปรแกรมสําหรั บใช

จําลองการทํางานของระบบ ดังแสดงในรูปที่ 7

76 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

รูปที่ 7 แผนภูมิจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาแบบรางพาราโบลา ในโปรแกรม

TRNSYS

77 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

การจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร

ในการจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาทั้ง 3 ระบบ ผูวิจั ยได ทําการพั ฒนาโปรแกรมโดยอาศัย

TRNSYS software และ STEC Library จากนั้นใชโปรแกรมดังกลาวทําการคํานวณปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดรายป

(ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2550) โดยทําการคํานวณทุกๆ 10 นาที ตลอดทั้ง

วัน โปรแกรมจะทําการคํานวณวน loop จนครบป หลังจากนั้นจะทําการหาคาเฉลี่ยรายป ตาม flow chart ดังรูป

ที่ 8

78 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

อานขอมูล
Time loop (10 min)

แบบจําลองของ
ระบบผลิตไฟฟา

พลังงานไฟฟา
ที่ไดรายป

STOP

รูปที่ 8 แสดง flow chart การคํานวณปริมาณไฟฟาที่ไดจากระบบผลิตไฟฟา

79 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ผลการคํานวณ

ปริมาณไฟฟาที่ผลิตได

ผลจากการคํานวณปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดเฉลี่ยตอเดือนระบบรางพาราโบลาไดแสดงไวในรูปที่ 9

3000
Roiet
2500
Energy production (MWh)

2000

1500

1000

500

0
May-06 Jun-06 Jul-06 Aug-06 Sep-06 Oct-06 Nov-06 Dec-06 Jan-07 Feb-07 Mar-07 Apr-07
month

รูปที่ 9 แสดงปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดในเดือนตางๆ ในรอบปจากระบบรางพาราโบลา

80 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

พบวาคาปริมาณพลังงานไฟฟาเฉลี่ยตอปที่ไดจากระบบรางพาราโบลาของจังหวัดรอยเอ็ด

ประสิทธิภาพ

การทํางานของระบบผลิตไฟฟาจะมีการสูญเสียพลังงานทั้งจากอุป กรณรวมแสง (optical losses) และ

จากระบบความรอน (thermal losses) ดัง นั้นพลังงานจากรัง สีตรงจึงไมสามารถแปลงเปน พลังงานไฟฟา ได

ทั้ง หมด ความสามารถในการแปลงพลั งงานจากรังสี ตรงเป นไฟฟา จะบอกในรูปของประสิท ธิภาพ (solar-to-

electricity efficiency) จากการคํานวณปริมาณรังสีดวงอาทิตยและไฟฟาที่ผลิตไดตลอดทั้งป ไดคาประสิทธิภาพ

ของระบบรายปเทากับ 18.4%

Capacity factor

เนื่องจากระบบผลิตไฟฟาที่ออกแบบใหมีกําลังการผลิต 10 MW แตในการทํางานจริง ระบบมิไดทํางาน

ที่กําลังการผลิตดังกลาว อัตราสวนของพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดจริงตอคาพลังงานไฟฟาที่ผลิตได ถาระบบทํางาน

ตามกําลังการผลิตที่ออกแบบตลอดทั้งปจะเรียกวา capacity factor หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้

= (9)
×

ผลการคํานวณ capacity factor ของระบบผลิตไฟฟาระบบรางพาราโบลาของรอยเอ็ดเทากับ 21%

81 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ตนทุนการผลิตไฟฟา

หลั ง จากที่ทราบคาปริมาณพลังงานไฟฟาที่ผลิ ตได เฉลี่ยตอ ปของระบบ investment cost และ

maintenance & operating cost แลว ผูวิจัยไดรวมกับฝายพัฒนาพลังงานทดแทน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ

ไทยทําการคํานวณตนทุนการผลิตไฟฟา ในรูปของ Levelized Electricity Cost (LEC) โดยอาศัยสมการ (Pitz-

Paal et al., 2003):


crf  k invest  k o&m  k fuel
LEC  (10)
E net

k d (1  k d ) n
เมื่อ crf   k insurance (11)
(1  k d ) n  1

โดยที่ k insurance = annual insurance rate

k invest = total investment of the plant

k fuel = annual fuel cost

kd = real dept interest rate

k o&m = annual operation and maintenance cost

E net = annual net electricity

n = depreciation period in years

เนื่องจากทุกระบบทํางานดวยพลังงานแสงอาทิตยเพียงอยางเดียว ดังนั้น k fuel มีคาเปนศูนย สําหรับขอมูลหลัก

ที่ใชในการคํานวณแสดงไวตามตารางที่ 1

82 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ตารางที่ 1 ขอมูลหลักที่ใชในการคํานวณ

รายการ ขอมูล ที่มา

Real dept interest rate 8% ภาวะเศรษฐกิจป ค.ศ. 2006

Labor cost per employee 4,615 USD/year EGAT*

Depreciation period in years 25 years SEG

Annual insurance rate 0.6 % EGAT

หมายเหตุ *EGAT คือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

SEG คือ โรงไฟฟาพลัง งานแสงอาทิตยที่รั ฐแคลิฟอร เนีย ประเทศสหรัฐ อเมริ กา โดยโรงแรกใชง าน

มาแลวประมาณ 20 ปพบวาคา Levelized Electricity Cost ของระบบผลิตไฟฟาระบบรางพาราโบลาของรอยเอ็ด

คํานวณไดเทากับ 8.53 (บาท/kWh)

สรุป

ระบบผลิตไฟฟาระบบรางพาราโบลาที่ออกแบบใหเปนระบบที่มีกําลังการผลิต 10 MW พบวาระบบราง

พาราโบลามีตนทุนการผลิตไฟฟาคอนขางต่ํา กลาวคือคา levelized electricity cost (LEC) เทากับ 8.53 บาท/

kWh โดยมีประสิทธิภาพรายปเทากับ 18.4% และคา capacity factor เทากับ 21.0 %

83 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงานและหองปฏิบัติการวิจัย

พลังงานแสงอาทิตย ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใหทุนสนับสนุนงานวิจัยนี้

บรรณานุกรม

Jones, S., Pitz-Paal, R., Schwarzboezl, P., Blair, N., Cable, R., TRNSYS Modelling of the SEGS VI parabolic

trough solar electric generating system, Proceedings of Solar Forum 2001, April 21-25, 2001,

Washington DC, (2001).

Lippke F., Simulation of Part load behavior of a 30 MWe SEGS plant, Report number SAD 95- 1293, Sandia

National Laboratories Albuquerque, NM, (1995).

Pitz-Paal, R., Dersch, J., Milow, B., European Concentrated Solar Thermal Road-Mapping, Research Report

no. SES6-CT-2003-502578, European Commission, (2003).

Received 22 December 2009


Accepted 02 February 2010

84 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Short Communication

Induction and Recovery Time from Anesthesia in Mozambique Tilapia (Oreochromis mossambicus
Peters, 1852) Fingerlings Exposed to Clove Oil

Somrudee Silarudee1, Surawat Chalorsuntisakul2 and Sathit Boonnom1

1
Division of Aquatic Animal Production Technology, Faculty of Animal Science and Agricultural
Technology, Silpakorn University, Phetchaburi IT Campus
2
Division of Veterinary Technology, Faculty of Animal Science and Agricultural Technology,
Silpakorn University, Phetchaburi IT Campus

Abstract

The use of clove oil as an anesthetic for Mozambique Mouth Breeder (Oreochromis mossambicus
Linn.) fingerlings was examined. Clove oil was mixed with ethanol in a 1:9 ratio to facilitate mixing. The
stock clove oil and ethanol solution was mixed thoroughly with 10 L of water to obtain test concentrations of
600, 1,200, and 1,800 ppm. Fish in 600 ppm was completes loss of equilibrium (stage 3) average in 18.05
min, two treatment groups (1,200 and 1,800 ppm) were easily handled in <5 min and all treatment groups
recovered equilibrium within <5 min when placed in fresh water.

Keywords: Oreochromis mossambicus, Clove oil, Fish Anesthetic

85 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Introduction

Tilapias are native fresh water fish of Africa (Trewawas, 1983). They are one of the commercial
important perch-like fishes in the family Cichlidae. Tilapias are easily growing fish species since they eat a
variety of foods, resist to diseases and grow well in poor quality water with low dissolved oxygen (Mair and
Roberts, 1988). Anesthetics play an important role in both fisheries research and aquaculture, being used to
facilitate various handling procedures, such as weighing, sorting, and collection of spawning material,
tagging, or veterinary treatment (Summerfelt and Smith 1990, Kazuñ, Siwicki 2001). Clove oil and its
derivatives (eugenol and iso-eugenol) have become popular fish anesthetics due to their low cost and apparent
safety to both fish and humans. Eugenol is approved for use on food fish with no withdrawal period (Stehly
and Gingerich, 1999). Clove oil have regulatory approval for use on food fish in North America at present
(US FDA, 2002), however both are being used in research and field applications. There have been a number
of studies on the efficacy of different doses of clove oil with various fish species. The purpose of this study
was to determine whether induction and recovery from clove oil anesthesia in Mozambique tilapia
(Oreochromis mossambicus) fingerlings.

Methods

Clove oil was mixed with ethanol in a 1:9 ratio (Anderson et al., 1997) to facilitate mixing. The stock
clove oil and ethanol solution was mixed thoroughly with 10 L of water to obtain test concentrations of 600,
1,200, 1,800 ppm. Water chemistry at the site was reported as pH 7.48 and dissolved oxygen, 4.97 mg/L. Fish
were placed in the anesthesia tank and stages of anesthesia were visually monitored, timed and classified
(Table I. Once a fish had reached a state where it completes loss of equilibrium (stage 3) it was removed from
the anesthetic bath, weight and length were measured. After handling, fish were placed in a freshwater
recovery tank and monitored until fully recovered. It was then transferred to an identical aerated fresh water
tank and recovery was monitored and timed (Table I). Three fish were individually tested at each

86 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

concentration. Mean induction and recovery times were compared among treatment groups using one-way
ANOVA.

Table I. Designated stages of anesthesia used for Mozambique tilapia clove oil efficacy tests

Stage Characteristic behavior


1 Opercular movement visibly slows or becomes erratic
2 Sporadic loss of equilibrium, difficulty maintaining position while at rest
3 Complete loss of equilibrium; inability to regain upright position
4 No reaction to handling or a sharp prod in the peduncle
Recovery Ability to remain upright, normal swimming behavior

Results and Conclusions

Fish in 600 ppm was completes loss of equilibrium (stage 3) average in 18.05 min, two treatment
groups (1,200 and 1,800 ppm) were easily handled in <5 min and all treatment groups recovered equilibrium
within <5 min when placed in fresh water. Induction times were more rapid at high clove oil concentrations,
with fish treated at concentrations 1,800 ppm exhibiting significantly shorter induction times than 600 and
1,200 ppm (differ significantly at P<0.05). Recovery time results were somewhat ambiguous, with fish treated
at 600 ppm taking significantly longer to recover than fish treated at 1,200 and 1,800 ppm. (not significantly at
P>0.05).
Clove oil does appear to have promise as an effective and safe anesthetic for use on food fishes.
However, until further studies are conducted regarding physiological effects, it should be used with caution
and at the lowest concentrations necessary to induce anaesthesia.

87 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Table II. Induction and recovery time for Mozambique tilapia anaesthetized at three clove oil concentrations.

1800 ppm

Average Recovery Time (Min)


1200 ppm
Average Induction Time (Min)

600 ppm

0 5 10 15 20

References

Anderson, G. W., McKinley, S. R. & Colavecchia, M. (1997). The use of clove oil as an anesthetic for
rainbow trout and its effects on swimming performance. North American Journal of Fisheries
Management 17, 301–307.
Davidson, G.W., P.S. Davie, G. Y., Fowler R.T. 2000. Physiological responses of rainbow trout
Oncorhynchus mykiss to crowding and anesthesia with AQUI-S. Journal of the World Aquaculture
Society 31: 105-114.
Hajek G.J., Klyszejko B., Dziaman R. 2006. The anesthetic effect of clove oil on common carp, Cyprinus
carpio L. Acta Ichthyol. Piscat. 36 (2): 93.97.
Iversen, M., B. Finstad, R.S. McKinley and R.A. Eliassen. 2003. The efficacy of metomidate, clove oil,
Aqui-S and Benzoak as anaesthetics in Atlantic salmon (Salmo salar) smolts, and their
potential stress-reducing capacity. Aquaculture 221: 549-566.
Kazuñ K., Siwicki A.K. 2001. Propiscin a safe new anaesthetic for fish. Archives of Polish Fisheries
9:183.190.
Mair, J. F. and Roberts, R. J. 1988. Recent advances in aquaculture. 407 pp.
Olsen, Y.A., I. Einarsdottir and K.J. Nilssen. 1995. Metomidate anaethesia in Atlantic salmon, Salmo salar,
prevents plasma cortisol increase during stress. Aquaculture 134: 155-168.

88 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

Stehly, G.R. and W.H. Gingerich. 1999. Evaluation of AQUI-S (efficacy and minimum toxic
concentration) as a fish anaesthetic/sedative for public aquaculture in the United States. Aquaculture
Research 30: 365-372.
Summerfelt R.C., Smith L.S. 1990. Anesthesia, surgery, and related techniques. In: Schreck
C.B.,Moyle P.B. (eds.) Methods for fish biology. American Fisheries Society, Bethesda. 213.272.
Trewavas, E. 1983. Tilapiine fishes of the genera Sarotherodon, Oreochromis and Danakilia.
London : British Museum (Natural History).
Thomas, P. and L. Robertson, 1991. Plasma cortisol and glucose stress responses of red drum (Sciaenops
ocellatus) to handling and shallow water stressors and anesthesia with MS-222, quinaldine sulfate and
metomidate. Aquaculture 96: 69-86.
US FDA. 2002. Status of clove oil and eugenol for anesthesia of fish. Guidance for Industry 150. US Dept. of
Health and Human Services, Food and Drug Administration, Center for Veterinary Medicine. June
11, 2002. 4 p.

Received 20 December 2009


Accepted 30 January 2010

89 | P a g e
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

คําแนะนําสําหรับผูสงบทความเพื่อลงตีพิมพ

จุดมุงหมายและขอบเขต

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนวารสารทางวิชาการของ


คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เปนวารสารที่
ไดรับการประเมินบทความโดยผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ (peer-reviewed journal) เปดโอกาสให
เสนอบทความที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร รวมถึงสาขาวิชาอื่นๆ ที่
เกี่ยวของ บทความที่จะลงตีพิมพในวารสารไดแก

- นิพนธตนฉบับ (Original articles or Research articles)


- รายงานสังเขป (Short communication)
- รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (Case report)
- บทความปริทรรศน (Review articles or Educational articles)
- บทความปกิณกะ หรือ รายงานพิเศษ (Miscellany articles or Special articles)
- บทความแนะนําหนังสือ (Book review) และ
- จดหมายถึงบรรณาธิการ (Letter to the editor)

ประเภทของบทความ
นิพนธตนฉบับ (Original articles or Research articles) เปนรายงานผลการวิจัยทางดานวิทยาศาสตร
การเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ
รายงานสังเขป (Short communication) เปนรายงานผลการวิจัยหรือผลการทดลองทางดาน
วิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ โดยประสงคเผยแพรแบบสังเขป
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (Case report) เปนรายงานสัตวปวย วิจารณอาการทางคลินิกและผล


ตรวจทางหองปฏิบัติการที่นาสนใจ รวมถึงกรณีศึกษาทางดานวิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตร
การเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ
บทความปริทรรศน (Review articles or Educational articles) เปนบทความที่รวบรวมเอาผลงานใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งเคยลงตีพิมพมาแลว นํามาวิเคราะห วิจารณ เพื่อใหเกิดความกระจางในเรื่องนั้น
ยิ่งขึ้น
บทความปกิณกะ หรือ รายงานพิเศษ (Miscellany articles or Special articles) เปนบทความที่ให
ขอมูลเกี่ยวกับบทความและขาวสารสําหรับผูที่สนใจ
บทความแนะนําหนังสือ (Book review) เปนบทความเพื่อแนะนําหนังสือที่นาสนใจโดยสรุป ทางดาน
วิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ ที่ตองการแนะนําใหนักศึกษาหรือผู
ที่สนใจไดติดตาม
จดหมายถึงบรรณาธิการ (Letter to the editor) เปนขอความถึงบรรณาธิการเพื่อการแนะนํา หรือ
โตแยงตามหลักวิชาการตอบทความที่ไดเผยแพรในวารสาร หรือแสดงขอคิดเห็นในประเด็นที่มีประโยชนทาง
วิชาการตามสมควร โดยมีรายละเอียดดังนี้

 นิพนธตนฉบับ (original articles) ใหมีความยาวไมควรเกิน 5000 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 50 ขอ,


 รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 10 รูป
 รายงานสังเขป (short communication) ใหมีความยาวไมควรเกิน 2500 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 20
ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 5 รูป
 บทความปริทรรศน (review articles) และบทความปกิณกะ (miscellany articles) ใหมีความยาวไมควร
เกิน 10000 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 100 ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 10 รูป
 รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (case report) ใหมีความยาวไมควรเกิน 1500 คํา, รูปภาพและตารางไม
ควรเกิน 5 รูป, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 20 ขอ
 บทความแนะนําหนังสือ (book review) และ จดหมายถึงบรรณาธิการ (letter to the editor) ใหมีความ
ยาวไมควรเกิน 500 คํา หรือ ตามความเหมาะสม

ประเภทของบทความนอกเหนือจากนี้ใหอยูในดุลยพินิจของบรรณาธิการ
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

การสงบทความและการเผยแพรวารสารอิเล็กทรอนิกส
กองบรรณาธิการวารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอแจงให
ทราบวา เพื่อความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการสงบทความ ไดจัดทําวารสารคณะสัตวศาสตรและ
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรในรูปแบบออนไลนเผยแพรผานเว็บไซตของคณะสัตวศาสตรและ
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ http://www.asat.su.ac.th
ผูเขียนสามารถเสนอบทความเพื่อพิจารณาไดทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส (email) ที่
surawat@su.ac.th หรือ surawatch@gmail.com หรือ บันทึกลงในแผนดิสก ประเภท CD หรือ DVD
สงใหกองบรรณาธิการ
โดยจาหนาถึง

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล


สํานักงานกองบรรณาธิการ วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร หอง สทก.1403
คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เลขที่ 1 ถ.ชะอํา - ปราณบุรี ต.สามพระยา
อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 76120

การเตรียมตนฉบับ

 เกณฑการเขียนบทความ
1. อธิบายเนื้อหาของบทความหรือวิเคราะหขอมูลที่ไดมาใหชัดเจน
2. หากตนฉบับมีขอผิดพลาดของรูปแบบหรือมีความไมสมบูรณขององคประกอบในบทความ
บทความนั้นจะถูกสงกลับไปยังผูเขียนเพื่อทําการแกไขตอไป หรือ อาจจะไมรับพิจารณา
3. แกไขปรับปรุงเนื้อหาของตนฉบับตามคําแนะนําของผูประเมินบทความ

หากมีการเขียนบทความโดยกลุม กรุณาระบุชื่อผูเขียนทุกคน และระบุชื่อผูวิจัยหลักใหชัดเจน


วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ควรแสดงความขอบคุณแกบุคคลที่ไมไดมีสวนรวมในการเขียนบทความ แตมีสวนชวยเหลือโดยตรงใน
การวิจัย เชน ผูชวยทางเทคนิค, ที่ปรึกษาดานการเขียนบทความ, ผูสนับสนุนทุนและวัสดุในการทํางานวิจัย เปน
ตน ไวในกิตติกรรมประกาศ (acknowledgement)

 บทความที่สงมาจะตองเปนเรื่องที่ไมเคยตีพิมพที่ใดมากอน และผูเขียนจะตองไมสงบทความเพื่อไป
ตีพิมพในวารสารฉบับอื่นในเวลาเดียวกัน

หลักเกณฑสําหรับผูเขียนบทความ

 ผูเขียนบทความตองไมมีเจตนาสงขอมูลเท็จ
 บทความที่สงมาตองเปนผลงานของทานเอง
 ผูเขียนบทความจะตองไมสงบทความที่เคยลงตีพิมพในวารสารอื่น โดยไมระบุวาทานไดเสนอผลงาน
นั้นในวารสารใดบางอยางถูกตองและสมเหตุสมผล
 ตองระบุรายชื่อผูเขียนทุกคนตามความเปนจริง
 ผูเขียนบทความตองสงตนฉบับที่ไดรับการรับรองที่แทจริง
 ผูเขียนบทความตองไมใชวิธีการศึกษาที่มีผูเผยแพรมากอน โดยไมไดรับการอนุมัติจากเจาของลิขสิทธิ์

# หนาแรก (Title page) ประกอบดวย

1. ชื่อ สกุลของผูเขียน (เฉพาะภาษาไทย กรณีผูเขียนรวมเปนชาวตางชาติใหเขียนชื่อ สกุลเปน


ภาษาอังกฤษ)
2. ชื่อเรื่อง ที่สื่อความหมายและชี้ใหเห็นสาระสําคัญของเนื้อหาในตัวบทความ
3. สถานที่ทํางาน

# บทคัดยอ (Abstract) สําหรับบทความภาษาไทย ตองมีบทคัดยอเปนภาษาไทยและควรมีภาษาอังกฤษ สําหรับ


บทความภาษาอังกฤษ ตองมีบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษ มีหรือไมมีบทคัดยอภาษาไทยก็ได โดยมีความยาวไม
เกิน 100 - 150 คํา ควรเรียงลําดับเนื้อหาหลัก ดังนี้
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

1. วัตถุประสงค (Purpose)
2. วิธีการศึกษา (Methods)
3. ผลการศึกษา (Results)
4. สรุป (Conclusions)

# คําสําคัญ (Keyword) ระบุไวใตวัตถุประสงค มีความยาว 3 – 6 คํา

# ตนฉบับ (Manuscript) เปนภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษ

# เนื้อเรื่อง (Text Formatting) ใหลําดับความสําคัญของเนื้อหาดังนี้คือ สวนบทนํา (introduction), สวนวิทยวิธี


(methods), สวนผลลัพธ (results), สวนอภิปราย (discussion), สวนบทขอบคุณ หรือ กิตติกรรมประกาศ
(acknowledgements), สวนเอกสารอางอิง หรือ บรรณานุกรม (references), และสวนตารางและรูปภาพประกอบ
(tables and figures) ทั้งนี้ผูเขียนอาจจะมีสวนอื่นเพิ่มเติมจากที่กําหนดไวก็ได และอาจจะใชคําที่แตกตางจากที่
ระบุไวก็ได เชน สวนบทนํา ผูเขียนอาจจะใชคําวา “บทนํา” หรือ “คํานํา” ก็ได เปนตน
โดยตนฉบับจะตองใชรูปแบบ ดังนี้

1. ใชตัวพิมพมาตรฐาน เชน บทความ ภาษาไทยควรใช ตัวอักษร “Angsana New” ขนาด 16 point หรือ
บทความภาษาอังกฤษ ควรใชตัวอักษร “Times Roman” ขนาด 12 point
2. พิมพขอความสําคัญดวยตัวเอน หรือ ตัวหนา หรือ ขีดเสนใต
3. ไมใช “field functions”
4. ใชปุม “Tab” เมื่อขึ้นยอหนาตอไป
5. ควรเลือกคําสั่งตาราง (Table) เมื่อตองการพิมพตาราง
6. หากใชโปรแกรม “Microsoft Word 2007” ควรใชโปรแกรม “Microsoft equation editor” หรือ
โปรแกรม “Math Type”
7. สงตนฉบับในรูปของแฟมขอมูล โดยบันทึกขอมูลเปนไฟล “.doc” หรือบันทึกเปนไฟล “.docx”
หามบันทึกเปนไฟล “.pdf” หรือไฟลอื่นๆ แนะนําวาควรบันทึกเปนไฟล “.docx”
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

# หัวขอ (headings) ไมควรมีขนาดตางๆ มากกวา 3 ระดับ

# คํายอ (abbreviations) จะตองมีคําเต็มเมื่อปรากฏเปนครั้งแรกในบทความ หลังจากนั้นสามารถใชคํายอ


เหลานั้นไดตามปกติ

# เชิงอรรถ (footnotes) คือ การอางอิงขอความที่ผูเขียนนํามากลาวแยกจากเนื้อหาอยูตอนลางของหนา โดยใส


หมายเลขกํากับไวทายขอความที่คัดลอกหรือเก็บแนวคิดมา และจะไมเขียนเชิงอรรถเอาไวที่หนาแรกของ
บทความ ถาตองการแสดงที่มาของตารางหรือภาพประกอบใหใชเครื่องหมายแทนตัวเลข โดยเขียนไวที่สวนลาง
ของหนา หรือใชเครื่องหมายดอกจัน (*) เพื่อแสดงความหมายของคาหรือขอมูลทางสถิติ

# กิตติกรรมประกาศ (acknowledgement) เปนการแสดงความขอบคุณแกผูที่ชวยเหลือในการทําวิจัย หรือ


ผูสนับสนุนทุนการวิจัย เปนตน โดยจะเขียนไวกอนเอกสารอางอิงและควรเขียนชื่อสถาบันที่ใหการสนับสนุน
ทุนการวิจัยโดยใชชื่อเต็ม

# ตาราง (tables)

1. ใหเขียนหมายเลขตารางเปนเลขอารบิก
2. ใหเรียงตามลําดับที่ของตารางอยางตอเนื่องกันจาก 1, 2, 3, …
3. การอธิบายผลในตารางตองไมซ้ําซอนกันและมีใจความกระชับรัดกุม และมีคําอธิบายกํากับไวเหนือ
หรือใตตาราง
4. เขียนคําอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแหลงที่มาของเอกสารอางอิงไวที่ใตตาราง
5. เชิงอรรถ (footnotes) ของตารางจะเขียนไวใตตารางหรือใชเครื่องหมายดอกจัน (*) เพื่อแสดง
ความหมายของคาหรือขอมูลทางสถิติ
6. ตาราง หรือแผนภูมิประกอบจะตองชัดเจน แสดงเนื้อหาสําคัญของเรื่อง สําหรับคําอธิบายประกอบควร
ใชขอความที่กะทัดรัด ชัดเจนและระบุที่มา
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

# รูปภาพ (figures)

1. ควรใชโปรแกรมกราฟกคอมพิวเตอรในการวาดรูป
2. รูปภาพทีเ่ ปนลายเสนควรใชรูปแบบ EPS ในการวาดเสนรูปภาพและรูปภาพที่เปนโทนสีควรใช
รูปแบบ TIFF ในการไลเฉดสี
3. รูปภาพทุกรูปจะตองมีหมายเลขและคําบรรยายภาพกํากับไวใตภาพ โดยใชชื่อรูปภาพเปน “รูปที่...”
หรือ “ภาพที่...” หรือ “Fig…” ตามดวยลําดับที่ของรูปภาพ เชน “Fig. 1” เปนตน
4. ภาพประกอบ เชน ภาพถาย แผนภาพ ฯลฯ จะตองชัดเจน แสดงเนื้อหาสําคัญของเรื่อง สําหรับคําอธิบาย
ภาพประกอบควรใชขอความที่กะทัดรัด ชัดเจนและระบุที่มา

# เอกสารอางอิง (references)
1. การเขียนอางอิงในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรม ควรเรียงลําดับการอางอิงตามการ
อางอิงถึงชื่อบุคคลหรือองคกรตามลําดับตัวอักษร โดยอางอิงภาษาไทยกอนภาษาตางประเทศ
2. ในเนื้อเรื่อง ถามีผูเขียนมากกวา 3 คน ใหใสชื่อคนแรก แลวตามดวย “และคณะ” หรือ “และคน
อื่น” สําหรับภาษาไทย และ “et al.” หรือ “and others” สําหรับภาษาอังกฤษ และระบุชื่อ
ผูเขียนทุกคนในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรม
3. ในเนื้อเรื่อง ถาอางอิงจากภาษาไทย หากเปนชื่อบุคคล ใหเขียนอางอิงตามระบบนาม – ป โดย
เขียนเฉพาะชื่อ หรือ ชื่อและนามสกุล และตามดวยป พ.ศ. เชน “สุรวัฒน, 2553” หรือ
“สุรวัฒน ชลอสันติสกุล, 2553” หรือ “สุรวัฒน (2553)” หรือ “สุรวัฒน ชลอสันติสกุล (2553)”
ถาอางอิงจากภาษาตางประเทศ หากเปนชื่อบุคคล ใหเขียนอางอิงเฉพาะนามสกุล และตามดวย
ป ค.ศ. เชน “Chalorsuntisakul, 2010” หรือ “Chalorsuntisakul (2010)” หากอางอิงเปนชื่อ
องคกร ควรเขียนดวยชื่อเต็มขององคกรนั้น ไมควรอางอิงแตเพียงคํายอ หรือ อักษรยอของ
องคกร
4. การเขียนอางอิงในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรมจากวารสาร ควรระบุชื่อเต็มของ
วารสารนั้น และควรเขียนดวยตัวเอียง หากประสงคจะใชชื่อยอของวารสารนั้น ควรใชชื่อยอ
ตามที่วารสารนั้นระบุใหใช หรือ ตามฐานขอมูล ISI
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กองบรรณาธิการเปดรับบทความหลายประเภท จึงมิไดกําหนดรูปแบบการเขียนบทความอยาง
เฉพาะเจาะจง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของบทความ โดยมีความประสงคเพื่อเนนคุณคาของเนื้อหาเปนสําคัญ
มากกวาระเบียบวิธีในการเขียนบทความ บรรณาธิการจะใชดุลยพินิจและอาจจะปรับปรุงแกไขตามสมควรใน
การพิจารณาบทความที่สงมาเพื่อเผยแพร
ผลงานของทานจะไดรับการตรวจจากผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ ถามีสวนที่จะตองปรับปรุง
แกไข กองบรรณาธิการจะแจงใหทานทราบ เพื่อการปรับปรุงแกไขและโปรดสงคืนมายังกองบรรณาธิการตาม
กําหนด
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ใบสมัครขอสงบทความเพื่อเผยแพร
(การกรอกใบสมัครโปรดใชวิธีการพิมพ)

เรียน บรรณาธิการ
ขาพเจา  นาย  นาง  นางสาว  อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………….……….………...
ชื่อ – สกุล .........................................................................................................................................................
ตําแหนงทางวิชาการ (โปรดระบุ)
 ศาสตราจารย  รองศาสตราจารย  ผูชวยศาสตราจารย  อาจารย
 อื่น ๆ ระบุ......................................................................
คุณวุฒิ (โปรดระบุ)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
สถานที่ทํางาน
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
โทรศัพทที่ทํางาน......................................................โทรศัพทมือถือ...............................................................
โทรสาร.....................................................................E-mail.............................................................................
มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง :
ชื่อบทความ......................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่  สถานที่ทํางานที่ระบุขางตน  ที่อยูดังตอไปนี้


........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

โทรศัพทที่ทํางาน......................................................โทรศัพทมือถือ............................................................
โทรสาร.....................................................................E-mail........................................................................

และในกรณีที่ไมสามารถติดตอขาพเจาได กองบรรณาธิการสามารถติดตอบุคคลดังตอไปนี้
ชื่อ – สกุล.....................................................................................................................................................
โทรศัพท.......................................................................................................................................................
โทรสาร.....................................................................E-mail..........................................................................
มีความเกี่ยวของเปน......................................................................................................................................

.........................................................ลายมือชื่อ
(............................................)
เจาของผลงาน

Você também pode gostar