Você está na página 1de 118

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Page 1 of 7

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > Digital ClassRoom Name
++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Thread Tools Search this Thread

01-12-2004, 21:21 #1
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,728
Mr.Auto
Senior Member

++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++

ผมมั่นใจอยางมากวา ผูที่ซื้อกลองถายภาพสวนใหญมักจะดูคุณสมบัติของกลองพวก ความเร็วชัตเตอร


ระบบปรับความชัด ระบบวัดแสง ลูกเลนตาง ๆ นอยคนนักที่จะดูคุณสมบัติของกลองเจาะลึกไปถึงระดับความ
สวางของแสงที่กลองสามารถทํางานได ซึ่งเปนคุณสมบัติขอหนึ่งของกลองถายภาพที่มีความสําคัญมาก
และไดใชงานบอยครั้งในการถายภาพภายใตสภาพแสงนอย ๆ เชน ถายภาพกลางคืน ถายภาพในอาคารมืด
ๆ ถายภาพในถ้ํา หรือถายภาพวิวชวงโพลเพล ซึ่งถากลองมีความสามารถในการวัดแสงนอย ๆ ไมพอ กลอง
อาจจะทํางานแปลก ๆ เชน ในระบบวัดแสง สเกลวัดแสงกระพริบ สเกลแสดงแตคา Over และ Under ไม
สามารถปรับใหเปน Normal ได หรือวัดแสงผิดพลาดไปมากทั้ง ๆ ที่ปกติก็ทํางานไดดี ไมมีปญหา สวน
ระบบปรับความชัดอัตโนมัติ กลองไมสามารถปรับความชัดได หรือปรับความชัดชามาก ๆ เปนตน

ระบบวัดแสงทํางานโดยอาศัยโฟโตไดโอด เชน Silicon Bule Cell , Gallium Photo Diode ซึ่งเซลเหลานี้


เมื่อไดรับแสงจะทําใหเกิดกระแสไฟฟาในปริมาณที่นอยมาก ๆ และจะมีวงจรไฟฟาทําหนาที่ขยายสัญญา
นไฟฟาอีกทีหนึ่ง หากปริมาณแสงมากเกินไปหรือนอยเกินไปจะทําใหไฟฟามากเกินกวาที่เซลรับแสงเหลานี้
จะทํางานได จะทําใหระบบไมสามารถทํางานไดหรือทํางานแลวเกิดการผิดเพี้ยนไปจนขาดความแมนยํามาก
เกินไป ชวงปริมาณแสงที่เซลรับแสงทํางานไดเราเรียกวา Sensitivity Range หรือ Metering Range ซึ่งจะ
ระบุอยูในคูมือกลองหรือ Catalog ในสวนของ Specification ของกลองรุนนั้น ๆ เสมอ เชน

1. Nikon F5 : Metering Range( at ISO 100 with f/1.4 lens): EV 0 to 20 in 3D Color Matrix and
Center-Weighted , EV 2 to 20 in spot

2.Nikon F100 : Metering Range( at ISO 100 with f/1.4 lens): EV 0 to 21 in 3D Color Matrix and
Center-Weighted , EV 3 to 20 in spot

3.Olympus OM4T : Metering Range( at ISO 100 with f/1.2 lens): EV -5 to 19 in TTL(OTF)
Center-Weight , EV 0 to 19 in spot

ความไวแสงของเซลวัดแสงของกลองแตละรุนจะไมเทากัน เนื่องจากการใชเซลวัดแสงคนละรุนกัน หรือแม

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1068 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Page 2 of 7

แตกลองตัวเดียวกัน คาความไวแสงของเซลวัดแสงก็จะไมเทากันในแตละระบบวัดแสง เพราะมีการใชเซล


วัดแสงคนละตัว หรือใชพื้นที่ของเซลวัดแสงไมเทากัน เชน Nikon F5 ใชเซลวัดแสงที่หนาระนาบฟลมเมื่อ
วัดแสงแบบ Spot และวัดแสงแฟลช และใชเซลวัดแสงที่อยูบน Prism เมื่อวัดแสงตอเนื่องในระบบเฉลี่ย
หนักกลางและแบงพื้นที่
Attached Images

01-12-2004, 21:21 #2
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,728
Mr.Auto
Senior Member

ในความเปนจริง ชวงการวัดแสงที่เซลวัดแสงสามารถทําไดจะขึ้นกับปริมาณแสงที่ตกลงเซลวัดแสง ซึ่งก็ขึ้น


กับปริมาณแสงที่สะทอนออกจากวัตถุ และความสวางของเลนสหรือ F-Number และความไวแสงฟลมที่ปรับ
ตั้งเอาไวดวย ดังนั้นเมื่อมีการบอกชวงการทํางานของเครื่องวัดแสงจึงตองมีการระบุคา F-Number และความ
ไวแสงฟลมดวย มาตรฐานจะใชที่ ISO 100 เลนส 50mm.F1.4 บางรายก็จะเปน F1.2 ซึ่งจะทําใหแสงที่
ผานเลนสเขาไปมากกวา และเซลวัดแสงสามารถทํางานไดที่ EV ต่ํากวา
ยิ่งเซลวัดแสงสามารถทํางานไดชวงกวางมากเทาไรยิ่งดีมากขึ้นเทานั้น โดยเฉพาะในชวง EV ต่ําจะไดใช
งานมากกวา EV สูง
Attached Images

01-12-2004, 21:22 #3

Join Date: Sep 2004


Posts: 2,728
Mr.Auto
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1068 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Page 3 of 7

คา EV คืออะไร

คา EV หรือ Exposure Value คือคาที่บงบอกถึงปริมาณแสง ไดมาจากการคํานวนความเร็วชัตเตอรและชอง


รับแสงในระบบ Log ตามสูตร

EV = 3.322 log ( ตัวเลขชองรับแสงยกกําลัง 2 / ตัวเลขความเร็วชัตเตอร)

ตัวเลขชองรับแสงคือ คา F-Number เชน f/11 ใชคา 11 สวนความเร็วชัตเตอร เชน 1/125 วินาที ใช 125
แตถาเปน 4 วินาที ใช ¼ หรือ 0.25 เปนตน

คา EV จึงเปนผลรวมการจับคูระหวางความเร็วชัตเตอรและขนาดชองรับแสง 1EV มีคาเทากับ 1 stop


สามารถแปรคาเปนความสวางของแสงในหนวยตาง ๆ ไดดังนี้
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1068 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Page 4 of 7

Last edited by Mr.Auto : 01-12-2004 at 21:26.

01-12-2004, 21:28 #4
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,728
Mr.Auto
Senior Member

ประโยชนของคา EV ในปจจุบันอาจจะไมมีมากนักในการใชงานกับกลองขนาด 35มม. เพราะการวัดแสงจะ


บอกออกมาในรูปแบบของความเร็วชัตเตอรหรือขนาดชองรับแสง และผูใชคุนเคยกับการใชงานในระบบ
Stop มากกวา แต EV ยังมีการใชงานในกลองบางตัว เชน Hasselbald รุนเกา ๆ หรือเลนสสําหรับกลองวิว
เราสามารถวัดแสงเปน EV แลวตั้งคา EV ที่ตองการ ล็อคเอาไว จากนั้นเราสามารถปรับชองรับแสงหรือความ
เร็วชัตเตอรไปที่คาใดก็ได โดยคาที่เหลือจะปรับตาม เชน เราปรับชองรับแสง ความเร็วชัตเตอรจะปรับตาม
เพื่อให EV คงเดิม สะดวกในการใชงานมาก
สําหรับการใชงานของมือสมัครเลนกับกลองขนาด 35มม. คา EVมีประโยชนในการดูความสามารถในการวัด
แสงและปรับความชัดของกลอง เชน A สามารถวัดแสงในระบบ spot ไดต่ําสุด EV2 ที่ ISO 100 เลนส 1.4
หมายความวา
1. กลองวัดแสงไดต่ําสุด ½ วินาที f/1.4 หรือ ถาต่ํากวานี้ เชน 2 วินาที f/1.4 กลองอาจจะไมแสดง
คาการเปดรับแสง หรือแสดงใหแตชวงความผิดพลาดอาจจะมากกวาเกณฑที่กําหนดเอาไว
2. หากไปใชเลนสที่มีชองรับแสงกวางสุด f/5.6 ปริมาณแสงที่ตกลงเซลวัดแสงจะลดลง 4EV ทําใหชวงการ
วัดแสงต่ําสุดจะเปลี่ยนเปน EV6 ความสามารถในการวัดแสงในสภาพแสงนอยจะลดลง หากตองการวัดแสง

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1068 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Page 5 of 7

ในสภาพแสงนอย ๆ ควรใชเลนสชองรับแสงกวาง ๆ จะชวยใหสามารถวัดแสงไดดีกวา


3. การเพิ่มความไวแสงฟลมไมไดเปนการเพิ่มแสงที่ตกลงเซลวัดแสง เพียงแคใหกลองสามารถแสดงคาการ
วัดแสงที่อาจจะตกสเกลวัดแสงออกมาไดเทานั้น หรือกลองบางตัวจะไมแสดงคาแสงใหเพราะพนชวงการทํา
งานของเครื่องวัดแสงไปแลว ดังนั้น หากวัดแสงที่ ISO สูง ๆ ในสภาพแสงนอยแลวตองการภาพที่ดีจริง ๆ
ไมมีพลาด ควรถายภาพครอมคาการเปดรับแสงเอาไวดวย
Attached Images

16-12-2004, 06:40 #5
Join Date: Oct 2004
Super Angulon Location: 2,300 Metres above Sea Level
Member Posts: 79

ขอเสริมนิดนะครับ

คา EV จะบอกมาคูกับคา ISO เสมอ ถึงจะแปลงเปนคารูรับแสงกับความเร็วชัตเตอรได ในการวัดแสง หาก


เครื่องวัดแสงบอกเปน EV ไดจะมีประโยชนในแงที่วา การใชระบบโซนในการวัดแสง หรือ การหัดเดาคาแสง
คุณไมจําเปนตองจําคารูรับแสงกับความเร็วชัตเตอร ซึ่งตองจําถึง 2 คา หากจําเปน EV จะจําคาเดียว แลว
คอยมาแปลงดวย กฏ Sunny 16 ซึ่งเทากับ EV 15

ในปจจุบัน ผมวัดแสงดวยเครื่องวัดแสง Pentax Spot ซึ่งบอกคาเปน EV ผมมักชอบเลนเกมสเดาคาแสง


เสมอ คือมองภาพตรงหนาแลวเดาวามันนาจะอานคาได EV เทาไร วิธีนี้เปนการฝกสายตาในการวัดแสง และ
จะเตือนเราวาเซลวัดแสงของเราผิดพลาด/เสียหรือเปลา เชน จากการลองไปเรื่อยๆ ผมพบวา ตอนบายแกๆ
จะวัดแสงได EV13 เสมอ สวนถายทะเลหมอกกอนพระอาทิตยขึ้นตอง EV7-8

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1068 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Page 6 of 7

16-12-2004, 09:34 #6
Join Date: Nov 2004
NguanG. Location: light in shadow
Senior Member Posts: 112

มีประโยชนอีกแลว...

ขอบใจนะ

16-12-2004, 10:27 #7
Join Date: Sep 2004
Location: Nawamint Road
.SiNderella. Posts: 908
Senior Member

อานจบแลว ขอยอยกอนนะครับ แหะๆ

16-12-2004, 14:56 #8
Join Date: Sep 2004
หนูอินคะ Location: ที่วาง
Senior Member Posts: 767

แหงบๆ

16-12-2004, 15:09 #9
Join Date: Oct 2004
Location: At the end of RJ11
pucchio Posts: 1,393
Senior Member

ขออนุญาติ save & print

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1068 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ++++ EV มีประโยชนอยางไร +++++ Page 7 of 7

You may post new threads


You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

All times are GMT +7. The time now is 23:55.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1068 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 1 of 18

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > Digital ClassRoom Name
ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร...? Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Page 1 of 3 1 2 3 >

Thread Tools Search this Thread

23-03-2005, 18:19 #1
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร...?

ผมถูกสอนมาตลอดจากเพื่อนๆ รุนพี่ และ ที่สําคัญคนขาย.. ตั้งแตมีกลองตัวแรก ..(รุนขุนแผน) ...


วา...

ฟลม ISO 100 ซินอง.. ยิ่งแดดจัดๆ.....ภาพจะเนียน...คมกริบเลยหละ...


ถาฟลม ISO 200 เอาไปถายแลว ภาพมันไมคอยเนียน
แตแดดรมหนอยก็ยังพอถายได
...แตก็นั่นแหละ..มันสวยเนี๊ยบสู ฟลม 100 ไมได...

นับตั้งแตนั้นเปนตนมา ผมก็ปกใจวา...

รูป ตอง ISO 100 เทานั้น...สีสดและเนียน..

จนเวลาผานไป จวบจนผมเติบใหญ.... (เลนแบบนิยายเลยนิ..)

ผมก็มารูจักกับ ISO 400 ฟลมไวแสง.... เขาโฆษณาวา....


ถายไดทุกสภาพแสง แสงมากก็ถายได แสงนอย ก็ไมมีปญหามือสั่น หรือภาพไหว..
แลวมันตางกันอยางไร...ผมก็ยังงงอยู......แตวาในชวงที่ ฟลมชนิดนี้ถูกผลิตออกมาขาย..

ผมก็เลิกเลนกลองไปแลวหละครับ...เพราะวา กลองขุนแผนผมมันพังไปตั้งนานแลว...
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 2 of 18

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 3 of 18

Last edited by go_med : 25-03-2005 at 05:05.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 4 of 18

23-03-2005, 18:24 #2
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

จนเมื่อเมื่อไมกี่ปมานี้ กลองดิจิทัล ตัวที่สอง ที่ผมมีอยู


มันมี ฟงคชั่นในการปรับ ISO คาความไวของแสง........?

คา ISO ความไวแสง...ที่อยูในกลองดิจิทัลของคุณ หรือฟลม....


คืออะไร ...? ผมไมสามารถจะอธิบายลงลึกไปในรายละเอียด..ครับ....
เพราะผมยังรูเกี่ยวกับทางดานวิชาการไมมากครับ ...

รูแตเพียงวา...ISO คามาตราฐานตัวนี้ มันเกี่ยวกับ “ความไวของแสง”

โดยปกติเราจะถายภาพโดยปรับคา ISO เอาไวที่ “ISO100”


แตถามวา เราจะใชประโยชนอะไรกับ เจา ISO คาอื่นๆ ที่สูงขึ้นไดบาง.....

ผมขอแยกเปน 2 ประเด็นตามลักษณะของแสงดังนี้ครับ....

23-03-2005, 18:39 #3
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

1) สภาพแสงที่คอนขางนอย

ในสภาพแสงนอย หรือ ภายใตรมเงาหรือภายในอาคาร..


เราใช ISO สูงๆ 400 ,800,1600 เพื่อ...
ถายรูป ในเวลาที่แสงนอยมากๆ....
(ในเวลาที่ไมมี...หรือไมสามารถใชขาตั้งกลองได หรือ ในที่ๆหามใช ไฟแฟลชยิง)
เชนภาพวิวกลางคืนยามเย็นโพลเพล ภาพในอาคาร ในโบสถ หรือ สถานที่ทองเที่ยวบางแหง
สภาพแสงนอย ทําใหกลองตองเปดชัดเตอรรับแสงนานขึ้น...
ดังนั้นถามือคุณไมนิ่ง .... ไดภาพสั่น เบลอ..กลับไปแนนอนครับ...

แทนที่จะไดภาพมืดๆ หรือ ภาพสั่นๆมา...เราก็จะไดภาพที่สวาง คมชัดและสวยงามมาแทน

ยิ่งปรับ ISO สูงมากเทาไหร ชัดเตอรก็จะเร็วมากขึ้นเทานั้น..

อันนี้ตองลองปรับดูครับวา...ปรับISO แคไหนถึงจะพอใจ
แตอยาลืมวา ISO สูง ๆ มันมีผลขางเคียงครับ..

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 5 of 18

1 ภาพแรกทองฟามืด แลว ผมถายใชการปรับกลองที่ ISO100 ซูมนิด หนอยภาพสั่นมากครับ..

2 ภาพที่สอง ลองปรับ ISO สูงขึ้น ...ภาพก็ไมเบลอ ชัดพอรับไดค รับ

3 ภาพสุดทาย ขาตั้งกลองมันใชไมไดครับ..ไมมีที่วาง...
ตองใชมือ เปลาๆถือกลองถาย
มัน เปนทางเลือกสุดทาย ครับ คือ..ISO1600 ภาพไมเนียน แตก็ชัดครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 6 of 18

23-03-2005, 18:48 #4
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

ISO 3200

เปนภาพที่ถายภายใน บอเลี้ยงปลาขนาดยักษ
ที่มีแสงนอยมากๆๆๆๆครับ
ถายิงแฟลช..มัน ก็จะสะทอนกับกระจก..มองไมเห็นครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 7 of 18

23-03-2005, 18:53 #5
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

2 ในสภาพแสงปกติ กลางวัน แดดจัดๆ

2..1 เราใช ISO สูงๆ ในกรณี ถายภาพ ในระยะไกล...(ใช เทเลโฟโต ซูมเลนส)

เพื่อปองกันการภาพสั่นไหว เนื่องจาก “มือไมนิ่ง”

การปรับ ISO สูงๆ จะทําให ความเร็วสปดชัดเตอร "สูงขึ้นกวาปกติ"

ถึงแมวามือจะไมนิ่ง แตก็ไมตองกังวลวา มือจะสั่นภาพจะเบลอครับ...


เพราะวา มานชัดเตอรปดเร็วมากๆ เร็วกวาการสั่นไหวของมือ เราเสียอีก..

2 ภาพนี้ถายในที่รมดวยครับแถมยัง ตองยืดซูมอีก..
พลาดแลวพลาดเลยครับ เพราะวานางแบบไมไดมายืน นานนัก..
ใจรอนมือสั่น ..แสงนอย...ก็ปรับ ISO สูงเอาไวกอน
สปด ชัดเตอรจะไดเร็ว..กวา เดิม..ถายภาพจะไดไ มสั่น ครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 8 of 18

Last edited by go_med : 23-03-2005 at 19:09.

23-03-2005, 19:15 #6
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

2.2 ใช ISO สูงๆ เมื่อตองการ “เพิ่มความเร็วของ Shutter Speed”ใหสูงขึ้นกวาเดิม

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะไร.... Page 9 of 18

ในเวลาที่ตองการถายภาพวัตถุเคลื่อนที่ใหหยุดนิ่ง...

ในสภาพแสงปกติ บางครั้งปรับรูรับแสงใหกวางก็แลว..
ความเร็วของ Shutter Speed ก็อาจจะ ยังเร็วไมพอ

การปรับISO ใหสูงขึ้นก็เปนอีกหนึ่งทางเลือก..
แตขอใหใชเปนอันดับสุดทายนะครับ...
ลองเพิ่มรูรับแสง เสียกอน..ถาไมไดจริงๆ คอย..เพิ่ม ISO ครับ

ภาพนี้ตอนแรกใช ISO 100 แตเด็กโดดน้ํา เร็วมากครับ


สปด ชัดเตอร เร็วไมพอ ผมก็เลยเพิ่ม ISO ชวย
ตอนแรกจะเพิ่มรูรับแสงแทน แตก็กลัวจะหลุด โฟกัสอีก
เพราะรูรับแสงยิ่งกวาง...ฉากหลังจะเบลอ..
จุดโฟกัสที่เด็กดูแลวมันเล็กแลวก็เคลื่อนที่ดวย
ผมก็กลัวกลองมันจับโฟกัสพลาด..
ถากลองโฟกัสพลาด...ก็จบขาวครับ..เด็กจะเบลอฉากหลังจะชัดแทน

ภาพที่สอง เปน ภาพจับวัต ถุเคลื่อนที่เร็วใน ที่แสงนอย


ตามหลัก เราจะตองใชแฟลช แรงๆที่สามารถใหค วามสวาง
อยา งพอเพียง และ เลนสคุณภาพดี
ถาไมมีแฟลชดีๆ ไมมีเลนสส วางๆ...
ทางเลือกสุด ทายก็ต อง ปรับความไวแสง เอาครับ ..
ISO3200 Speed 1/1000
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 10 of 18

Last edited by go_med : 27-03-2005 at 16:35.

23-03-2005, 19:23 #7
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

ภายในกลอง ดิจิทัลทุกๆตัว จะมีฟงคชั่น ในการปรับ ISO ซอนอยูในเมนูปรับแตงกลอง...

การปรับคาISO ทําเพื่อใหกลองมีความไวตอแสงมากขึ้นกวาเดิม
แลวถาจะพูดกันอีกแบบก็คือ
ถึงแมนวาแสงในธรรมชาติจะมีนอย
แตกลองก็สามารถมองเห็นและบันทึกภาพได

ในกรณีที่ถายรูปในสภาพแสงปกติ
เราก็อาจจะปรับกลองใหมี
ความไวตอแสงมากๆได(400-800 หรือ1600 )

แตผลขางเคียงของการใช ISO สูงๆ ก็จะตามมา


ภาพแตก..เปนเม็ด...ๆ

ดังนั้นสิ่งที่อยากจะเนนเรื่องการใช ISO สูงๆถายภาพก็คือ...

ISO 400 – 800 -1600


ความคมชัดของรูปก็จะลดลง ภาพจะมีเม็ดปรากฏ(Noise)
รายละเอียดของภาพจะหยาบ ขึ้นหยาบขึ้น....
ตามลําดับของการตั้งคา ISOที่สูงขึ้น

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 11 of 18

ดังนั้น เราควรที่จะตองถายภาพ มาใหสวางพอดี.....ๆ


ถาถายมาอันเดอร(มืดไป)
เวลาคุณเอามาปรับแตง “เรงแสง” ในคอมพิวเตอร
หรือเวลา ชางที่รานอัดรูปเขาเพิ่มแสงใหรูปคุณสวางขึ้น...
ภาพก็จะแตกเปนเม็ดๆๆ และดูไมชัดไมสวยเลย

ดังนั้นผมคงอยากจะแนะนําวา...

ปรับสีใหสด ปรับคอนทราสใหจัดตามใจคุณชอบ..จากในกลองใหเรียบรอย
(กลองคอมแพ็ค บางรุนปรับแตงไมได)
แลวถายมาใหพอดีๆ...
ถายแลวดูวาสวางพอดีไหม....ถามืดไปก็ถายใหม...
ตองทําใจครับ...ไมมีอะไรดี...สมบรูณ โดยไมมี “Side Effect”( ผลขางเคียง)

สองภาพนี้เรงแสงไมไดเลยครับ
โดยเฉพาะรูปที่สองพอเรงแสงปุบ เม็ดๆ (Noise)มาเพีย บเลยครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 12 of 18

Last edited by go_med : 23-03-2005 at 19:32.

23-03-2005, 19:35 #8

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 13 of 18

Join Date: Sep 2004


go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

ติดทายปลายนวม...

กรณีศึกษา...
ความไวของแสงในแตละกลองไมเทากัน....
ขึ้นอยูกับ

1 ขนาดของ CCD (เซลรับแสงภายในกลอง)


กลองคอมแพ็ค กับกลอง DSLR
ขนาดของ CCD (เซลรับแสง) จะไมเทากัน
ดังนั้น ความไว ตอแสงก็ไมเทากันดวย...

2 ระบบประมวลผลของกลองProcessor & Software วงจรอิเล็คโทรนิคและซอฟแวรโปรแกรม ที่อยู


ภายในกลอง

กลองแตละยี่หอก็จะ มีความตางกัน ในดานประสิทธิภาพดวยเหมือนกัน


ภาพที่ถายได ยี่หอหนึ่ง ก็จะเกิดเม็ด(Noise) นอยกวาอีกยี่หอ
และแมแต ยี่หอเดียวกัน เพียงแตขามรุนขามโมเดล
การเกิดเม็ด(Noise) ก็ตางกัน ถึงแมวา จะตั้ง ISO เอาไว เทากัน
ประสบการณของผม ที่ผานมา ก็เคยเห็นกลอง DSLR (บางยี่หอ)
เวลาถายภาพ ดวย ISO 800 (ในกรณีที่ปริมาณแสงมากพอ)
ถายตอนกลางวันหรือถายชวงเย็น
..เราอาจจะมองไมคอยเห็น เม็ดหรือNoise ภายในภาพเลย

3 ภาพมีเม็ดหรือแตก...มันก็ไมใชผลมาจาก ISO เสมอไป...


การถายภาพในสภาพแสงที่นอยมาก...ปริมาณของแสงที่เขากลองมีนอย..ไป
ถึงแมวาปรับกลองเอาไวที่ ISO 100 แลว... .
ใชขาตั้งกลองกับ เปดชัดเตอรรับแสงแชเอาไวนาน
แตภาพที่ได ก็อาจจะมี Noise เกิดขึ้นไดครับ..
เหมือนกับเราอัดเสียงนกรอง ถาเราไปอัดในเมืองหลวง
เสียงนกเบา เสียงแทรกเยอะ... ถึงแมวาเราจะเอาเทปมาเปด
กับแอมป ขยายเสียง คุณภาพ มันก็จะไมเหมือนกับ
การอัดเสียงนกจากปา หรือ อัดจากหองอัดเสียงแนนอนครับ
ถึงแมวา เครื่องอัดเสียงจะดี หรือ แอมปขยายเสียงจะดี..
มันก็มีสวนบาง..แตสัจจธรรมก็คือ..คุณภาพตนฉบับ ...มาไมดี..
เวลามาขยาย หรือปรับแตง มันก็จะไมสมบรูณ อยางแนนอนครับ

การปรับตั้ง ISO ความไวตอแสงของกลอง แคไหนถึงจะเพียงพอ...


ผมตอบไมไดครับ ...
เพราะวา บางคนชอบ Noise เพราะวาภาพแตกเปนเม็ด..
ในกรณีถายภาพขาวดํา..
เพราะมันดูเหมือนถายภาพดวยฟลม..
บางคนก็ไมชอบ Noise .... เพราะภาพไมเนียน...

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 14 of 18

ก็ลองปรับลองเลนดูนะครับ...
Attached Images

Last edited by go_med : 23-03-2005 at 19:57.

23-03-2005, 19:45 #9
Join Date: Sep 2004
go_med Location: กรุงเทพฯ
Senior Member Posts: 655

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 15 of 18

หวังวาคงจะสนุกกับการปรับ ISO ในกลองของเพื่อนๆนะครับ...


ใครมีภาพ ที่ถายดวยการใช ISO สูงๆ เอามาแจมตอกระทูนี้ไดเลยครับ...
เพื่อนๆจะไดมีภาพกรณีศึกษาตอไปอีกครับ

ขอใหมีความสุขในการถายภาพนะครับ...

เจอกันใหม ... แลวจะเขียนมาเลา สูกันฟงเรื่อยๆครับ

23-03-2005, 20:02 #10


Join Date: Sep 2004
Location: where GMT+4
Grace Posts: 396
Senior Member

มาแลว มาแลว ขอจองที่นั่งแถวหนาคะ คลาสรูมนี้ไมเคยพลาด

ขอบคุณคาบคุงครู แลวมาสอนอีกบอยๆนะคาบ

23-03-2005, 21:22 #11


COCOON Posts: n/a
Guest

แลวกลองยี่หอใหนละครับ

ก็เคยเห็นกลอง DSLR (บางยี่หอ)


เวลาถายภาพ ดวย ISO 800 (ในกรณีที่ปริมาณแสงมากพอ)
ถายตอนกลางวันหรือถายชวงเย็น
..เราอาจจะมองไมคอยเห็น เม็ดหรือNoise ภายในภาพเลย

แลวกลอง DSLR ยี่หอใหนละครับ ครูครับ..ชวยบอกเปนวิทยาทานหนอยครับ..แฮ..(คงไมผิดจรรยาบรรณนะ


ครับ..อิ..อิ) จะไดไวเปนขอมูลเก็บตังซื้อ DSLR อะครับ

23-03-2005, 21:22 #12


Join Date: Mar 2005
Location: Bangkok
arisara_k Posts: 129
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 16 of 18

ไดความรูเยอะเลยคะ ขอบคุณมากนะคะ

23-03-2005, 21:25

เล็ก
Senior Member

Quote:

Originally Posted by COCOON


ก็เคยเห็นกลอง DSLR (บางยี่หอ)
เวลาถายภาพ ดวย ISO 800 (ในกรณีที่ปริมาณแสงมากพอ)
ถายตอนกลางวันหรือถายชวงเย็น
..เราอาจจะมองไมคอยเห็น เม็ดหรือNoise ภายในภาพเลย

แลวกลอง DSLR ยี่หอใหนละครับ ครูครับ..ชวยบอกเปนวิทยาทานหนอยครับ..แฮ..(คงไมผิดจรรยาบรรณนะครับ


ไดไวเปนขอมูลเก็บตังซื้อ DSLR อะครับ

แฮะๆๆ Canon EOS 20D ISO800 มือถือ ไมไดใชขาตั้ง สปด1/8วินาทีครับ


Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 17 of 18

23-03-2005, 21:31 #14


Join Date: Feb 2005
Posts: 93
ton...krab
Member

...ไดความรูเพิ่มอีกแลวเรา
ขอบคุณนามากๆเลยนะครับ .....

23-03-2005, 23:55 #15


Join Date: Sep 2004
Location: ทองหลอ
พุทธา Posts: 130
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - ISO สูงๆ 400, 800, 1600 เอาไวถายอะ... Page 18 of 18

ขอบคุณกับเทคนิคดี ๆ แบบนี้ครับ

Page 1 of 3 1 2 3 >

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

All times are GMT +7. The time now is 00:13.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=2785 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร Page 1 of 6

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > Digital ClassRoom Name
Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Page 1 of 2 1 2 >

Thread Tools Search this Thread

13-11-2005, 20:29 #1
Join Date: Sep 2005
thoon Location: Ubonrajthani
Senior Member Posts: 102

Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร

ผมสงสัยวา Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร แตละประเภทใชงานตางอยางไร ผูรูชวยตอบใหทราบดวย


ครับ

13-11-2005, 21:16 #2
Join Date: Aug 2005
Location: ถายไมคอยเกง แตรักหมดใจ
unpong Posts: 447
Senior Member

เลนส zoom คือเลนสที่มัน zoom ได หรือเรียกวามีหลายทางยาวโฟกัส


ถายไดครอบจักรวาล คลายๆเปดอะครับ

สวนเลน tele คือเลนสที่มีทางยาวโฟกัสสูงๆครับ ไวถายภาพระยะไกลๆเชน สัตว ดวงดาว แอบถาย หรือ


อื่นๆ ครับที่ไมตองการเขาใกล

ตามความเขาใจของผมครับ

13-11-2005, 21:24 #3

caty Join Date: Aug 2005


Member Posts: 43

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=7085 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร Page 2 of 6

ซูมคือในตัวเดียวมีมุมรับภาพจากชวงหนึ่งไปยังอีกชวงหนึ่ง คือยืนถายที่จุดเดียวสามารถดึงภาพขยายภาพที่
จะถายโดยไมตองเดินหนาถอยหลัง
เทเล คือเลนสที่มีทางยาวโฟกัสสูงเพียงคาเดียว มีมุมรับภาพแคบทําใหมองเห็นเหมือนภาพถูกดึงเขามาใกล
(คนชอบเรียกผิดวาซูมเขามา) แตไมสามารถเปลี่ยนขนาดภาพได ถาอยากไดภาพโตขึ้นก็ตองเดินเขาไป
ใกล อยากใหภาพมันกวางขึ้นก็ตองถอยออกมา
ซ^มเนนความสะดวกในการใชงานครับ มีหลายชวงตองเลือกใหถูกงาน เชนชูมที่อยูในชวงมุมกวางอยาง
เดียว(17-35) ชวงมุมกวางถึงเทเล(28-105) หรืออยูในชวงเทเลอยางเดียว(80-200) สวนเทเลเนนการใช
งานที่ตองการคุณภาพสูงกวา

13-11-2005, 22:00 #4
Join Date: Oct 2004
Location: At the end of RJ11
pucchio Posts: 1,648
Senior Member

ขยายความเพิ่มครับ

เลนสซูม คือเลนสที่มีหลายคาทางยาวโฟกัส เชน

10-22mm อันนี้เรียกวา wide zoom คือซูมไดในชวงมุมรับภาพกวางๆ


28-75mm เรียกวา normal zoom คือซูมไดในชวงมุมภาพปานกลาง
80-200mm เรียกวา tele zoom คือซูมไดในชวงไกลๆ ถึงไกลโคดๆ
28-300 mm เรียกภาษาชาวบานวาเลนสซูมครอบจักรวาล เลนสตัวเดียวเที่ยวทั่วโลก เปนตน

เลนสคุณภาพสูงๆ ราคามหาโหดสวนใหญเปนเลนส fix (คือซูมไมได) จําพวก tele ครับ ดังนั้นถาจะหวังผล


ภาพถายจากเลนส tele สวนมาก นาจะใชเลนส fix มากกวาเลนส zoom ครับ
Last edited by pucchio : 13-11-2005 at 22:02.

13-11-2005, 22:08 #5
Join Date: Apr 2005
Location: Bangkok
rDNA Posts: 52
Member

แลวพวกเลนส wide angle หละครับ มันมี spec หรือการเลือกใชตองดูที่อะไร ดูตัวคูณอะไรหรือเปลา

และสวนเวลนส Macro เนี่ย มันชวยในการถาย Macro ไดเยอะไหมครับ และมี spec อะไรบาง

และราคาเลนสทั้งสองอยางเปนยังไงครับ

ชวยทีนะครับ

ขอบคุณครับ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=7085 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร Page 3 of 6

15-11-2005, 13:36 #6
Join Date: Sep 2004
Location: ดาวนพเคราะหสีฟา
หนก บางหลวง Posts: 937
Senior Member

กอนจะบอกวาเลนสเทเลคืออะไร
ก็ควรจะตองทราบนิยามของเลนสnormalกอนนะครับ

เลนสnormalคือเลนสที่มีทัศนมิติ( perspective )เทียบเทากับการมองดวยตาของเรา ซึ่งโดยปกติแลว


เลนสnormalจะมีความยาวโฟกัสเทากับเสนทแยงมุมของimage sensor หรือ film คือ ประมาณ 43mm
เล็กนอย ซึ่งในทางปฏิบัติจริงๆ ผูผลิตเลนสจะผลิตเลนสในความยาวโฟกัส 50 mm ออกมาเปนเลนส
normal ซึ่งก็ยังคงใหทัศนมิติใกลเคียงกับตาของเรา ( เมื่อมองลอดผานชองมองภาพ )

เลนสwide angle จึงเปนเลนสที่มีมุมรับภาพกวางกวาเลนสnormal หรือ ความยาวโฟกัสสั้นกวาเลนส


normalนั่นเอง ในอดีตเลนสwide angle จะผลิตกันออกมาที่ความยาวโฟกัสตางๆเชน 35 ,28 ,24 ,20 ฯลฯ
ซึ่งก็ยังมีอีกหลายคาความยาว เลนสwide angle อาจจะถูกออกแบบสรางจนมีความยาวโฟกัสที่สั้นมากๆ
หรือ อาจจะผลิตจนมีองศาการรับภาพกวางถึง 180องศา ซึ่งจะถูกเรียกวาเลนสตาปลานั่นเอง

สวนเลนส Telephoto ก็จะเปนเลนสที่ตรงกันขามกับเลนสwide angle มุมรับภาพจะแคบลงตามความยาว


โฟกัสที่เพิ่มขึ้น เลนสกลุมนี้เมื่อมองผานชองมองภาพจะใหความรูสึกเหมือนมองผานกลองสองทางไกล ยิ่ง
ความยาวโฟกัสสูงขึ้นเทาไหร ความสามารถในลักษณะของกลองสองทางไกลยิ่งเพิ่มมากขึ้น

ปญหาของเลนสที่กลาวมาขางตนเหลานี้มีเพียงเรื่องเดียวคือเปนเลนสที่มีความยาวโฟกัสตายตัว ซึ่งเขาจะ
เรียกกันวา "Prime Lens" ( ไมใช Fixed lens นะครับ นั่นแปลวาเลนสที่ถูกซอมแซมมา เดวเวลาไปคนตาม
เวปกลอง เวปเลนสจะสงสัยวาเลนส prime มันคืออะหยัง ) เวลาที่จัดองคประกอบของภาพก็อาจจะไม
สะดวก ตองเดินหนา ตองถอยหลัง บางทีก็ถอยหลังไมได เพราะจะตกคลอง เดินหนากไมได เพราะเดี๋ยวจะ
ตกหนาผา แตคุณภาพของเลนสPrime อยูในขั้นที่เรียกวาดี ถึงดีมาก เนื่องจากประกอบดวยชิ้นเลนสไมกี่ชิ้น
จึงออกแบบไดงาย และแกปญหาตางๆไดคอนขางดี ถึงดีมากๆ

จึงมีการผลิตเลนสอีกประเภทหนึ่ง โดยเปนเลนสที่สามารถปรับเปลี่ยนคาระยะความยาวโฟกัสไดนั่นเอง ซึ่ง


นั่นก็คือเลนสZoom การออกแบบเลนสZoomจะเปนเรื่องที่คอนขางยุงยากเอาการ เพราะเลนสจะมีชุดและ
ชิ้นเลนสมากกวาเลนสprime ปญหาของเลนสที่ประกอบดวยชุดและชิ้นมากๆก็ยอมตามมา

ประเภทของเลนสซูมนั้น แตกอนจะเรียกกันตามระยะความยาวโฟกัส เชน


1. Wide angle zoom ซึ่งจะเปนเลนสซูมที่มีชวงความยาวโฟกัสอยูในชวงของเลนสwide เชน 16-35mm
2. wide to normal zoom ก็จะเปนเลนสที่มีชวงความยาวโฟกัสจากชวงของไวด ขึ้นมาถึงชวงของ normal
lens เชน EF22-55mm ของCanon หรือ AF Zoom-Nikkor 24-50mm
3. normal to telephoto zoom ก็จะคลายกับขอ 2 เชน EF 50-200 mm
4. Wide to Telephoto zoom เลนสในกลุมนี้ดูเหมือนวาจะเปนเลนสอเนกประสงคจริงๆ เพราะสามารถ
ครอบคลุมมุมรับภาพในชวงประจําวันไดทั้งหมด ขนาดยอดนิยมกันนั้นก็จะเปน 35-70 , 35-105 , 28-
105 ,24-105 ,28-70 , 24-70 เปนตน จนบางทีก็ถูกเรียกติดปากเปน normal zoom ไปซะเลย
5. Telephoto zoom ชื่อก็บอกอยูในตัวอยูแลวครับ ขนาดยอดฮิตดูเหมือนจะเปน 70-200 ,80-200 กระมัง
สมัยกอนมันเปนเลนสTele zoom ที่เรียกกวา is the must เพราะดูเหมือนจําเปนจะตองมีติดกระเปากลอง
เสมอ

พอมาถึงยุคdigital ฟูเฟอง มุมรับภาพของกลองดิจิทัลจะแคบกวากลองfilm อันเนื่องจากขนาดของimage


sensor ที่เล็กกวาพื้นที่ของฟลม ทําใหมุมในการรับภาพของเลนสที่มองเห็นผานกลองผิดไปจากเดิม ดังนั้น
บางทีเลนส10mm ในกลองCompact Digital ก็อาจจะเปนเลนสTeleไปก็ไดนะครับ จึงตองดูดวยวาเลนสตัว
ไหน ใชกับกลองอะไร

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=7085 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร Page 4 of 6

แคนี้ นาจะพอคลายความของใจของผูตั้งกระทูลงไดบางนะครับ

อยากทราบรายละเอียดกวานี้ แนะนําใหหาโอกาสเขาคอรสอบรมพื้นฐานสักครั้งจะดีไมนอยนะครับ เพราะสิ่ง


ที่เปนปญหาเล็กนอยๆ แบบนี้จะถูกสอนไวทั้งหมด รวมไปถึงสิ่งที่ไมเคยรูมากอนดวย

15-11-2005, 15:10 #7
Join Date: Jan 2005
DoFJerk Location: Bangkok, Pathumthani
Senior Member Posts: 175

กระจางเลยครับ ..

15-11-2005, 15:17 #8

S2Pro Join Date: Oct 2005


Junior Member Posts: 17

สมกะเปนพี่หนก ขอบคุณมากๆครับ

Last edited by S2Pro : 15-11-2005 at 15:18. Reason: พิมพืผิด

15-11-2005, 15:22 #9
Join Date: Sep 2005
Location: => http://iamcafe.multiply.com
cafe Posts: 200
Senior Member

ขอบคุณครับ แอบมาเก็บความรูไปดวย

15-11-2005, 15:46 #10


Join Date: Oct 2005
zkaung Location: Phuket
Junior Member Posts: 17

มันมีความหมายอยางนี้นี่เอง อืม ขอบคุณครับ

16-11-2005, 08:59 #11

Join Date: Aug 2005

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=7085 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร Page 5 of 6

white Flag Location: BKK


Junior Member Posts: 19

ขอบคุณทุกทาน ที่ มาใหความรูครับ เปน ประโยชนอยางมาก แก ขานอย

16-11-2005, 13:24 #12


Join Date: Nov 2004
Location: ที่ไหนดีนออออออ มีใครรับเลี้ยงปะ
bluetear Posts: 109
Senior Member

เก็บ ๆ ความรู

20-11-2005, 21:50 #13


Join Date: Sep 2005
thoon Location: Ubonrajthani
Senior Member Posts: 102

ขอบคุณ

ขอบคุณทุกๆคําตอบ กระจางขึ้นบางแลวครับ

23-11-2005, 09:13 #14

JOOEY Join Date: Jan 2005


Junior Member Posts: 6

ขอบคุณครับ

23-11-2005, 13:25 #15

wisanut Join Date: Oct 2005


Posts: 9
Junior Member

ขอบคุณเชนกันครับ แตวาจะมีการอบรมขั้นพื้นฐานอีกเมื่อไรครับ จะไดลงเรียนดวยคน :P

Page 1 of 2 1 2 >

« Previous Thread | Next Thread »

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=7085 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - Lens Zoom กับTela ตางกันอยางไร Page 6 of 6

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

All times are GMT +7. The time now is 10:39.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=7085 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
#dCe0%Ic C

liceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:lteS:let ÇŸœœ €œ


d7' 8 . "

sl

¾ ÿ kit it 18-55mm
00 f/4 IS USM...
¼ fw - 18mm R017_voo585 55mm 5mm

00 f/4 IS USM..(• 28) 60 f/2.8 mac o USM...a\ ptert

00 f/4 IS USM.. (28-70) WsSiCyl2dN3V3l e I s l


œ 50mm 0)

a\ont eB (70 #55mm) Tamron 90 f/2 8 DI macro... 00 f/4 IS USM..

^^ ^ ãTø 5ø+++J^ h^^Ï ør ›


0mmf ½ ...
e I s l
f t nigp
f 70 ½

¾ ÿ f #55mm(½ ) œ ¼ a\ ptert
a\otneB #dCe0%Ic C e I s l

*** œ ***
œ f 0mm 2¾
- f µh† • Œ>/nvi
-f
WsSiCyl2dN 3V l f ÇŸœœ œ€
70-200 f/2.8
d7' 8 . f Ç oWy\tD8.O\RtWŽ‘8 WsSiCyl2dN V3 18-200
f/3.5-6.3 œ 18mm O f ¾R017_vooRf/3.5 60 f/2.8 mac o USM ..½f ¾R017_vooR
heiFi0 4 200mm 00mmf ;:Pj f/6.3 .3 ...
^^ ^ ãTø 5ø+++J^ h^^Ï rø›
#dCe0%Ic C .3 shutter speed se
...

.3f number Ç o y\tD8.O\RtW8 Ž‘ hutter speed f/2.8 ¾8mm


Tamron 90 f/ 8 DI macro.. f/8 ¾8mm f/22 " ...
<¼ <De

*** o y\tD8.O\R ***


number Canon (f • McSrsA ) AhLTe34EEEEEvPflFr
<¼ <De (" ½anon 5D ÅD 1Ds)...Ç o y\tD8.O\RtW8
efe Ç o y\tD8.O\RtW8‚ Ž‘”—

;:Pj
À
œ sl Tam on 09 f/ 8 DI macr.o . ( œ
^^ ^ ãTø 5ø+++J^ h^^Ï /8 rø›5D D 1Ds)
(Ç o y\tD.8 O\RtW‚8 Ž‘”—¸ÿ dsgot lao: iR0%IK@@ H
" ...
#dCe0%Ic C .....WsSiCyl2dN V3 ...
" <¼ <De
a\otneB Canon (¾1Ds EF-S) liceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:let S:let ... d7' 8 .
sl Ç o y\tD.8 O\RtW8‚ Ž
ÂÌ )
d7' 8 . fF • McSrsA ( ÂÌ Canon)
¾ 1.6 "
( se ...µh† • Œ>/nvi )
d7' 8 . À Ù
50 ½1Ds).. 80 ½anon)
Ç o y\tD8.O\RtW ‚ Ž‘”— crop 60 f/2.8 mac o USM ..
œ Canon a\ont eB 2 #anon
EF...liceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:lteS:lte
EF-S...Tam on 90 f/ 8 DI macro..
nRegisteer Sigma
d ½SigmaÅsf
DG...liceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:lteS:lte
DC...Tam on 90 f/ 8 DI macr.o .
nRegisteer Tamron
d igita.l rgo f/ uor m/furo mdisplay.php?f=21 Å0
DI...liceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:lteS:lte
DI II...Tam on 09 f/ 8 DI macr.o .
"

µh† • Œ>/nvi

- EF-S 18-55 f/3.5-5.6...#dCe0%Ic C


- EF-S 18-55 f/3.5-5.6 IS... 60 f/2.8 mac o USM . Canon 7d ' 8 . .6 I ...
.6 I .. Optic liceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:lteS:lte 4000 18
- EF-S 10-22 f/3.5-4.5 USM...2 Ç \oWy\tD8.O\RtW8
- Sigma 10-20 f/4-5.6 DC HSM...Ç \oWy\tD.8 O\Rt 8‚
¾ EF-S 10-22...Åsf Sigma ¾R017_voRof ÅEF
¾000Canon #anon
- EF 17-40 f/4L USM...2 Ç Wo y\t 8.O\R ‚8 ˆŽ‘”—©
(L Ç Wo y\t 8.O\R 8‚ˆŽ‘”— Canon hut er speed optic
WsSiCyl2dN V3 " )
- EF 16-35 f/2.8L II USM...dsgot la:o iR0%IK@@ Canon ¾ŠÂ 4 Sigma 10

------------------------------------------------------------------------

" ¼5 f/2.8L II USM...

- EF-S 18-55 f/3.5-5.6...Åsf


- EF-S 18-55 f/3.5-5.6 IS... :a\cTccn24R µh† • Œ>/nvi
WsSiCyl2dN V3
- EF 17-40 f/4L USM...Ç Wo y\t .8 O\R 8‚ Ž‘”— ¬¯
EF 17
- Tamron 17-50 f/2.8 DI II...igital.o g/fuor m/fuor m isplay.php?f=21 ½opit c ½optic
e fe ( XÂVŠ )
- Tamron 28-75 f/2.8 DI...Ç Wo y\t 8.O\R 8‚ Ž‘”—
18 (f • McSrs A 17-50 1 1.6 .5 USM...2 28-80 d7' 8 . )
- EF 50 f/1.8...5 f/3. 4 0 /4L USM...2 .6 DC HSM..SLR :a\cTccn24R
\o y\tD.8 O\Rt #dCe0%Ic C (0 f/2.8 DI II...) nRegistere
( 0 ) ½opit c f "Tamron 21.8 igital.o g/forum/four m isplay.php?f=21
- EF-S 17-85 f/4-5.6 IS USM....6 IS... .6 IS...Å f IS 1
½optic Ç\oWy\tD8.O\RtW8Ž‘”—©¬¯ µ¸ÿÁÿ22 0 /4L USM...2
XÂVŠ
- Sigma 18-200 f/3.5-6.3 DC OS..."Tamrno 2 #dCe0%Ic C Sigma
dsgot al :o iR (OS #igma IS Å f Sigma) e fe
1
- EF-S 18-200 f/3.5-5.6 IS...#dCe0%Ic C Canon 60 f/2.8 mac o US .
.6 IS USM.. Sigma #dCe0%Ic C f 1200mm 1 Canon 1f5.6 "Tam no 2
5.6f6.3 1 Sigma 0 4L USM...2 2 6.3
(EF 50 f/1.8... ...¾ compact ½opit c SLR dsgot lao: iR0%IK@@
e I s l µh† • Œ>/nvi
- ¾R017_vooR ... dsgot la : iR0%IK@@ .3 DC OS...
-e I s l ...
½optic sl
- .. ... iÅÅããÏ !!?Å ‡!Å .6 IS..2 ½optic
Åf À-----------------------------------------------------------------------Ù
#igma )
- EF 24-105 f/4L IS USM...3 .6 IS..
- EF 24-70 f/2.8L USM...4 6.3
- EF-S 17-55 f/2.8 IS USM...3 .6 IS..
¼ Canon 17 :a\cTccn24R

------------------------------------------------------------------------

ompact 0 4L USM...2

- EF 75-300 f/4-5.6 USM...6-7 EF 50 f/1.8...


- Sigma 70-300 f/4-5.6 DG macro...6-7 \o y\tD8.O\Rt
17 macro f • McS s A
- EF 70-300 f/4-5.6 IS USM...dsgot la : iR0%IK@@ 70-200 f/4L 6.3
o pact Åf ^^ ^ ãTø 5ø+++J^ h^^Ï rø›75-300 00Sigma 70-
300 il ceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:let S:let
- EF-S 55-250 f/4-5.6 IS...½50 f/4Ç \oWy\t .8 O\RtWŽ8
AhLTe34EEEEEvPflFr
- EF 70-200 f/4L USM...2 "Tam on 2 ½50 f/4 ¼
L ^^ ^ ãTø 5ø+++J^ h^^Ï rø5› f/2.8 DI...
- EF 70-200 f/4L IS USM...3 ¾ 70-200 f4L ÅÐÂ
sl
- EF 70-200 f/2.8L USM...3 ^^ ^ ãTø 5ø+++J^ h^^Ï ør 6.3 ›
- EF 70-200 f/2.8L IS USM...6 6.3 ½50 f/4 nRegistered

------------------------------------------------------------------------

#MMMMM nRegistefre hµ † • Œ>/nvi (½50 f/ 85-135)


hµ † • Œ>/nvi :a\cTccn24R

- EF 50 f/1.8...dsgot la : iR0%IK@@ ...35f 60 f/2.8 mac o US . nRegisteer


#MMMMM
- EF 50 f/1.4 USM...f Tam no 9 f/ 8 DI macr.o . ¼
- Sigma 70-300 f/4-5.6 DG macro...iÅÅããÏ !!?Å ‡!Å
- EF-S 55-250 f/4-5.6 IS... o y\tD8.O\R
- EF 70-300 f/4-5.6 IS USM...iÅÅããÏ !!?Å ‡!Å
- EF 70-200 f/4L USM...5 f/2.8 I.. f4 Ç \oWy\t 8.O\RtW8 L
iÅÅããÏ !!?Å ‡!Å .6 IS.. skin tone EF 50 f/ .4 USM...f
- EF 70-200 f/4L IS USM...00 f4L
- EF 70-200 f/2.8L USM...00 f4L
- EF 70-200 f/2.8L IS USM...#EF 70
- EF 85 f/1.8 USM...Å00 f/2.8 IS USM...6 Portrait Lens 55 #00 f/2.8L IS USM...
"Ta on 2 f ¼ #EF 70igita.l o g/froum/four m isplay.php?f=21
EF 50 f/ .4 SM...f1.6 .6 DG macr.o ..6 136 Ç\oWy\tD.8 O\RtW ***
e fe **
- EF 85 f/1.2L USM...½00 f/f number ½00 f/ ... 00 f/4L USM..f 00 f/4L USM..
Canon ¼ fw - 6 EF 50 f/ .4 M...f

------------------------------------------------------------------------

ano macro numbermacro ano

(liceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:let S:let Ç\oWy\tD8.O\ Wt ‚Ž‘”


acro 20-30cm ¾R017_vooR iÅÅããÏ !!?Å ‡!Å
\o y\tD.8 O\Rt iÅÅããÏ !!?Å ‡!Å
AhLTe34EEEEEvPflFr e I s l .6 IS USM...
Ç\oWy\tD8.O\ Wt ‚
Ç \oWy\tD8.O\ tW ‚Ž‘”— photoshop 60 f/2.8 mac o US .
nRegisteer ) d
- EF 100 f/2.8 macro USM..."hosto hop "hotoshop macro Å00 f/2. IS USM...6
1 ¼ 0.28 EF 50 f .4 M...f ( .6 IS USM... ortait Lens
EF 50 f .4 M...fCarl Zeiss #EF 85 f/1.2L USM...
- EF-S 60 f/2.8 macro USM..."hotoshop sl
¾arl Zeiss 100 macro #EF 85 f/1.2L USM...rotait eL ns 1 00 f/2.8L USM...
(igital.o g/fruo m/fruo m isplay.php?f=21 dsgot la : iR0%IK@@ #EF 58 f/1.2L USM..
e fe igital.o g/fuor m/fuor m isplay.ph ?f=21 nRegistered=1/
nRegisteer d
Ç \oWy\tD8.O\ Wt ‚Ž‘”— ©¬¯ ¸µ ÿÁÿ22Ðo rato it eL ns
¾ ig at l.o g/for m/fro m isplay.ph ?f=21 EF 100 f/2.8 macro USM..
#Vbf perspective e I s l e I s l
e I s l #EF 85 f/1.2L USM.. )
- Tamron 90 f/2.8 DI macro... number 00 f4L EF 50 f .4 M...f Canon
o y\tD8.O\R ( .6 IS USM... ) ¼
"00 macro 1 00 f/4L USM..
- Sigma 70-300 f/4-5.6 DG macro....6 DG mac o... 0.5 00 f4L

:a\cTccn24R

½00 f/...
4EF-S 10-22 .5 Sigma 10-20
"00 macr...
o EF-S 18-55 IS 0cmEF-S 17-85 IS 0cmTamron 17-50 f/2.8
½00 f/4...
#5 IS EF 70-200 f/2.8L ½00 f/ EF-S 55-250 IS
#50 IS...
#50 I EF 70-200 f/2.8L ½00 f/ EF 50 f/1.8 roat it eL ns EF 85
f/1.8
/1.macro...00 f/2.8L USM..EF 100 f2.8 macro

(Ç\oWy\tD.8 O\RtW8 )

..

F 100 f2.8 macro F 50 f/1.8kit Ç\o y\tD.8 O\RtW8…Ž‘”— ½00 f/


Ç \o y\tD.8 O\RtW8 :a\cTccn24 (acr.o . Kit IS #it IS
acro.. )
¾00 f/2.8L ,F 100 f2 8 macr50 f1.8 amron 17 se
E 50 f .4 M...f
"00 macrkit o AhLTe34EEEE vPfFl r compact F 50 f/1.8
F 5 f/1.8 Ç \o y\tD8.O\RtW…8 Ž‘ ¾
(70-300 .6 DG macro.. compact ¾00 f/2.8L 12x 00 f/4 IS USM... )
2x macro \o y\tD.8 O\Rt ompact
½00 f/... il ceS:sOgoeuN S\ mT\eW \els:lteS:let se
¾00 f/2.8L om act kit it 50 f1.8 .6 DG mac o...

½00 f/: it stamp

http://www.rpst-digital.org/forum/forumdisplay.php?f=21
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 1 of 9

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


School > Digital ClassRoom
User Name Remember Me?
Name
RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen สําหรับเอารูปมาลงโชว Password Log in
กันในเว็บกันเถอะ

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Page 1 of 3 1 2 3 >

Thread Tools Search this Thread

13-10-2005, 01:03 #
Join Date: Sep 2004
Location: bkk
RBJ Posts: 1,330
Senior Member

RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen สําหรับเอารูปมาลงโชวกันในเว็บกันเถอะ

หลายๆครั้งที่ตอบไปทั้งในเมลลและหลังไมคนะครับ .... วาทําไม รูปผมหรือเซียนๆหลายๆคนในที่นี้ มันคมบาดใจ


เหลือเกิน ...

วันนี้เอาคําตอบมาฝากครับ .....

ผมจะพูดถึงการทํา sharpen สําหรับเอารูปลงเวบกัน ...

ออ เหนือสิ่งอื่นใด .... ตองตั้งใจและถายใหชัด กอนเปนอันดับแรกนะครับ ...

เพราะถาถายมาเบลอๆ ก็ไมไหวเหมือนกัน ... แหะๆๆ

หลายตอหลายครั้ง ที่เรามั่นใจวา เราถายมาคมมากแลว แตแลวทําไม เวลายอรูปเพื่อโพสต กลายเปนเหมือนเลนส


เราเปนฝาหรือมือสั่นเสียนี่ ... การยอขนาดภาพทุกครั้ง ใน ps นั้น ... จะทําใหสูญเสียความคมของขอบภาพหรือ
สวนตางของแสงและสีไปครับ .... ไมตองรอใหถึงตอนบีบอัดไฟลในกรณี save for web หรอกนะครับ แคยอไป
ความคมก็จะหายไปดวย ...เพราะการยอขนาดภาพ หรือ ลด dimension นั้น ... จํานวนขอมูลก็จะลดลง ... และราย
ละเอียดบางสวนของไฟลจะหายไปดื้อๆครับ ...

และเมื่อเรายอรูปเพื่อเอามาใหเพื่อนๆดูในเว็บนั้น ... อุตสาหซื้อกลอง หก เจ็ด แปด สิบหาลานพิกเซลมาถาย ...


ดั๊น ... ยอแลวไมไดทําชารปเพนเสียนี่ ออกไปยังกะกลองมือถือ มันนาเจ็บใจเสียนี่กระไร จริงไหมครับ ...

ผมจะยกตัวอยางประกอบการสอนไปเรื่อยๆนะครับ ... เริ่มที่รูปนี้

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 2 of 9

รูปนี้ ผมไมไดทําอะไรเลย นอกจากยอมาดื้อๆเลย จาก 4200 pixel เหลือ 700 pixel ....
Attached Images

13-10-2005, 01:12 #
Join Date: Sep 2004
Location: bkk
RBJ Posts: 1,330
Senior Member

เอาละ ...ตอนนี้สวมวิญญาณมารกันไดแวว ....

คนเราเปลี่ยนจากคนดี ไปเปนมารไดไมยาก แคเปดโปรแกรม photoshop เทานั้น

อะโดบี้ อะโดเบี้ยว โฟโตเฟยว โฟโตไฟล เอย โฟโตชอป

หลังจากปรับแสงปรับสีเปนที่พอใจแลว ... ก็ยอรูปเราลงมาครับ .... เหลือสัก 700 pixel กําลังดี สาวๆกรี้ด

แลวก็ไปที่

Filter >>>> sharpen >>>> sharpen ครับ .....

กดไปหนึ่งครั้ง ...ภาพจะคมขึ้น .... ทันที โอจอรช รอยเดียวคุมจริงๆ !!!

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 3 of 9

แลวเราก็เซฟมาโชวไดแลว ....

ดังนี้ ...

คมกวาเดิมนิดๆแลว
Attached Images

13-10-2005, 01:13 #3
Join Date: Sep 2004
Location: bkk
RBJ Posts: 1,330
Senior Member

เทานี้แหละครับ .... จบ

ขอบคุณครับ แหะๆ

13-10-2005, 01:15 #4
Join Date: Mar 2005
Location: >>>>>>> http://kanatex.multiply.com <<<<<<<
kanatex Posts: 1,648
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 4 of 9

กั๊กๆๆๆๆ

13-10-2005, 01:26 #
Join Date: Sep 2004
Location: bkk
RBJ Posts: 1,330
Senior Member

เหย ... ยัง ...

แคนี้จะเปนวิชามารไดไง ....

เรามีวิธีทําใหคมกวาชาวบานครับ ... อยาไปคมแบบบานๆแบบนั้น ... แคนั้นมันเอาไปใชแถวๆพันทิพยได ...แตอยาง


RPST นี่ ตองคมสมๆ เลย ...

ใหลองเปดภาพมาใหมนะครับ .... คราวนี้ ไปที่ image size ยอลงไป โดยลบไปราวๆ 500 pixel...

เชน ถารูปคุณกวาง 3000 ยอลงเหลือ 2500 pixel ..... หลังจากนั้น กด sharpen 1 ครั้ง

หลังจากนั้น ยอภาพลงไปอีก .... ลดลงอีกสัก 500 แลวใส sharpen อีกทีครับ

คราวนี้ ... ลดลงใหเหลือ 1000 pixel .... แลวใส sharpen ไปอีกที ....

คราวนี้ ยอลงไปในไซสที่ตองการ ... คือ 700 pixel

แลวก็ใส ... unsharp mask ครับ ...

สวนใหญผมเลือกไปที่

Amount : 250

Radius : 0.2

อาจจะใสซ้ํา สัก สองครั้งก็ได ถาตองการความคมมากยิ่งขึ้น ....

ผลที่ได ... รูปที่ยกตัวอยางอาจไทเห็นผลชัดเจนนักนะครับ ... แตถารายละเอียดและเสนที่ชัดเจน รับประกันความ


พอใจ คืนเงินไดในสามสิบวันเลย
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 5 of 9

13-10-2005, 01:32

RBJ
Senior Member

ยังมีวิชามารเกี่ยวกับการทํา sharpen อีกหลายลูกเลนครับ ... แบบนั่งทํา unsharp mask แบบนั่งปรับทีละแชแนลก็ได หรือ

นะครับ ...

แลวจะเขียนอีกในตอนตอไป .... ใครอยากไดวิธีทําอะไร ลองเขียนๆไวนะครับ .. ผมจะทําใหการแตงภาพเปนเรื่องที่ตองทําก


มาไมแตงนี่ ... เฮออออ

จริงมั้ยครับคุณคะนา

ปล. แตอยาลืมนะครับ องคประกอบ มุมมอง สายตาคมๆ จําเปนที่สุดในการถายภาพครับ ... ไมใชโฟโตชอปนะครับ


Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 6 of 9

13-10-2005, 08:06 #7
Join Date: Dec 2004
Location: เมืองไทยสิจะ
dust Posts: 2,050
Senior Member

อิอิ จะไดทํารูปคม ๆ กันซาที

13-10-2005, 08:17 #8

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 7 of 9

Join Date: Oct 2004


Location: Chiangmai
nammon Posts: 175
Senior Member

มาเก็บขอมูลครับ..........ขอบคุณกาบบบบบบบบบบบบบบ

13-10-2005, 08:31 #9
Join Date: Jan 2005
DoFJerk Location: Bangkok, Pathumthani
Senior Member Posts: 175

พี่ๆ.. sharpen อยางเดียว #1 ==> #2 งะ ทําไม???สีสวยขึ้นดวยอะ

บอก technic มั่งจิคราบ..

13-10-2005, 08:53 #10


Join Date: May 2005
kom41 Posts: 38
Member

สุดยอดเลย

ขอบคุณมากคราบบบบ

13-10-2005, 10:10 #11


Join Date: May 2005
Location: ลานกรอบรูปบางใหญ
Billy The Kid Posts: 490
Senior Member

ตามมาเก็บความรูดวยคน คมบาดตาเลยคราบบบบ

13-10-2005, 11:14 #12

Join Date: Nov 2004


Location: http://demonqueen.multiply.com
Demon

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 8 of 9

Senior Member Posts: 278

โอย...เลือดออก

ภาพมันบาดตานี่เอง คริ คริ

คมจัดชัดจริงๆเลย
Last edited by Demon : 13-10-2005 at 11:17.

13-10-2005, 12:45 #13


Join Date: Apr 2005
detto Location: Germany
Senior Member Posts: 302

มาเก็บความรูดวยคนนะครับ

13-10-2005, 13:00 #14


Join Date: Mar 2005
DarakaP Location: ปริมณฑล
Junior Member Posts: 13

ชอบ ชอบ Photoshop วันละนิดจิตแจมใส......

ตอไปนี้ภาพเรา สีจะสวยแยววววว......

13-10-2005, 14:04 #15

Why Me. Join Date: Feb 2005


Member Posts: 33

Quote:

ปล. แตอยาลืมนะครับ องคประกอบ มุมมอง สายตาคมๆ จําเปนที่สุดในการถายภาพครับ ... ไมใช


โฟโตชอปนะครับ ...

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - RBJ's วิชามาร ตอนที่ 1 : มาทํา sharpen ... Page 9 of 9

โดนใจขอความนี้มากเลยคราบ

ขอบคุณสําหรับเทคนิควิชามารคราบ

Page 1 of 3 1 2 3 >

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

All times are GMT +7. The time now is 10:40.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6463 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 1 of 8

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > Digital ClassRoom Name
White Balance กับการใชงาน Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Page 1 of 2 1 2 >

Thread Tools Search this Thread

27-09-2004, 13:01 #1
Join Date: Sep 2004
Location: bkk
RBJ Posts: 905
Senior Member

White Balance กับการใชงาน

กอนอื่นตองทําความเขาใจกอนนะครับ วา WB สําหรับกลองดิจิตอลนั้นคือ filter แกสีใหถูกตอง เทา


นั้นเองครับ ซึ่งจะมีหลายแบบ ใหเลือกใชกันครับ ... แตจะแตกตางกันไปในแตละยี่หอ .. ซึ่ง WB เหลานี้จะ
ทําหนาที่แกสีของภาพ ในบรรยากาศตอนเราถายภาพ

เราเห็นแอบเปลสีแดง เพราะ แสงสะทอนจากแอบเปลนั้นวิ่งเขาสูตาเราครับ ... วัตถุที่เราเห็นมีสีอะไร คือ


วัตถุนั้นสะทอนแสงนั้นเขาตาเราครับ .. และในความหมายเดียวกันวัตถุนั้น กอดูดกลืนแสง(สี)ที่เรามองไม
เห็นจากวัตถุนั้นเชนกันครับ

เหมือนสีดํา จะไมสะทอนสีใด แตจะดูดกลืนทุกชวงสี (ผมขออธิบายงายๆวาเปนสี ไมขออางอิงเรืองความ


ยาวคลื่นแสง หรือ การสะทอนแสงนอกเหนือระดับ visible light) นะครับ

โดยปกติแลว แสงอาทิตยที่เราเห็น พอผานปริซึมหรือเมื่อมีการหักเห กออกมาเปนเจ็ดสีนั่นเองครับ (ขอ


เรียกสี แลวกันนะครับ แตจริงๆแลว คือ ชวงความยาวคลื่นที่ตางกัน )

... วงเวียนนี้(รูปดานลาง) กอแสดง สีของแสง ... หรืออุณหภูมิของแสง .... เราจะไดสีของแดด ตางกันไป


ในเวลาที่แตกตางกัน แสงของแดดในแตละวันจะไมเหมือนกัน แลวแตเมฆ แลวแตสภาพพื้นที่ หลายอยาง
ครับ ...

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 2 of 8

แมสีที่ยกมาเปนตัวอยางนั้น ขออธิบายสั้นๆวา RGB หรือ red green blue นั้นเปนแมสีของแสงครับ ... รวม
กันแลวไดสีขาว ..
เปนแมสีของระบบไฟฟา .... ดังนั้นคาที่ถูกตองของสีพวกนี้จึงตองอางอิงจาก สีขาว ..หรือที่เราเรียกวา
white balance นั่นเองครับ ...

เวลาถายรูปกลองจะมี WB มาใหเลือกใชหลายคา เพื่อจะทําใหภาพที่ไดมีสีที่ถูกตอง ตามสภาพแสงที่ผิด


เพี้ยนไป ... เคยถายกลางคืนแลวหนาออกมาเขียวๆหรือแดงสมๆไหมครับ ..

นั่นแหละฮะประเด็นใหญ .... เชนกรณีอยูในหองที่มีหลอดไสแบบเกา เราเรียกวาหลอดทังสเตน ... แสงของ


หลอดไฟทังสเตน เกิดจากความรอนที่ไสหลอด แสงที่ออกมา จะเปนพลังงานที่เกิดจากการกระโดดขามชั้น
ของอิเล็กตรอน ในโมเลกุลของไสหลอด -*-

มันใหแสงที่มีสีที่เราเห็นนั่นแหละครับ งายๆ แหะๆๆ

สีจะออกแนวสมๆ ใชมั้ยครับ คนที่ถูกถายกอจะสมไปดวย WB ในกลองกอเหมือนกับ filter แกสีครับ ทําให


เหมือนใช filter ที่จะใหคาแสงถูกตอง หนาไมสมจนเกินไปครับ โดย เราจะสามารถเลือก filter ไดถูกตอง
จากการ ทราบสภาพแสงครับ ...

แตยกตัวอยางจาก การใชงานจะงายกวา มาดู White balance ของกลองคุณกันนะครับ (เอาสวนใหญ)

อันเเรก ....... รูปพระอาทิตย .......

หมายถึง WB ทีเราควรจะเลือกใชในวันที่มีแดดดีๆครับ ..... แสงจะมีโทนอยูระหวาง Cyan กับ Blue (ดูวง


เวียนสีประกอบนะครับ) ... แดดดีๆเนี่ย UV กอมากถูกมั้ยครับ .... แสง UV จะใหสีฟาอมน้ําเงิน เพราะ
ฉะนั้น... แสงที่ถูกตองที่กลองควรจะจับภาพคือ ตองใส filter ที่มีสีตรงขามกัน กอเหมือนแกทางกันนะเอง
ครับ ..... เพราะฉนั้นสีที่ตรงขามกันกับ UV คือสี ..............ดูวงเวียนครับ

เมื่อเราใช รูปกอจะไมติดโทนน้ําเงินมากนักครับ .... (ลองหาฟลเตอร uv ของกลองฟลมมาดูนะครับ จะเห็น

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 3 of 8

วา มีสีชมพูออนๆ แลวแตยี่หอดวยนะครับ)

มาถึง WB ที่เหลือ

อันที่หนาตาเปนเมฆ ... เราเรียก cloudy ครับ

........ การที่เมฆมากกอเหมือนกับไอน้ําในอากาศมากครับ .. ไอน้ําเหลานี้จะทําหนาที่สะทอนแสงแดดได


อยางดี เปรียบเสมือนพระอาทิตยดวงเล็กๆนั่นเองครับ .... ดังนั้น เทากับวา เหมือนกับเรามีปริมาณ UV เพิ่ม
ขึ้นมามากกวาเดิม ถูกมั้ยครับ ... แสดงวาสีที่เพิ่มขึ้นกอตอง ........

ติดน้ําเงินมากยิ่งขึ้น.......... ดังนั้น WB ที่จะเอามาแกแบบนี้คือ cloudy กอจะตองมีสี ..........ตรงขาม blue


กอคือ สีแดงครับ .... ถาตอนนี้มีกลองในมือกอเอามาเลนไดเลยนะครับ ลองปรับไปที่ WB cloudy ดูนะ
ครับ ... ถาสภาพแสงปกติ จะเห็นไดเลยวารูปจะออกมาสีแดงๆ ... นั่นเปนเพราะเหมือนเราใส filter สีแดง
เขาไปนั่นเองครับ ....

WB คือ การใส filter ใหกลองเพื่อใหไดคาสีที่ถูกตอง ......

อันที่สามเปนรูปหลอดไฟ ... หมายถึง หลอดไส เราเรียก wb แบบนี้วา ทังสเตนครับ

ไฟที่ออกมาจากหลอด สีจะออกสมๆ ถูกมั้ยครับ ...ดังนั้น filter กอจะอยู..............ตรงขาม


คือสี ...............

ดูจากวงเวียนนะครับ .....

เพราะฉนั้นเวลาเราไปอยูในสภาพแสงที่แตกตางกันเรากอจะสามารถเลือก wb ใหถูกตองทําใหเราไดสีที่ถูก
ตองครับ ....

อันสุดทาย ..... หลอดยาว .... คือ หลอดฟลูออเรสเซนตนั่นเองครับผม ....


ที่ใชกันตามบานนั่นแหละครับ
หลอดฟลู นี้ เกิดจากหลักการงายๆคือการทําใหกาซคลอรีนเรืองแสง ... สีของคลอรีน โดยทางเคมีแลวคือสี
เขียวนะครับ ...

ดังนั้นแสงที่ออกมาจะออกเขียวแตตาคนเราอาจะเเยกไมออกครับ ...

ถาแสงอมเขียวดังนั้น filter คือ สี .............

ขอใหสนุกกับการถายภาพครับ

27-09-2004, 13:14 #2
Join Date: Sep 2004
Location: bkk
RBJ Posts: 905
Senior Member

ลิมรูปวงเวียนเลย

เคยประสบปญหา ถายรูปแลวสีมันไมไดอยางใจไหมครับ ถาไมคิดจะหันหนาเขาหาโฟโตช็อบละก็ ..

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 4 of 8

อยากไดสีแปนๆแรดๆ ลองเลนกะ WB ดูนะครับ

WB Fluorescent ...... คาดวาจะรูจักกันหลายคนนะครับ รูจักหลอดฟลูออเรสเซนตไหมครับ นั่นแหละครับ


อันเดียวกัน ... แสงที่ออกมาจากหลอดดูเผินๆก็ขาวนามอง แตคุณรูไหมครับวาแสงมันกวนทีน เพราะหลอด
พวกนี้เกิดจากการเรงไขมันอิ่มตัว เฮยยย เรงอนุภาคของกาซคลอรีน ซึ่งถาใครเรียนเคมีมาจะพบวา เรียนไม
รูเรื่อง เอิ้ก จะพบวา คลอรีน โดยนิสัยแลว จะใหแสงสีเขียวเมื่ออะตอมมีการกระโดดขามวงแหวนพลังงาน
ดังนั้นแสงที่ออกมาจากหลอดฟลูออเรสเซนตนั้น จึงมีแสงสีเขียว จริงๆ ไมเชื่ออยาลบหลู

ดังนั้น WB ที่ที่ที่ที่ที่ที่ (มุขติดอาง ถาแปกก็ขามนะครับ แหะ) ที่กลองใหมานั้น จะจะจะจะจะ (แน เลนอีก)

จะแกไขวัตถุที่อยูภายใตแสงไฟนั้น ถูกตอง โดยจะทําตัวเหมือนใสฟลเตอรแกแสงสีเขียว ซึ่งตามวงเวียนนั้น


สีตรงขามสีเขียว คือ สีชมพู หรือ ออกแนวบานเย็นนิดๆ

ถาเราเลือก WB อันนี้เทากับวาเรามีฟลเตอรสีชมพูมาอันนึงโดยปริตา ............. (แปกมั้ยๆๆ)

ถาเราอยูในสภาพแสงปกติ แลวปรับ WB สีนี้ รูปเราจะอมชมพู เหมือนตอนสาวๆมาหอมแกม ถายพระ


อาทิตยขึ้นหรือตก สวยนักแล คิกๆๆ

ขอเสนอแนะ : อยากได WB หรือ ฟลเตอรสีไร ไมตองเครียด แคจําวงเวียนสีเปนพอ รูปดานลาง WB


ของกลองมันใหสีชมพูไมสะใจผม เลยปรับไปที่ custom WB แลวหา สีเขียวจัดๆ เพื่อเซตคา WB ใหม ยิ่ง
เขียวมากเทาไหร กลองก็จะพยายามเรงฟลเตอรสีตรงขาม (คือชมพู) ใหเขมขึ้นเทานั้น แลวก็ไดภาพนี้มา
ครับ เปน WB แบบสนเทาเพราะไปคัสตอมกะหญาแถวๆสนเทาพอดี คิกๆ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 5 of 8

28-09-2004, 02:21 #3
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,728
Mr.Auto
Senior Member

ใหแอวเปดสอนการทําภาพดีกวา เอาซะหนอยมั้ยแอว

24-01-2005, 10:02 #4

Join Date: Sep 2004

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 6 of 8

go_med Location: กรุงเทพฯ


Senior Member Posts: 655

ตากลองฮาตรึม... เยี่ยมมากๆครับ...
ทีมนี้ ฮาอยางเดียวเลยจริงๆ... ดวย

24-01-2005, 16:09 #5

Baimai Join Date: Dec 2004


Junior Member Posts: 24

อา...รูเรื่อง WB ขึ้นมากเลยครับ ขอบคุณสําหรับความรูที่เขียนมา...มา มา มา มา (ติดอาง...อิอ)ิ ใหอานกัน


นะครับ

24-01-2005, 19:48 #6

gavee Join Date: Jan 2005


Junior Member Posts: 3

เขาทางครับ ขอ save ความรูนะครับ แตรูปสวย ๆผมคงตองถายเอง

02-02-2005, 21:09 #7

fishsoup Join Date: Sep 2004


Junior Member Posts: 12

เก็บใสกระสอบ แบกกลับบานครับ ...ความรูดีดี อีกแยว

02-02-2005, 22:40 #8
Join Date: Jan 2005
Jump Location: Bkk
Senior Member Posts: 1,282

ความรูใหม ดีครับ ขอบคุณครับ

11-02-2005, 13:01 #9

Join Date: Jan 2005

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 7 of 8

Amateur Posts: 28
Junior Member

ขอวงกลมนี้กลับดวยครับ (ที่บานไมมี)

22-02-2005, 11:04 #10


Join Date: Sep 2004
Location: ทองหลอ
พุทธา Posts: 130
Senior Member

ขอบคุณครับกระจางขึ้นอีกเยอะ

05-03-2005, 12:47 #11


Join Date: Feb 2005
Posts: 35
kittipoom4499
Member

เปนความรูใหมที่ดีจริงๆรูปสวยดวย ของลองนําเทคนิกนี้ไปลองใชดูนะครับ

06-03-2005, 12:56 #12


Join Date: Jan 2005
ake7440 Posts: 32
Member

เยี่ยมเลยครับ ไดความรูเพิ่มมากเลย เพิ่งรูนะนี่วา WB เอามาทําเปนฟลเตอรได

12-03-2005, 09:43 #13

nuAng Join Date: Jan 2005


Member Posts: 49

หวา.............เจงเดง เลย ตั้งกะถายมา ใชแบบเดียวเลย รูปพระอาทิคย อะคะ..มินา ไมเคยไดภาพ สีดีดๆ


กะเคาบางเลย -"-

15-03-2005, 20:42 #14

Join Date: Feb 2005

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - White Balance กับการใชงาน Page 8 of 8

Location: Underground
O.M.S.A. Posts: 95
Member

Wb

อาวงี้ก็ไมตองซื้อfilterแลวดิ
แจมมมมมมมมมาก(เลนมั่ง)

20-03-2005, 11:43 #15


Join Date: Mar 2005
T-bone Location: washington DC
Junior Member Posts: 10

you are the best !!! thank you !! mak-mak krab

Page 1 of 2 1 2 >

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

All times are GMT +7. The time now is 00:04.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=287 9/30/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 1 of 13

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > Digital ClassRoom Name
+++ Zen and The Art of Seeing +++ Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Page 1 of 2 1 2 >

Thread Tools Search this Thread

20-10-2004, 05:49 #1
Join Date: Oct 2004
Super Angulon Location: 2,300 Metres above Sea Level
Member Posts: 82

+++ Zen and The Art of Seeing +++

ศิลปะการถายภาพแบบเซน
“All that photography’s program of realism actually implies is the belief that reality is
hidden. And, being hidden, is something to be unveiled.”

Susan Sontag, On Photography

Ansel Adams เคยกลาวไววา ตนเองรูสึกพอใจแลวหากวาสามารถสรางภาพที่ดีไดปละ 12 ภาพ ตัวเลข


จํานวนนี้ดูเหมือนจะเปนการถอมตัวมากสําหรับผูที่ไดชื่อวาเปนศิลปนภาพขาวดําที่ยิ่งใหญที่สุดคนหนึ่ง แต
อยาลืมวาพวกเราสวนมากมักจะผิดหวังกับภาพถายของตัวเองอยูเสมอ โลกภายนอกชางงดงามแตภาพถาย
นั้นกลับตรงกันขาม

มีเหตุผลที่ดีพอที่จะอธิบายความลมเหลวอันนี้ได โดยทั่วไปเราจะถายภาพซับเจ็คที่เปน 3 มิติ และเคลื่อน


ไหวได และเรามองภาพโดยวิธีกวาดสายตาไปมามากกวาจองมองที่จุดใดจุดหนึ่งนิ่งๆ แตสิ่งที่เลนสถายภาพ
สามารถบันทึกไดนั้นเปนเพียงภาพ 2 มิติ ที่ถูกบันทึกในเสี้ยวนาทีหนึ่งดวยฟลมชนิดหนึ่ง ฟลมและตาของ
เราจึงมองภาพไดไมเหมือนกัน การคาดคะเน(Pre-Visualization)ในสิ่งที่ฟลมมองเห็นนั้นไมใชเรื่องงาย และ
ที่ยากกวานั้นก็คือสิ่งที่ Susan Sontag ไดกลาวไว นั่นคือ “ความเปนจริง” ถูกซอนเรนจากสายตาของเรา
ตั้งแตแรกเริ่ม

ทําไมการมองเห็นอยางถองแทนั้นชางยากเย็นนัก สาเหตุมาจากความจริงที่วา เรามองสิ่งตางๆรอบตัวเรา


ดวย “สมอง” มากกวาดวย “สายตา” และเพื่อใหเขาใจเรื่องการมองเห็นเราตองมาทําความเขาใจเรื่องการทํา
งานของสมองเสียกอน
สมองของคนเราแบงเปน 2 ซีก คือสมองซีกซายและสมองซีกขวา โดยทั้งสองซีกถูกเชื่อมตอกันดวยโครง

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 2 of 13

ขายเสนประสาทที่เรียกวา “Corpus Callosum” ซึ่งทําใหสมองทั้งสองซีกสามารถติดตอสื่อสารกันได สมอง


ทั้งสองจะทํางานเปนอิสระตอกัน มีวิธีการคิดและประมวลผลขอมูลแตกตางกันอยางสิ้นเชิง

สมองซีกซาย (L-Mode) จะทําหนาที่เกี่ยวกับภาษาถอยคํา การวิเคราะหคํานวณ การคิด และควบคุมการ


เคลื่อนไหวของรางกายซีกขวา ตอไปนี้เราจะเรียกมันวา “สมองดานเทคนิค” เพราะเราใชสมองซีกนี้จัดการ
ทางดานเทคนิคตางๆที่ใชในการถายภาพ เชนคํานวณคาแสง หาเวลาลางฟลมที่เหมาะสม

สวนสมองซีกขวา (R-Mode) ประมวลผลขอมูลทางดานองครวม การรับรู สัญชาตญาณ จินตนาการ ความ


คิดสรางสรรค และควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกายซีกซาย เราจะเรียกมันวา “สมองดานสรางสรรค”
เพราะมุมมองที่สรางสรรคนั้นเกิดจากสมองซีกนี้

โดยสวนมากสมองทั้งสองซีกจะทํางานแทรกแซงซึ่งกันและกันมากกวาที่จะทํางานเสริมกัน สมองซีกหนึ่งมัก
จะโดดเดนกวาอีกซีกหนึ่งเสมอ และสวนใหญสมองดานเทคนิคจะโดดเดนกวาดานสรางสรรค ซึ่งเปนผลมา
จากวัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลแผขยายไปทั่วโลก (หมายถึงทัศนคติแบบไอแซค นิวตัน ซึ่งเปนแนวคิด
แบบแยกสวน เปนกลไก และเปนรากฐานของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ผูสนใจสามารถอานเพิ่มเติมไดจาก
หนังสือชื่อ “จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ” โดย ฟริตจอฟ คาปรา สํานักพิมพโกมล คีมทอง เปนผูพิมพฉบับภาษา
ไทย – ผูเรียบเรียง)
Attached Images

20-10-2004, 05:54 #2

Join Date: Oct 2004


Location: 2,300 Metres above Sea Level
Super Angulon

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 3 of 13

Member Posts: 82

สังคมตะวันตกจะใหความสําคัญกับระบบเหตุผล และการวิเคราะหคํานวณมากกวาสัญชาตญาณ ความรูสึก


นึกคิด และเรื่องทางจิตวิญญาณ นักวิทยาศาสตรจะสนใจเฉพาะสิ่งที่สามารถวัดออกมาเปนปริมาณไดเทานั้น
เรื่องราวทางดานอารมณ ความรูสึกนึกคิด และจิตวิญญาณจึงถือวาไมเปนวิทยาศาสตรเพราะไมสามารถวัด
ปริมาณออกมาไดและเปนเรื่องที่ไมแนนอนซึ่งขึ้นอยูกับประสบการณของแตละบุคคล หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง
คือสังคมตะวันตกจะใหความสําคัญกับสมองดานเทคนิคมากกวาดานสรางสรรค นั่นเปนเรื่องนาเศราเพราะมี
บอยครั้งที่สมองดานสรางสรรคสามารถแกปญหาที่ซับซอนไดดีกวาสมองดานเทคนิค มีเรื่องราวมากมาย
เกี่ยวกับการที่นักวิทยาศาสตรสามารถแกปญหาหรือสมการทางคณิตศาสตรในขณะกําลังฝน ทําสมาธิ หรือ
เดินเลนตามชายหาด คําตอบมักจะเขามาในหัวของเขาเองโดยที่เขาไมไดคิดถึงปญหานั้นๆเลยดวยซ้ํา

และดวยเหตุวาสังคมไทยไดละทิ้งภูมิปญญาตะวันออก และหันไปตามกนฝรั่งกันหมด จึงทําใหวิธีคิดแบบ


ตะวันตกดังกลาวแทรกซึมอยูในตัวเรา โดยแมกระทั่งตัวเราเองก็อาจจะไมรูที่มาที่ไป ระบบการศึกษาใน
โรงเรียน(ซึ่งเปนผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมเชนกัน)ก็ไมไดสงเสริมใหมีการแกไขปญหาอยางสราง
สรรคเลย

นักวิทยาศาสตรคนพบวาสมองดานเทคนิคนั้นมักจะตีตราสิ่งตางๆออกมาเปนถอยคําเสมอ (“ชอน”, “โตะ”,


“ปากกา”) ในขณะที่สมองดานสรางสรรคจะไมสามารถบอกชื่อของสิ่งตางๆได แตสามารถบงบอกลักษณะ
รายละเอียดของสิ่งตางๆได

ตัวอยางการทํางานของสมองทั้งสองดานก็เชน ในโรงเรียนเราเรียนวิชาพฤกษศาสตร เรียนการจําแนกแยก


แยะพืชตางๆโดยดูจากลักษณะพื้นฐานของพืชนั้นๆแลวใหชื่อมันตามสกุล ตามวงศ นั่นคือเราพากันตั้งชื่อให
พืชตางๆแลวก็ลืม “ความเปนพืช” ชนิดนั้นไป สมองดานเทคนิคไมไดสนใจวาพืชชนิดนั้นมีรูปรางหนาตาหรือ
ลักษณะเดนเปนอยางไร เพราะมันรูจักพืชชนิดนั้นแลว(โดยการตั้งชื่อ - มันสามารถเรียกชื่อพืชชนิดนั้นถูก
ตองก็แสดงวามันรูจักพืชชนิดนั้นแลว) สวนสมองดานสรางสรรคนั้นจะรูถึงลักษณะรายละเอียดของพืชชนิด
ตางๆดี แตมันก็ถูกสมองดานเทคนิคครอบงําเอาเสีย จึงทํางานไดไมเต็มที่

การถายภาพ การวาดภาพ และดนตรี จะเกี่ยวของอยูกับการรับรู ความคิดสรางสรรค และการจัดการทางดาน


รูปแบบเพื่อใหผลลัพธที่ไดสามารถตอบสนองอารมณความรูสึกของศิลปนได นั่นคือศิลปะเปนเรื่องราวของ
สมองดานสรางสรรคเสียสวนมาก โดยใชสมองดานเทคนิคเพียงเล็กนอย เปนที่นาสังเกตวาศิลปนถายภาพ
ดังๆ หลายทานก็มีพื้นฐานทางดานดนตรีมากอน ไมวาจะเปน Ansel Adams หรือ Ernst Haas

สาเหตุที่พวกเราสวนมากไมเคยเขาถึง “ความเปนจริง” ตามที่ Susan Sontag ไดกลาวไว สามารถแจกแจง


ไดดังนี้

1. เรา “มอง” ดวยสมอง(ดานเทคนิค)มากกวาดวยสายตา


2. สิ่งที่เราคาดหวังวาจะไดเห็นถูกใหความสําคัญมากกวาลักษณะของซับเจ็คที่เปนอยูจริงๆ
3. เรามักจะคิดวาเรารูจักบางสิ่งบางอยางในทันทีที่เราตั้งชื่อใหกับมัน Kozloski บอกวา “ภาษานั้นแยก
มนุษยออกจากความเปนจริง”
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 4 of 13

20-10-2004, 05:58 #3
Join Date: Oct 2004
Super Angulon Location: 2,300 Metres above Sea Level
Member Posts: 82

เราจะทําใหสมองดานสรางสรรคโดดเดนขึ้นมาไดอยางไร? เราจะเขาถึง “ความเปนจริง” ไดอยางไร? เราจะ


สามารถเลือกใชสมองทั้งสองดานตามที่ตองการไดหรือไม? เราลองมาฟงคําแนะนําของบุคคลที่ไดชื่อวามี
ความคิดสรางสรรคยอดเยี่ยมกันกอน

#Andrew Wyeth: “ผมอยากใหตัวเองสามารถวาดภาพไดโดยไมมีตัวผมอยู ใหมีแตมือของผมอยูตรงนั้น


ก็พอ”

#Minor White: “จิตใจของชางภาพขณะที่กําลังถายภาพนั้นตองวางเปลา คุณตองดําดิ่งเขาไปอยูในทุก


สิ่งทุกอยางที่คุณเห็นเพื่อที่คุณจะไดรูจักและเขาถึงสิ่งนั้นอยางแทจริง”

#Richard Hittleman: “จะไมมีสิ่งที่ถูกเห็นและผูที่มองเห็นมัน ทั้งสองสิ่งนี้เปนหนึ่งเดียวกัน”

# Susan Sontag: “Cartier-Bresson มักคิดวาตัวเองเปนนักยิงธนูแบบเซนผูซึ่งจะตองทําตัวเปนเปาเพื่อ


จะยิงใหถูกเปา คุณตองคิดกอนหรือหลังจากที่คุณกําลังถายภาพ ไมใชคิดขณะถายภาพ”

#Henri Cartier-Bresson: “ผมพบวาคุณตองทําตัวใหพลิ้วเหมือนปลาในน้ํา คุณตองลืมตัวเองเสีย แน

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 5 of 13

นอนวามันตองใชเวลา การวาดภาพนั้นทําไดชา แตมันก็เหมือนกับการทําสมาธิในแงที่วาคุณตองเรียนรูที่จะ


ทําอยางชาๆเพื่อที่จะไปอยางรวดเร็ว ความชาอาจหมายถึงความยิ่งใหญได”

#Wynn Bullock: “ผมไมตองการบอกวาตนไมมีลักษณะเชนไร ผมตองการใหมันบอกบางสิ่งแกผม และ


ใหมันแสดงถึงความหมายของมันในธรรมชาติผานทางตัวผม”

#Ernst Haas: “I am not interested in shooting new things – I am interested to see things new.

#Paul Strand: “สําหรับคนที่สามารถมองเห็นไดอยางแทจริงแลว ภาพถายของเขาก็เปรียบเหมือนบันทึก


ชีวิตของตัวเขาเอง คุณอาจจะมองเห็นหรือไดรับอิทธิพลจากผูอื่น หรือแมกระทั่งอาศัยผูอื่นในการคนหาตัว
เอง แตถึงที่สุดแลวคุณก็ตองเปนอิสระจากคนเหลานั้น เหมือนกับที่ Nietzscheไดพูดวา “ผมไดอานหนังสือ
ของ Schopenhauer จบแลว และถึงเวลาแลวที่ผมตองกําจัดเขาออกไป” เขารูดีถึงอันตรายที่แฝงอยูใน
ความคิดเห็นของผูอื่นโดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่มีประสบการณที่ลึกซึ้งถาคุณปลอยใหเขาเหลานั้นมาคั่นกลาง
ระหวางตัวคุณและมุมมองของคุณ ”
Attached Images

20-10-2004, 06:01 #4
Join Date: Oct 2004
Super Angulon Location: 2,300 Metres above Sea Level
Member Posts: 82

แลวก็มาถึงปญหาที่ยากกวานั่นคือ เราจะเอาเทคนิคและความคิดสรางสรรคในการถายภาพมารวมกันได
อยางไร ผมพบวาวิธีที่ดีที่สุดคือ การทําความเขาใจเทคนิคการถายภาพใหถองแท เพื่อวาเราจะไดไมตอง
อาศัยสมองดานเทคนิคขณะถายภาพมากนัก ผมขอเสนอวิธีการดังนี้

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 6 of 13

1. อยาพูดคุยขณะถายภาพ ถาเปนไปไดใหออกถายภาพคนเดียวตามลําพัง

2. มองฉากหลังของภาพใหเปนรูปรางที่อยูรอบๆซับเจ็ค และใหความสนใจกับรูปรางของเงาใน
ภาพเปนพิเศษ สมองดานเทคนิคจะเบื่อกับการมองเชนนี้ และจะปลอยใหคุณอยูกับสมองดานสราง
สรรคตามลําพัง

3. อยาคิดในขณะถายภาพ ปลอยใหจิตใจของคุณวางเปลาและซึมซับกับซับเจ็คของคุณใหมากที่
สุด

4. และเพราะวาสมองดานสรางสรรคควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกายซีกซาย ฉะนั้นพยายามถือ
กลองหรือสายลั่นชัตเตอรดวยมือซาย

5. สมองดานเทคนิคจะรูสึกสับสนกับภาพสะทอน เชนภาพสะทอนผิวน้ําหรือสะทอนกระจก เพราะ


ฉะนั้นถาเปนไปไดใชภาพสะทอนเหลานี้ใหเปนประโยชน

6. ฝกทําสมาธิเพื่อทําใหจิตใจสงบและทําใหจิตใจแนวแน

7. พยายามศึกษาและชมภาพวาดหรือภาพถายของศิลปนที่คุณชื่นชอบหรือที่มีชื่อเสียง โดย
เฉพาะผูที่มีสมองซีกขวาทํางานไดยอดเยี่ยม (สมองดานความคิดสรางสรรค)

8. พยายามใชการอุปมาอุปไมยในการสื่อความหมาย เชน การเลียนแบบกิริยาทาทางของมนุษย


ในสัตวบางประเภท การใชดอกทานตะวันแทนพระอาทิตยขึ้น (Edward Weston ชํานาญมากใน
การถายภาพลักษณะนี้)

9. ตองมีความอดทน ในขณะที่คุณขับรถหรือนั่งในรถคุณจะพลาดภาพที่ดีไปมาก แตถาคุณเดิน


คุณจะมีโอกาสพบภาพที่ดีมากกวา

10. พยายามฝกฝนเรื่องทางดานเทคนิคตางๆใหคุณคุนเคยกับมันจนกระทั่งสามารถทํามันไดอยาง
รวดเร็ว ทําทุกอยางดวยวิธีการเดียวกันตามลําดับขั้นตอนที่แนนอน และฝกจนคุณสามารถทํามัน
ไดโดยไมตองใชความคิด ตัวอยางเชน ผมจะวัดแสง, ขึ้นชัตเตอร, ตั้งคารูรับแสงและความเร็ว
ชัตเตอร, ใสโฮลเดอรฟลม, ดึงแผนสไลดกั้นแสงออก, กดชัตเตอร, ใสแผนสไลดกลับที่เดิม ทํา
เชนนี้ทุกครั้งจนกลายเปนเรื่องอัตโนมัติ และเมื่อถึงเวลาที่ตองใชความคิดสรางสรรคคุณก็จะจดจอ
อยูกับมันมากกวาที่จะมัวคิดเรื่องวิธีการใชอุปกรณ

11. ใชกลองวิวถายภาพ การมองเห็นภาพหัวกลับนั้นชวยคุณไดจริงๆ เพราะมันจะทําใหสมองดาน


เทคนิคทํางานไดไมดี (Ansel Adams เคยกลาวถึงขอดีขอนี้ของกลองวิวดวย และHenry Cartier
Bresson ไดใชปริซึมติดเพิ่มเขาไปในกลอง35mm เพื่อจะไดมองเปนภาพหัวกลับ)

12. ถายภาพใหชาลง ทําทุกอยางที่จําเปนเพื่อใหสมองดานสรางสรรคทํางานไดดีขึ้น มองภาพที่


คุณจะถายในรูปของ Tone Shape และ Space

13. ปลอยใหสมองดานสรางสรรคทํางานจนกระทั่งรูสึกวาภาพนั้นจัดองคประกอบดีแลว ตัวคุณจะรู


เองวาภาพนั้นดีพอหรือยัง และความเรนลับก็จะเกิดขึ้นเมื่อทุกสิ่งทุกอยางมาบรรจบกัน มันเปนเรื่อง
ทางจิตวิญญาณมากกวาที่จะบรรยายออกมาเปนภาษาได

14. หลังจากนั้นก็ไมใชเรื่องยาก เปลี่ยนมาใชสมองดานเทคนิคชั่วคราว วัดแสง, ขึ้นชัตเตอร, ตั้ง


คารูรับแสงและความเร็วชัตเตอร, ใสโฮลเดอรฟลม, ดึงแผนสไลดกั้นแสงออก, กดชัตเตอร

สําหรับผูใชกลอง 35mm นาจะสังเกตเอาไววา เดี๋ยวนี้บรรดามืออาชีพหันมาใชกลองที่มีระบบบันทึกภาพ


แบบอัตโนมัติมากขึ้น เพราะทําใหเขาไมจําเปนตองคิดมากเรื่องคาแสง เขาปลอยใหกลองจัดการกับเรื่อง
เทคนิคตางๆเพื่อตัวเองจะไดมีเวลาสนใจกับภาพมากขึ้น

ผมเชื่อเหลือเกินวา การทําใหสมองซีกขวาใชงานไดดีขึ้นจะเปนการเปดมิติใหมๆในการถายภาพของคุณ
และถาคุณโชคดีและมีพรสวรรคเพียงพอ ความคิดสรางสรรคจะชวยเชื่อมโยงระหวางจิตใจ ความรูสึก

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 7 of 13

ประสบการณ และความมีเอกลักษณเฉพาะตัวของคุณใหปรากฏออกมาในภาพถายดวย
Attached Images

20-10-2004, 06:05
Join Date: Oct 2004
Super Angulon Location: 2,300 Metres above
Member Posts: 82

+++เพิ่มเติม+++

รายชื่อศิลปนที่ถนัดมือซาย(ซึ่งเขาใจวาเปนผูที่สมองซีกขวาทํางานไดดี) เชน Chalie Chaplin, Albert Einstein, Paul McC


Cole Porter, Benjamin Franklin

มีอีกความสามารถหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงความสามารถของสมองซีกขวาคือ การเขียนอักษรแบบที่เรียกวา Mirror Writing


เขียนแบบกลับซาย-ขวา และเริ่มเขียนจาก ขวาไปซาย ซึ่งหากเอากระจกเงาสะทอนตัวหนังสือเหลานี้แลวจึงจะมองเห็นแบบ
เราคุนเคยกัน (ดูภาพประกอบ) และที่นาสนใจคือ ศิลปนที่มีชื่อเสียงทางดานการเขียนตัวหนังสือแบบ Mirror Writing
Leonardo Da Vinci และอีกคนที่มีชื่อเสียงเหมือนกันก็คือ Lewis Carroll ผูแตงเรื่อง Alice’s Adventures in Wonderland

วิธีการตรวจสอบวาคุณรูจักอุปกรณถายภาพของคุณดีพอจนกระทั่งสามารถสั่งงานมันไดดวยสัญชาตญาณหรือยัง
ตัวคุณเองดวยคําถามเหลานี้…

1. เลนสที่คุณใชอยูมีทิศทางการปรับโฟกัสไปทางใด ทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกา
2. วงแหวนปรับรูรับแสงและความเร็วชัตเตอร หมุนไปในทิศทางใด หากตองการใหภาพอันเดอรลง
3. ในกรณีที่เปนกลองฟลม ระบบการวัดแสงของคุณโอเวอรหรืออันเดอรกวาที่ควรจะเปนเทาไร
4. คุณสามารถปรับปุมตางๆในกลองไดคลองขนาดไหน ตองใชสายตาดูมันทุกครั้งหรือไม
5. คุณใชเวลานานเทาไรในการกางขาตั้งกลองใหไดระดับ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 8 of 13

6. คุณวางอุปกรณตางๆ ในกระเปากลองในตําแหนงเดิมทุกครั้งหรือไม หรือคุณใชเวลาคนหาฟลเตอรโพลาไรซที่ซุกอยูขาง


เพียงใด

คุณตอบคําถามเหลานี้ไดโดยไมตองใชเวลาคิดนานหรือเปลา นี่เปนเรื่องทางเทคนิคที่คุณตองไมเสียเวลากับมันมาก
ดานสรางสรรคทํางานไดเต็มที่

มีการทดลองหนึ่งเกี่ยวกับภาพหัวกลับที่ทําใหสมองซีกซายงงไปเลย คือ Betty Edwards ไดใหนักศึกษามหาวิทยาลัยคนห


วาดภาพลายเสนผลงานของปกัสโซ โดยวันแรกวางภาพตนฉบับตามปกติแลวนักศึกษาวาดตาม สวนวันตอมาเปลี่ยนการวาง
ฉบับเปนกลับหัวแทนแลวใหนักศึกษาคนเดิมวาดอีก ผลที่ไดดูตามรูปประกอบไดเลย ทดลองกับตัวเองก็ไดครับ
Attached Images

20-10-2004, 06:09 #6
Join Date: Oct 2004
Super Angulon Location: 2,300 Metres above Sea Level
Member Posts: 82

+++ขอมูลประกอบการเขียนบทความ+++

1. “Zen And The Art Of Seeing” โดย Roy Bishop, นิตยสาร Photographic ฉบับ September 1992
2. “Drawing On The Right Side Of The Brain” โดย Bruce Barlow, Zone VI Newsletter No.48

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 9 of 13

3. “The New Drawing On The Right Side Of The Brain” โดย Betty Edwards
4. “Tao of Photography” โดย Philippe L. Gross
5. “God Is At Eye Level” โดย Jan Phillips
6. “On Being A Photographer” โดย David Hurn/Magnum and Bill Jay
7. “On Photography” โดย Susan Sontag

บทความชิ้นนี้ ผมเรียบเรียงขึ้นเมื่อประมาณปพ .ศ. 2538 เขียนลงพิมพในนิตยสารถายภาพฉบับหนึ่ง และมา


แกไขเพิ่มเติมอีกครั้งในปพ.ศ. 2547 มีบทความในรูปแบบไฟล PDF ผูสนใจสามารถติดตอไดที่พี่โกะ
Attached Images

20-10-2004, 08:59 #7
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,782
Mr.Auto
Senior Member

เยี่ยมมากเลย
อานแลวนึกถึงตัวเอง รูวายังขาดอะไรไปอีกหลายอยาง
ตองปรับปรุงโดยดวน

เห็นรูปของ Edword Weston ที่ไร ฮือๆๆๆๆๆๆๆ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 10 of 13

ทําไมมันสวยอยางนี้ฟะ

สงสัยเวลาถายภาพมาโคร ตองเชิญวิญญาณ Edword Weston มาสิงรางสักหนอย จะไดถายรูปไดสวยๆ


แบบนั้นบาง

ขอบคุณมากคราบบบบบบ

20-10-2004, 10:56 #8

หนุม Young Zone Join Date: Sep 2004


Senior Member Posts: 1,052

เปนบทความที่ดีมากๆ เลยครับ
ขอบคุณที่สรรหามาใหพวกเราไดอานกัน

20-10-2004, 11:03 #9
Join Date: Sep 2004
ลําดวน Posts: 832
Member

เยี่ยมจิงๆ คา

20-10-2004, 11:23 #10


Join Date: Oct 2004
salapao Posts: 122
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 11 of 13

20-10-2004, 20:10 #11


Join Date: Sep 2004
Killer Queen Location: ณ ถนนพระอาทิตย
Senior Member Posts: 434

หนูเคยไดรับบทความนี้จากพี่ super angulon กอนหนานี้หลายปแลวคะ


อานทีไร ก็มีอะไรใหม ๆ ใหกับตัวเองทุกที

ขอบคุณที่เอามาแบงปนอีกครั้ง

20-10-2004, 22:59 #12


Join Date: Sep 2004
Location: ใตสมุด
ChuVeeDoo Posts: 661
Senior Member

ถูกใจ เจง ผมเองก็ ชอบ อานชอบฟง ที่สอน ใหคิด ฝกสมาธิ นะครับ


สงสัยตองฝกลากเมาส มือซาย หรือ วาดรูป สองมือใหมัน สมมาตร กัน อะ ปาวคับ

20-10-2004, 23:50 #13


Join Date: Sep 2004
Posts: 1,687
kobee
Senior Member

สุดยอด

21-10-2004, 07:13 #14


Join Date: Oct 2004
Super Angulon Location: 2,300 Metres above Sea Level
Member Posts: 82

Quote:

สงสัยเวลาถายภาพมาโคร ตองเชิญวิญญาณ Edword Weston มาสิงรางสักหนอย จะไดถายรูปได


สวยๆ แบบนั้นบาง

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 12 of 13

Edward Weston เสียชีวิตเมื่อป 1958 ดวยโรค Parkinson โดยชีวิตสวนตัวเปนคนเจาชูมาก ซึ่งเดาวาหาก


แกเลือกได คงอยากสิงสถิตอยูในรางของคุณ Killer Queen มากกวา

21-10-2004, 09:48 #15


Join Date: Sep 2004
Posts: 2,782
Mr.Auto
Senior Member

Quote:

Originally Posted by Super Angulon


Edward Weston เสียชีวิตเมื่อป 1958 ดวยโรค Parkinson โดยชีวิตสวนตัวเปนคนเจาชูมาก ซึ่ง
เดาวาหากแกเลือกได คงอยากสิงสถิตอยูในรางของคุณ Killer Queen มากกวา

งั้นเหมาะกับเจาชุมมากกวาจริงๆ กากๆๆๆๆๆ
มีใครตายคาอกแลวถายภาพเกงๆ บางมะ จะเชิญวิญญาณมาเขาสิงเวลาถายภาพ ฮิฮิฮิ

Page 1 of 2 1 2 >

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

All times are GMT +7. The time now is 10:09.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - +++ Zen and The Art of Seeing +++ Page 13 of 13

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=638 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 1 of 13

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > Digital ClassRoom Name
@@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพมาโคร @@@ Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Page 1 of 2 1 2 >

Thread Tools Search this Thread

30-10-2004, 15:17 #1
Join Date: Sep 2004
Posts: 1,682
kobee
Senior Member

@@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพมาโคร @@@

ในการถายภาพมาโคร จําพวก แมลง ดอกไม เห็ดปาตางๆ


นอกจาก subject ที่เราจะตองทําใหมันดูนาสนใจทั้งดวยตัวของมันเอง
กับการจัดองคประกอบเลือกวางตําแหนงในภาพแลว
ฉากหลังก็นับวาเปนสิ่งที่จะเสริมเติมความสมบูรณของภาพ ชนิดที่เรามองขามไมไดเลย

หลายๆภาพมีsubjectที่ลงตัวมาก ขาดอยูที่ฉากหลังที่ไมสามารถขับความโดดเดนของsubjectไดอยางเต็ม
ที่เทานั้นเอง

วิธีการทําใหฉากหลัง ไมใหมารบกวนกับsubjecหรือใหรบกวนนอยที่สุดtนั้น มีอยูหลายวิธี แตวิธีงายที่สุดที่


ใชกันอยูเปนประจําในการถายภาพแทบจะทุกประเภท
นั่นก็คือการทําใหเบลอไงครับ ...

การเลือกใชรูรับแสงใหกวางที่สุด ทิ้งฉากหลังออกไปใหไกลใหมากที่สุด
เขาใกลsubject ใหไดมากที่สุด เหลานี้ลวนแตเปนวิธีการเบื้องตนที่จะละลายฉากหลังไดครับ

กลองทุกตัวที่สามารถปรับระบบพื้นฐานเชนปรับรูรับแสงได หรืออยางนอยก็มีโหมดมาโครใหเลือกใช
ก็นาจะสามารถถายในลักษณะนี้ไดนะครับ ขอเพียงแตเราเลือกมุมที่เหมาะสมเทานั้นเอง

รูปตัวอยางพวกนี้ผมใชกลอง Nikon CP4500ตัวเล็กๆถาย ปรับไปที่โหมดมาโคร เดินวนไปวนมา เลือกดูมุม


ที่คิดวามีฉากหลังทิ้งหางออกไปมากที่สุด แลวก็ถายแบบงายๆเลยครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 2 of 13

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 3 of 13

30-10-2004, 15:18 #2

Join Date: Sep 2004


Posts: 1,682
kobee

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 4 of 13

Senior Member

อีกวีธีที่จะสามารถควบคุมฉากหลังได ก็คือการใชแสง(lighting) ควบคุมครับ

สภาพแสงที่subjectกับฉากหลังตางกันมากกวา1.5-2 สตอป อธิบายงายๆก็คือ subject สวางกวาฉากหลัง


มากๆ
หรือใหงายเขาไปอีกก็คือ subjectอยูที่สวาง ฉากหลังอยูในที่มืดนั่นแหละครับ

ถาเจอสภาพแสงแบบนี้ก็สบายเลยครับ เลือกวัดแสงไปที่subject หมุนกลองใหฉากหลังอยูในสวนมืดๆ เราก็


จะไดรูปหลังดําๆแลว
Attached Images

30-10-2004, 15:20 #3
Join Date: Sep 2004
Posts: 1,682
kobee
Senior Member

แตในบางสถานะการณ (บอยๆ) เราจะไมสามารถควบคุมองคประกอบเหลานี้ไดหรอกครับ อาทิเชน


- ใชรูรับแสงกวางๆ ความชัดลึกก็ไมสามารถครอบคลุมกับ subject ทั้งหมดได
- หาฉากหลังที่ทิ้งหางออกไปไมได

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 5 of 13

- หาฉากหลังมืดกวาsubject ไมได
- หรือถึงหาได มุมของ subject เองก็โดนบังคับ ไมใหถายมุมอื่นอีก

ดูรูปนี้ครับ รูปนี้ดูแลวก็นาจะมีมุมนี้แหละ ที่ถายแลวดอกไมกลุมนี้จะดูดีที่สุด แตฉากหลังก็ไมมืดกวา


หามุมที่ทิ้งหางออกไปไมได ก็เลยจําเปนตองยอมใหภาพดูแลวขัดๆ ไมโดดเดนเทาที่ควร เพราะทั้งแสงแลว
ก็ตัวsubject ซี่งเปนดอกไมนั้นสวยมาก

นี้เปนขอจํากัดอีกประการของกลองคอมแพคตัวเล็กครับ
Attached Images

30-10-2004, 15:21 #4
Join Date: Sep 2004
Posts: 1,682
kobee
Senior Member

ยังมีอีกวิธี ที่เราสามารถควบคุมองคประกอบตางๆเหลานี้ไดอยางสมบูรณ
วิธีนี้ก็คือการตอแฟลชพวงออกมาภายนอกนั้นเองครับ
แตวิธีนี้ นอกจากแฟลชและสายพวงแฟลชภายนอกแลว กลองก็ยังตองมีความสามารถ
ที่จะตอแฟลชภายนอกไดดวยนะครับ
กลองdigital ตั้งแตระดับ prosummer หรือ DSLR like สวนมาก จะสามารถเลนวิธีนี้ไดครับ

ลองมาดูกัน
รูปนี้ถายที่เขาใหญ กลุมเห็ดอยูชิดกับพื้นเลย แถมมุมก็บังคับ เลนอะไรไมได
จะใชรูรับแสงกวางๆ เห็ดก็จะไมชัดทั้งกลุมอีก ถาถายแบบตรงๆ ก็จะไดรูปพื้นๆแบบนี้แหละครับ

รูปนี้ผมใช D100 ใช Mode A ปรับรูรับแสงที่ 16 เพื่อจะไดความชัดลึกที่ครอบคลุมกลุมเห็ด จําไดวาความ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 6 of 13

เร็วนาจะอยูที่ประมาณ 1/15 sec นี่แหละครับ และใชแฟลชติดหัวกลองยิงตรงๆเลย ไมสวยเลยเนอะครับ


Attached Images

30-10-2004, 15:21 #5
Join Date: Sep 2004
Posts: 1,682
kobee
Senior Member

แตถาเราสามารถตอแฟลชออกมาภายนอกกลองดวยสายพวง ปญหานี้ก็จิ๊บจอยครับ
หลักการการถายภาพแบบนี้ก็คือ
- แสงของsubject จะควบคุมดวยแสงแฟลช
- แสงของฉากหลังจะควบคุมดวยการเปดรับแสงของกลอง
งงมั้ยครับ??

ลองดูรูปนี้แลวกันครับ
เหมือนกันกะรูปขางบนแดะๆ แตผมเปลี่ยนมาใชสายพวงแฟลช หรือที่เรียกกันงายๆวาสายซิงค
เซทกลองในระบบ manaul ปรับรูรับแสง16 เช็คความชัดลึกวาเปนไปตามที่ตองการหรือไม
ปรับความเร็วชัตเตอรไปที่ 1/200 sec ซึ่งเมื่อเทียบกับรูปขางบนแลว จะเห็นวาผมปรับกลองใหอันเดอรมากๆ
เลย
ผมใชสายซิงคตอแฟลชใหแยกออกมาจากกลอง แลวถือแฟลชไปยิงดานขางๆเฉียงไปทางขางหลังนิด
หนอย
กะวาไมใหแสงแฟลชไปโดนฉากหลัง รูปที่ไดก็จะออกมาแบบนี้แหละครับ
- กลุมเห็ด ไดรับแสงจากแฟลช
- ฉากหลัง มืดสนิทลงไป เพราะผมปรับกลองใหอันเดอรไปมากกวา 3 สตอป

ดูดีมีชาติตระกูลขึ้นเยอะเลยนะครับ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 7 of 13

นอกจากนั้นแลว ก็ยังสามารถเลือกทิศทางของแสงใหมีความแตกตางกันดวย
Attached Images

30-10-2004, 15:22 #6

Join Date: Sep 2004


kobee Posts: 1,682
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 8 of 13

นอกจากฉากหลังที่มืดทึบแลวที่บางคนอาจไมชอบ เราก็ยังสามารถปรับระดับความเขมของฉากหลังใหเปน
ไปตามอารมยที่เราตองการไดอีกดวยครับ

รูปทางซายมือนี้ผมถายดวย modeA วัดแสงไดเทาไรก็ถายเทานั้น รูปออกมาเปนอยางที่เห็นครับ สวนรูป


ทางขวาผมปรับกลองอีกนิด งายๆ ปรับชดเชยแสงที่ตัวกลองใหอันเดอรลงไป 1.5 สตอป แลวใชแฟลชพวง
แยกออกไปยิงดานบนเฉียงขวา ออกมาแบบนี้ครับ ลองเปรียบเทียบความแตกตางดูครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภาพ... Page 9 of 13

30-10-2004, 15:24 #7
Join Date: Sep 2004
Posts: 1,682
kobee
Senior Member

อีกซักตัวอยาง เพื่อใหเห็นภาพวา แยกแฟลชแลวทําอะไรไดบาง

ใบไมรูปนี้ อยูในรมไม สภาพแสงไมตางอะไรไปกับฉากหลัง ถาจะเลือกใชรูรับแสงกวางๆเพื่อใหฉากหลัง


เบลอขาดออกไปก็พอที่จะทําไดนะครับ แตวาใบไมก็จะไมชัดตลอดทั้งไปจนถึงกานอยางที่ผมตองการ

รูปบน ผมเลือกใช รูรับแสง 14 ความเร็วที่วัดไดคือ 1/60 sec


รูปดูพอใชไดเหมือนกัน แตใบไมก็ยังไมคอยเดนสะดุดตาซักเทาไร

รูปลางผมปรับกลองใหอันเดอรลงไปสตอปกวาๆ แลวเอาแฟลชไปยิงดานหลังของใบไม ทําใหเกิดเปนริม


ไลทขึ้นมาตามขอบใบไมรวมไปถึงกานดวย ฉากหลังก็มืดลงเพราะเราปรับใกกลองรับแสงไดนอยลง ตัดกับ
ความสวางโปรงของใบไมที่มาจากแสงแฟลช ทําใหใบไมดูโดดเดนขึ้นอีกมากเลยครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภ... Page 10 of 13

30-10-2004, 15:25 #8
Join Date: Sep 2004
Posts: 1,682
kobee
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภ... Page 11 of 13

สุดทายก็หวังวา จะเปนประโยชนใหกับพระเดชพระคุณไมมากก็นอยนะครับ

ใครที่มีกลองที่สามารถตอแฟลชภายนอกได เสียเงินเพิ่มอีกนิด แตก็ทําใหเราสนุกไดมากขึ้น

สวนคนที่ไมสามารถทําได ก็ประยุกตใหกลองเราใชงานไดเต็มที่ อาจมีขอจํากัดบาง แตก็ไมใชวาจะทําไม


ไดเลย ขอใหเราใสใจกับสิ่งเล็กๆนอยๆเหลานี้นะครับ

ขอบคุณครับ

02-11-2004, 17:29 #9
Join Date: Sep 2004
prukchaya Location: องครักษ
Junior Member Posts: 17

ในกระทูที่ 6 แปลกจัง ใชแฟลชดวยแตไดสีของ subject ที่เขมขึ้น


ชอบมากเลยครับ เพราะเปนคนที่ชอบถายภาพมาโคร (แตไมคอยมีความรู) อยูแลว
เขาะคูมามา ที่เอาแคเหราะมาฝา
เอาอีก เอาอีก

08-03-2005, 09:56 #10

bluereindeer Join Date: Feb 2005


Junior Member Posts: 7

ขอบคุณครับไดเพิ่มความรูจากที่ไมเคยรูเลย
Last edited by bluereindeer : 08-03-2005 at 09:59.

08-03-2005, 10:28 #11

WIZARD Join Date: Feb 2005


Member Posts: 42

สุดยอดมาก แจมแมวครับ สงสัยจะตองซื้อสายซิงคแฟลชมาใหบางแลว เห็นรูปที่ถายมาแลวคุม(คา)การลง


ทุนมากๆ

08-03-2005, 12:25 #12


Join Date: Jan 2005
Jump Location: Bkk
Senior Member Posts: 1,282

โอ แจมจัง หลายรูปเลย ไดความรูเพิ่มเติม ขอบคุณมากๆ ครับ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภ... Page 12 of 13

08-03-2005, 16:03 #13


Join Date: Feb 2005
O.M.S.A. Location: Underground
Member Posts: 95

สุดยอด

แจมจริงๆครับ
ไดความรูเปนกระบุงเลย ชอบถายmacroครับ แตถายแลวไมเคยสวยเลย

08-03-2005, 18:14 #14


Join Date: Nov 2004
Location: Home Sweet Home
nutchy Posts: 106
Senior Member

ไดความรูมากๆเลยคะ ขอบคุณนะคะที่เอามาแบงปนกัน

09-03-2005, 09:02 #15

Aborigin7 Join Date: Oct 2004


Member Posts: 80

ไดความรูมาแบบเต็มๆเลย ถายทอดและเปรียบเทียบไดเขาใจงาย ขอบคุณครับ

Page 1 of 2 1 2 >

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - @@@ การควบคุมฉากหลังในการถายภ... Page 13 of 13

All times are GMT +7. The time now is 23:23.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=742 9/29/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Page 1 of 7

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > SoftWare เรื่องงายๆ Name
การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Thread Tools Search this Thread

22-09-2005, 20:42
Join Date: Se
Posts: 2,782
Mr.Auto
Senior Member

การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel

กลองดิจิตอลที่ใชงานกันอยูโดยทั่วไป ใชอิมเมจเซ็นเซอรแบบ CCD หรือ CMOS ที่ทําหนาที่เปลี่ยนแสงเปนกระแสไฟฟา


และแปลงมาเปนขอมูลดิจิตอลอีกทีหนึ่ง อิมเมจเซ็นเซอรที่ใชในกลองดิจิตอลโดยทั่วไปจะมีปญหาเมื่อเปดรับแสงเปนเวลาน
จะเกิดภาพที่ผลที่ไมพึงประสงคขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นคือ Noise หรือสัญญาณรบกวน ซึ่งมีสาเหตุการเกิดไดหลายสาเหตุ
เชน ความไวตอแสงของเซลรับแสงแตละพิกเซลไมเทากัน ความสามารถในการสงสัญญาณไฟฟาไมเทากัน ความรอนที่เกิด
ตัวเซ็นเซอร ฯลฯ

ในบรรดาสาเหตุทั้งหมด มีสองสาเหตุที่เกิดจากการใชงานตัวกลอง นั้นคือ

1. การตั้งความไวแสงสูง หรือการตั้ง ISO สูงๆ

2. การเปดรับแสงเปนเวลานาน หรือการใชความเร็วชัตเตอรต่ํา

กลองดิจิตอลเมื่อตั้งความไวแสงสูงจะมี Noise มากขึ้น และเมื่อเปดรับแสงเปนเวลานานๆ จะมี Pixel บางตําแหนงที่เกิดสีเป


ขึ้นมาเรียกวา Hot Pixel ทั้ง Noise และ Hot Pixel ทําใหภาพถายลดคุณภาพลงไป และเปนขอจํากัดในการใชงานของกลอ
ดิจิตอลในปจจุบัน
กลองดิจิตอลที่มีขนาดเซ็นเซอรเล็ก จํานวนพิกเซลมาก มักจะมี Noise ในปริมาณมาก และเกิด Hot Pixel ไดเร็ว
เชนเดียวกับการตั้งความไวแสงสูงจะเกิด Noise มากมายดวยเชนกัน ผูผลิตกลองดิจิตอลหลายรายจึงมีการใชเทคโนโลยีตา
การลด Noise
ทั้งการใช hardware และ Software เชนการทํา Pixel Mapping

ทานที่สนใจเรื่องของ Hot Pixel สามารถคนหาไดในอินเตอรเนท หรือถาตองการอานเปนภาษาไทย ลองเขาไปดูที่

http://www.fujifilm.co.th/HotPixel1.html
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6050 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Page 2 of 7

Last edited by Mr.Auto : 22-09-2005 at 21:36.

22-09-2005, 21:33 #2
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,782
Mr.Auto
Senior Member

การทดสอบหาปริมาณ Noise ทําไดโดยการถายภาพวัตถุสีเทาพื้นเรียบ แลวใชโปรแกรม photoshop ทํา


การวิเคราะห
โดยการเลือกพื้นที่สวนเทาพื้นเรียบแลวใช Level เพื่อดูกราฟ Histogram ของพื้นที่สวนเทา ถามีการ
กระจายของโทนสีมากแสดงวามี Noise มาก

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6050 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Page 3 of 7

วิเคราะหNoise (คลิ๊กเพื่อดูวิธีการทดสอบ)
Attached Images

Last edited by Mr.Auto : 23-09-2005 at 06:58.

22-09-2005, 21:33 #3
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,782
Mr.Auto
Senior Member

สวน Hot Pixel สามารถทดสอบไดโดยการใชโปรแกรมทดสอบนับจํานวน Hotpixel


วิธีการทดสอบโดยการปดหนากลองใหมืดสนิท ใชระบบถายภาพแบบปรับตั้งเอง ตั้งความไวแสงและความ
เร็วชัตเตอรที่ตองการทดสอบ
จากนั้นทําการถายภาพเปน TIFF หรือ RAW หากไมมีใหถายภาพเปน JPG ที่คุณภาพสูงสุด
แลวใชโปรแกรม DeadPixelTest.exe ในการทดสอบ

ทดสอบ Hot และ Dead Pixel (คลิ๊กเพื่อดูวิธีการทดสอบ)


Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6050 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Page 4 of 7

Last edited by Mr.Auto : 23-09-2005 at 06:58.

22-09-2005, 21:34 #4
Join Date: Sep 2004
Posts: 2,782
Mr.Auto
Senior Member

หากภาพมี Hotpixel แนะนําใหใชโปรแกรม Darkframe NR ทําการลบ Hot Pixel ซึ่งการใชงานมีวิธีดังนี้

การลบ Hotpixel (คลิ๊กเพื่อดูวิธีการใชโปรแกรม)

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6050 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Page 5 of 7

Attached Images

Last edited by Mr.Auto : 23-09-2005 at 06:59.

23-09-2005, 19:38 #5
Join Date: Jul 2005
Sweat Hog Location: สวนพลู
Junior Member Posts: 24

Roger that...

เยื่ยมครับ ..
program ที่ผมมีอยูก็คลายกันครับ..ใชวิธีเดียวกันดวย

24-09-2005, 02:37 #6
Unregistered Posts: n/a
Guest

แลวถาเปน Dead pixels จะตองทดสอบอยางไรอะ

24-09-2005, 10:07 #7
Join Date: Aug 2005
Location: ถายไมคอยเกง แตรักหมดใจ
unpong Posts: 447
Senior Member

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6050 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Page 6 of 7

ก็ทดสอบแบบเดียวกับ hot pixel หละครับ แตถายมาหลายๆภาพ แลวเอามาเปรียบเทียบดูถา hot ที่จุดเดิม


ซ้ําๆกันทุกๆภาพ ที่ตรงนั้นมันก็เปน Dead แลวหละครับ

24-09-2005, 12:00 #8

meyki Join Date: Dec 2004


Member Posts: 50

ขอบคุณครับ

25-09-2005, 09:06 #9
Join Date: Sep 2004
Location: ดาวนพเคราะหสีฟา
หนก บางหลวง Posts: 937
Senior Member

Quote:

Originally Posted by Unregistered


แลวถาเปน Dead pixels จะตองทดสอบอยางไรอะ

กอนอื่นคุณจะตองทําความเขาใจถึงขอแตกตางของhot และ Dead pixelกอนครับ

pixelในจุดที่เรียกวาhotนั้น จะยังเปนpixelที่ยังถือวาคอนขางปกติอยู โดยทั่วๆไปหากใชงานในชวงความเร็ว


ชัตเตอรที่สูงกวา 1/4 วินาที ก็จะแสดงผลเหมือนกับpixelปกติทั่วๆไป แตพอใชความเร็วชัตเตอรที่นานขึ้น
เชน 1 วินาที ก็จะแสดงคาผิดปกติไป คือ จะแสดงเปนจุดที่มีระดับความสวางโดยไมสัมพันธกับความเปนจริง
วิธีทดสอบจึงจําเปนตองถายกับพื้นดํา ซึ่งงายสุดคือการปดฝากลองถาย จุดที่เปนhotจะแสดงคาความสวาง
ขึ้นมา ( ในการถายภายพื้นดํานั้น จุด hot pixel อาจจะแสดงคาออกมาเปนสีแดง เขียว หรือ น้ําเงินก็ได )
สําหรับโปรแกรมDeadPixelTest.exe สามารถเลือกตั้งระดับthresholdไดแลวแตตองการ Default
thresholdของhot pixelในโปรแกรมนี้ถูกปรับไวที่ระดับความสวาง 60

สวนpixel ในจุดที่เรียกวา dead นั้น มันมีความหมายเหมือนชื่อของมันเอง คือมันตายไปแลว หมายความ


วาไมวาเราจะใชความเร็วชัตเตอรชาหรือเร็วแคไหนก็ตาม จุดที่deadนั้นก็จะแสดงความสวางออกมาโดยไม
สัมพันธกับสิ่งแวดลอม ซึ่งแนนอนวาหากใชความเร็ว1/1000 ในการทดสอบdark frame จุดที่เปนdead
pixel ก็จะยังคงสวางเปนจุดชัดเจน ผิดกับบริเวณอื่นๆที่มืดสนิท

การทดสอบหาdead pixel กับ hot pixel นั้น เราสามารถทดสอบดวยDeadPixelTest.exe ในเวลาเดียวกัน


ครับ โดยdefault thresholdของdeadจะถูกตั้งไวที่ระดับความสวาง 250 อยูแลว

เอาเปนวาถาเขาใจนิยามของpixelทั้ง 2 แบบนี้ แคคุณถายdark frame ธรรมดา แลวเอามาเปดดวย


photoshop ก็สามารถแยกแยะไดแลวหละครับ

04-10-2005, 13:41 #10

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6050 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - การทดสอบ Dead Pixel และ Hot Pixel Page 7 of 7

pichetg Join Date: May 2005


Member Posts: 40

ขอบคุณครับ

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off SoftWare เรื่องงายๆ Go

All times are GMT +7. The time now is 10:37.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=6050 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 1 of 11

ศัพทการถายภาพดิจิตอล
A-Z
ABCDEFGHIJKLMNPRSTUVWZ

l 1-bit color หนวยที่เล็กที่สุด ตอหนึ่งหนวยพิเซล ซึ่งไฟลภาพสามารถประมวลผลหรือจัดเก็บได


ในแตละบิตสีจะเปนสีขาว หรือสีดํา อันใดอันหนึ่ง
l 8 -bit color/grayscale หากภาพมี 8 บิต/สี ในแตละพิกเซล จะสามารถแสดงโทนสีได 256 โทน
หรือการแสดงระดับความออนแกของสีเทาในภาพขาวดํานั่นเอง
l 24 -bit color ในภาพสีแบบ RGB ที่แสดงสีได 8 บิต/สี หรือรวมทั้งหมด 24 บิต ตองนําตัวเลขของ
พิกเซลทั้งหมดมาคูณกัน จึงจะทราบไดวาแสดงสีไดเทาไหร คือ 256R x 256G x 256B เทากับ
16.7 ลานสี ซึ่งกลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดในปจจุบันแสดงสีได 24 บิต หรือ 16.7 ลานสีนั่นเอง
l 36 -bit color ในกลองบางรุนสามารถแสดงบิตสีไดลึกมากถึง 12 บิต/สี หรือรวมกัน 3 สี RGB เทา
กับ 36 บิต การมีจํานวนบิตมากจะทําใหมีโทนภาพที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น ผลที่ไดคือ ภาพที่มีราย
ละเอียดเหมือนจริง ตามธรรมชาติมากที่สุด หากเปนดิจิตอลแบค ระดับไฮเอนดบางรุนแสดงสีได
มากอยางนาทึ่งถึง 16 บิต/สี หรือ 48 บิต RGB ภาพที่ไดจึงไลเฉดสีไดดีเยี่ยมไมตางกับการใช
ฟลม

A
l A/D Converter Analogue to digital converter การแปลงสัญญานอนาล็อก ใหเปนดิจิตอล เชน
เสียง อุณหภูมิสี หรือภาพ ในกลองดิจิตอล จากนั้นจะจัดรูปแบบของไฟลฟอรแมทตามที่เลือกเอา
ไว แลวจึง จัดเก็บลงในหนวยความจํา หรือในแผนการดของกลอง
l AC adapter อุปกรณแปลงไฟสําหรับใชไฟหลักแบบ AC เชนไฟบานทั่วๆ ไป ตอกับกลองดิจิตอล
ทําใหใชกลองไดเต็มประสิทธิภาพเพราะ กําลังไฟเต็มตลอดเวลา สวนใหญจะแถมมาใหพรอมกับ
ตัวกลอง หากไมมีสามารถหาซื้อมาเพิ่มได แตตองเลือกแบบที่ใหกําลังไฟ เทากันตามที่ระบุไวในคู
มือ บางรุนสามารถชารจแบตเตอรี่ที่อยูในตัวกลองไดดวย สวน DC adapter เปนการใชไฟ DC
ภายนอกเชน ไฟจากที่จุดบุหรี่ในรถยนต เปนตน
l Accelerator เครื่องมือเฉพาะในรูปของการด หรือโปรแกรมที่ถูกออกแบบมา เพื่อเพิ่มความเร็วใน
การทํางาน ของคอมพิวเตอร โดยมากจะเนนที่การใชโปรแกรมแบบกราฟฟก เชน Adobe
Photoshop เปนตน
l Access Time ชวงเวลาที่ตองใชเพื่อใหไดขอมูลจากแหลงขอมูล เชนจากหนวยความจํา,
ฮารดดิสก ในกรณีของฮารดดิสกจะหมายถึงชวงเวลาที่หัวอานหรือเขียนเคลื่อนไปถึงตําแหนง
ขอมูลที่ตองการ ใชตัวเลข ที่ไดระบุความเร็วของอุปกรณตางๆ
l Additive Colors สีที่ใชในการเติมแตง มีอยูสามสี คือ แดง, เขียว, น้ําเงิน ซึ่งเมื่อนําสามสีนี้มารวม
กันจะเปนสีขาว
l Algorithm วิธีการและขั้นตอนของการควบคุมการปฏิบัติงานตามหนาที่ อยางใดอยางหนึ่ง เชน
การประมวลผลในกลองดิจิตอล
l Aperture รูรับแสง เปนชองที่ใหแสงผานไปยังเซ็นเซอรภาพ วางตําแหนงอยูระหวางชิ้นเลนส ปรับ
ใหกวางหรือแคบไดเพื่อควบคุมแสงใหพอดี หากรูรับแสงกวางแสงจะผานไดมากแตระยะชัดลึก
นอย สวนรูรับแสงแคบแสงจะผานไดนอยและชวงระยะชัดลึกมาก
l Aliasing รอยหยัก คลายขั้นบันได ที่ปรากฏบนภาพหรือเสนที่มีลักษณะโคงหรือเฉียง เชน วงกลม
เพราะการจัดเรียงตัวของพิกเซลเปนแบบแนวนอน และแนวตั้ง หากเสนไมไดอยูในแนวเดียวกับพิ
เซล จะเห็นเปนเสนหยัก และจะเห็นชัดเจนก็ตอเมื่อมีการขยายภาพมากๆ
l Analogue การเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางกายภาพของการทํางาน ที่เปนไปอยางตอเนื่องหรือมีคาได
อยางตอเนี่องในชวงใดชวงหนึ่ง

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 2 of 11

l Analogue to Digital Converter (A/D Converter) เครื่องมือสําหรับแปลงสัญญาณแบบอนาล็อก


ใหเปนแบบดิจิตอล : ตัวยอ A/D Converter หรือ ADC
l Anti-aliasing การลบรอยหยัก หรือ การขจัดรอยหยักคลายขั้นบันได ที่ปรากฏบนภาพ หรือเสนที่มี
ลักษณะโคงหรือเฉียง โดยการเฉลี่ยสีของพิกเซลขางๆ ใหดูราบเรียบกลมกลืนกัน ทําใหภาพที่ไดดู
นุมนวลสมจริง ตามธรรมชาติ ในกลองดิจิตอลสวนใหญ จะมีฟลเตอรแบบนี้บังอยูทางดานหนาของ
เซ็นเซอรภาพ แตในกลองดิจิตอล SLR หรือดิจิตอลแบคบางรุนสามารถถอดเปลี่ยนฟลเตอรที่อยู
หนาเซ็นเซอร ภาพสลับไปมาได เพื่อใหไดผลพิเศษเฉพาะอยางกับภาพถาย
l Application โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ถูกออกแบบมาเพื่อใชในการทํางานอยางใดอยางหนึ่ง หากไม
มีโปรแกรม เครื่องคอมพิวเตอรก็ไมสามารถ ทํางานได
l Archive ขอมูล หรือรูปภาพ ที่ถูกบันทึกในรูปแบบของแผนดิสก, เทป หรือ สื่อที่ใชแสงในการ
บันทึก เชนแผน CD-RW Artifact สงที่ไมพึงประสงคของรูปภาพแบบอิเล็กทรอนิกส โดยปกติจะ
เกิดขึ้นระหวางการบรรจุขอมูล
l Aspect Ratio อัตราสวนของขนาดภาพ ระหวางแนวนอนและแนวตั้งของรูป ภาพ เชนฟลม 35 มม.
มีอัตราสวนเทากับ 3 : 2, ขนาดภาพของจอทีวีมีอัตราสวนเทากับ 4 : 3, ฟลมขนาด 4 x 5 มีอัตรา
สวนเทากับ 4 : 5 เปนตน
l ATM (Asynchronous Transfer Mode) รูปแบบของเครือขายขอมูลที่สงถายขอมูลขาวสารในรูป
ของ Cells (ชองเก็บขอมูล) หรือ Packets (กลุมขอมูล) โดยการสงทีละกลุมเล็กๆ เชนสัญญาณวีดี
โอ, เสียง และขอมูลที่สงถายกันไดในเครือขาย
l Autofocus การปรับโฟกัสของเลนสใหคมชัดในจุดที่ตองการอัตโนมัติ โดยใชเซ็นเซอรที่อยูในตัว
กลอง ทํางานดวยอินฟราเรด หรือการเปรียบเทียบคอนทราสทของวัตถุ สวนใหญจุดโฟกัสอยูตรง
กลางจอภาพ

B
l Background Processing การประมวลผลสวนหลัง คือ การประมวลผลที่มีลําดับความสําคัญนอย
มักจะกระทําการในเวลาที่ซีพียูวางจากการประมวลผลสวนหนา และดําเนินไปโดยไมมีการโตตอบ
กับผูใช
l Banding ในทางการพิมพภาพกราฟฟก หมายถึง รูปสี่เหลี่ยมผืนผาเล็กๆ ของภาพกราฟฟกที่สงไป
ยังเครื่องพิมพของคอมพิวเตอร การที่แบงภาพกราฟฟกออกเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาเล็กๆ ก็เพื่อ
ปองกันการผิดพลาดของรูปภาพที่เครื่องพิมพจะพิมพออกมา
l Bandwidth นิยามของจํานวนขอมูล ที่สามารถเดินทางระหวางจุดสองจุดในชวงเวลาจําเพาะ หรือ
ในการสื่อสาร เรียกวาความกวางของชวงคลื่น วัดจากชวงของความถี่สูงที่สุด มาหาความถี่ต่ําที่สุด
ในชวงความถี่ของคลื่นขนาดใดขนาดหนึ่ง
l Binary เลขฐานสอง หมายถึง ในระบบจํานวนเลขนี้ใชเลขเพียง 2 ตัวเทานั้น ไดแก เลข 0 และเลข
1 ซึ่งในคอมพิวเตอรจะใชเลขฐานสองเปนหลัก
l Bit บิต เปนคํายอของ Binary digit หนวยขอมูลเล็กที่สุด ที่สามารถเก็บตัวเลขฐานสอง (0 หรือ 1)
ไดหนึ่งหลัก
l Bitmap รูปภาพบนจอภาพที่เกิดจากการรวมตัวกันของ bit โดยตัวเลขแตละตัวในรูปภาพจะตอบ
สนองตอพิกเซลจุดหนึ่งๆ บนจอภาพ ภาพที่เกิดจาก bit หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา bit image นี้จะ
ถูกเก็บไวในหนวยความจําของคอมพิวเตอร
l Brightness ความแตกตางของความสวาง ระหวางสวนที่สวางที่สุดกับสวนที่มืดที่สุดของวัตถุ หรือ
ภาพนั้น โดยมีชวงของความกวางจากคาสีดํา(มืด) ถึงขาว(สวาง) 255 ขั้น
l Buffer บัฟเฟอร เปนสวนหนึ่งของหนวยความจําที่ใชสําหรับพักขอมูลเปนการชั่วคราว หลังจากกด
ชัตเตอรถายภาพไปแลว ไฟลภาพจะจัดเก็บไวในบัฟเฟอรกอน จากนั้นจึงทยอยถายโอนไปยังการด
ถามีบัฟเฟอรมากก็จะถายภาพตอเนื่องไดมาก แตถาบัฟเฟอรเต็ม จะไมสามารถถายภาพได จนกวา
จะบันทึกภาพลงในการด และมีที่วางเหลือในบัฟเฟอร สําหรับถายภาพตอไป
l Bulletin Board Service or BBS ระบบคอมพิวเตอรหรือโปรแกรม ที่ทําหนาที่เปนเหมือนแผง
ประกาศขาว เพื่อบริการสารสนเทศและขาวสารตางๆ แกผูที่สนใจ และสามารถเขาถึงได โดยการ
เชื่อมตอดวยคอมพิวเตอร ผานทางโมเด็ม
l Burst mode บางครั้งเรียกวา Continuous mode เปนระบบถายภาพตอเนื่องในกลองดิจิตอล
กลองที่มีความละเอียดสูงจะถายภาพตอเนื่องไดชากวาเพราะไฟลมีขนาดใหญ
l Byte ไบท ยอมาจาก binary term หนวยขอมูลที่ประกอบดวย 8 บิต สามารถเก็บอักษรไดหนึ่งตัว

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 3 of 11

C
l Calibration การเทียบสีของอุปกรณหนึ่งกับอุปกรณอื่น เชน เปรียบเทียบสีที่แสดงทางหนาจอภาพ
กับ พริ้นเตอร หรือสแกนเนอร กับ Film Recorder หรือหมายถึง กระบวนการเปรียบเทียบสี ของ
อุปกรณหนึ่ง กับเครื่องมือมาตรฐาน
l CCD (Charged Coupled Device) สวนรับภาพภายในกลองดิจิตอล มีลักษณะการทํางานคลายกับ
การรับภาพของฟลม เรียกอีกอยางหนึ่งวา Image Sensor ซึ่งประกอบไปดวยพิกเซลจํานวนมาก
ขึ้นอยูกับการออกแบบมาใหมีความละเอียดมากนอยเทาใด ในแตละพิกเซลของ อิมเมจ เซ็นเซอร
จะประกอบไปดวย โฟโตไดโอด ทําหนาที่แปลงภาพที่เกิดจากแสงใหเปนสัญญาณดิจิตอล จากนั้น
สงผานไปยังหนวยประมวลผล กอนที่จะจัดเก็บลงในหนวยความจําหรือการดจัดเก็บภาพ
l CD แผนซีดี ยอมาจาก Compact Disc ถูกคิดคนและพัฒนาโดย Philips เปนสื่อจัดเก็บขอมูล
ประเภทจานแสง สําหรับ CD ขนาดเสนผาศูนยกลาง 12 ซม. บรรจุขอมูลได 650 หรือ 700 เมกะ
ไบต หรือเก็บขอมูลเสียงไดนาน 74 - 80 นาที
l CD drive อุปกรณที่ใชสําหรับอานขอมูลในแผนซีดี CD-R อุปกรณที่ใชสําหรับอาน และบันทึก
ขอมูลลงในแผนซีดี
l CD-ReWritable Media คํายอ CD-RW คือแผนซีดีที่สามารถใชบันทึกขอมูลซ้ําๆ ไดในแผนเดียว
กัน
l CD-ROM (Compact Disc, Read-Only Memory) แผนซีดีชนิดที่สามารถใชอานขอมูในแผนได
อยางเดียว ไมสามารถบันทึกหรือเปลี่ยนแปลงขอมูลใดๆ ไดอีก
l Channel ชองทางการสื่อสารระหวางเครื่องอุปกรณสองเครื่อง
l Chroma สีที่เปนองคประกอบของภาพถาย(พิกเซล) ซึ่งคาของ Chroma มาจากคาของ
Staturation+Hue
l Chromatic adaption อุปกรณแกความคลาดของสี, ลักษณะการทํางานคลายกับ ฟลเตอร
l Clip Art ภาพ, แผนภูมิ, แผนที่, ไดอะแกรม และภาพลายเสนตางๆ เปนตน ที่สามารถนํามาแทรก
ไวในเอกสาร ถูกจัดเก็บไวเปนหมวดหมูในรูปของ ซีดี-รอม หรือในเวบไซตตางๆ
l CMOS (Complementary Metal-Oxide Semiconductor) แผนชิพแรมชนิดหนึ่ง สรางขึ้นจากวัสดุ
กึ่งตัวนําชนิด metal-oxide ซึ่ง CMOS จะกินไฟนอยมาก, สําหรับการถายภาพดวยกลองดิจิตอล
CMOS จะทําหนาที่ในการรับภาพคลายการทํางานของ CCD แตราคาจะถูกกวา นํามาใชในกลอง
ดิจิตอล เปนรายแรกโดย Canon CK
l CMS (Color Matching System) (Color Management System) โปรแกรมหรืออุปกรณที่ถูกออก
แบบมาเพื่อทําการเทียบสีใหไดผลที่ถูกตองตรงกัน ระหวางอุปกรณที่แตกตางกัน เชนจอ
คอมพิวเตอรกับภาพที่พิมพออกมาจากเครื่องพิมพ เปนตน
l CMY (Cyan, Magenta, Yellow) แมสีที่ใชในการพิมพ 3 สี คือไซแอน(ฟา), มาเจนตา(มวงแดง)
และ เหลือง ซึ่งเมื่อผสมในอัตราที่เทากันแลวจะไดสีดํา
l CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, Black) โหมดที่ใชในการพิมพภาพโดยเครื่องพริ้นเตอรสี หรือ
คาสีที่ใชในการพิมพระบบออฟเซ็ทของโรงพิมพ
l Color correction การแกสี, การแกไขหรือการเพิ่มสีเขาไปในภาพ Color Wheel อุปกรณสําหรับ
การเลือกสีที่มีความกลมกลืนกัน ทําใหงายตอการแยกแยะสี และสวนผสมของสีนั้นๆ
l Compact Flash card คํายอ CF เปนการจัดเก็บขอมูล หรือภาพถาย ดวยหนวยความจําภายนอก
ชนิดถอดออกได มีลักษณะเปนแผนการดขนาดเล็ก มีความจุใหเลือกหลายขนาดตั้งแต 8 MB จน
ถึง 1 GB ใชในกลองดิจิตอลหลายยี่หอเชน Nikon Canon Pentax Kodak ฯ
l Compression การบีบอัดขอมูล คือ กระบวนการที่ทําใหขอมูลมีขนาดที่เล็กลง เพื่อจะไดใชเนื้อที่
ในการจัดเก็บนอยลง หรือใชเวลาในการจัดสงนอยลงดวย ในกลองดิจิตอลทุกแบบจะเลือกโหมด
การบีบอัดขอมูลภาพได 2-3 ระดับ ซึ่งขอมูลในแบบรูปภาพหรือเสียง สามารถลดขนาดลงไดหลาย
เทา แตจะทําใหมีการสูญเสียขอมูลไปบางสวน จึงทําใหคุณภาพของรูปภาพหรือเสียงนั้นลดลงไป
ดวย
l Continous Tone ภาพที่มีโทนสีที่ตอเนื่องกันจากสวนสวางไปจนถึงสวนมืด หากมีระดับขั้นของการ
ไลโทนมาก ภาพก็จะดูสมจริงเหมือนกับภาพที่ มองเห็นในธรรมชาติ Contrast ความเปรียบตาง คือ
ความแตกตางระหวางสวนสวาง และสวนมืดของวัตถุในภาพ คอนทราสทจะมากหรือนอยเปนผลมา
จากลักษณะของแสง, สีของวัตถุ, แสงฟุงและแฟลรของเลนส หรือ คุณภาพของเลนส เปนตน
CPU (Central Processing Unit) หนวยประมวลผลกลาง เปนสวนที่สําคัญที่สุดของคอมพิวเตอร
ทําหนาที่ควบคุม ประมวลผล และการทําการสั่งงาน เทียบไดกับการทํางานของสมองมนุษย
Cropping tool เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับทําการตัดสวนสิ่งที่ไมตองการออกไป เพื่อใหไดภาพใน

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 4 of 11

แบบที่ตองการ

D
l Data ขอมูล ซึ่งเปนคํานิยามที่ใชเรียกทุกๆ สิ่งที่สามารถนําเขามาหรือ นําออกไป หรือใชในการ
ประมวลผลในคอมพิวเตอรได ซึ่งขอมูลทั้งหมดนั้นจะตองเปนขอมูลในแบบดิจิตอลเทานั้น ซึ่งอาจ
หมายถึง บิตหนึ่งบิต อักขระหนึ่งตัว ขอความทั้งหมดในเอกสาร หรือแฟมหนึ่งแฟม เปนตน
l DC Cameras เปนกลองดิจิตอลในระดับลางของ Kodak ซึ่งกลองดิจิตอลในระดับนี้จะมีความ
ละเอียดของจํานวนพิกเซลที่ต่ํากวากลองในระดับมืออาชีพที่ผลิตโดย Kodak โดยกลองในตระกูล
DC ของ Kodak นี้จะมีราคาถูก ในระดับไมกี่พัน จนถึงระดับหมื่นบาท
l DCS Cameras เปนกลองดิจิตอลในระดับสูง (ไฮเอนด) ของ Kodak ซึ่งมีความละเอียดที่สูงมากใน
ระดับหลายลานพิกเซล ซึ่งกลองในตระกูล DCS ของ Kodakนี้จะมีราคาที่แพงมากในระดับหลาย
แสนบาทเลยทีเดียว
l Default setting คาหรือตัวเลือกที่คอมพิวเตอรหรือกลองดิจิตอลกําหนดไวจากโรงงาน ผูใช
สามารถเปลี่ยนแปลงไดตามที่ตองการ
l Densitometer เครื่องมือที่ใชวัดปริมาณของแสง ซึ่งสามารถวัดไดทั้งแบบตกกระทบและแบบ
สะทอน
l Desktop Publishing การเตรียมตนฉบับสําหรับงานจัดทําสิ่งพิมพดวยคอมพิวเตอร เชน แผนพับ
โปสเตอร หนังสือ หรือนิตยสาร เปนตน โดยใชคอมพิวเตอร ซอพทแวร และอุปกรณอื่นๆ เชน
เครื่องพิมพ สแกนเนอร ฯ
l Digital สัญญานอิเล็กทรอนิกสที่แสดงออกมาเปนตัวเลข เชน ระบบดิจิตอลในคอมพิวเตอร
ประกอบไปดวยเลขฐาน 2 ไดแกเลข 0 และเลข 1
l Digital back ชุดอุปกรณสําหรับบันทึกภาพดิจิตอล ใชตอเขากับกลองถายภาพขนาดกลาง หรือ
กลองวิว แทนแมกกาซีนฟลม ทําใหถายภาพแบบ ดิจิตอลได โดยมีสายอินเทอรเฟส ตอเชื่อมกับ
คอมพิวเตอร เพื่อจัดเก็บภาพลงในฮารดดิสก และแสดงภาพบนจอมอนิเตอร แตมีดิจิตอลแบคบาง
ยี่หอเชน Kodak มีจอมอนิเตอรและชองใสการดเพื่อจัดเก็บภาพในตัว
l Digital camera กลองดิจิตอล คือ กลองที่ใชอิมเมจ เซ็นเซอร (เชน CCD หรือ CMOS) ในการรับ
ภาพแทนการใชฟลม โดยแปลงสัญญานจากแสงใหเปนดิจิตอลแลวจัดเก็บในแผนการดขนาดเล็ก
มีจอมอนิ เตอรสําหรับเปดชมภาพที่ถายไปแลว สามารถถายโอนไปยังเครื่องคอมพิวเตอรไดทันที
เพื่อใชงานตางๆ เชน พิมพภาพลงบนกระดาษ หรือสงไปยังที่ตางๆ ทางอีเมล
l Digital Image รูปภาพดิจิตอล ประกอบขึ้นดวยพิกเซลที่มีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยม จํานวนพิกเซล
ที่มากทําใหภาพมีความคมชัดเมื่อขยายภาพใหมีขนาดใหญ
l DPOF (Digital Print Order Format) ไฟลฟอรแมทรูปแบบหนึ่งที่สามารถกําหนดจํานวนภาพที่
ตองการพิมพหลังจากถายภาพไปแลว เมื่อนําไฟลภาพไปพิมพดวยเครื่องพิมพที่มีระบบ DPOF จะ
ทําใหพิมพภาพไดตามจํานวนที่กําหนดเอาไวโดยผูถายภาพ
l Digital Projector อุปกรณที่นํามาเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร สําหรับฉายภาพที่ ปรากฏบนหนาจอ
คอมพิวเตอรไปยังจอภาพ
l Digital Zoom ระบบการซูมภาพในกลองดิจิตอลแบบคอมแพค โดยการตัดสวน (Crop) บริเวณ
สวนกลางของภาพ กลองบางรุนจะขยายภาพที่ถูกตัดสวนนี้ ใหมีขนาดใหญเทากับความละเอียดสูง
สุดของกลองรุนนั้น คุณภาพที่ไดจึงไมเทียบเทากับออฟติคัลซูม แตกลองบางรุนตัดสวนภาพโดยที่
ไมเพิ่มความละเอียด ขนาดภาพที่ไดจึงเล็กลงตามไปดวย แตคุณภาพความคมชัดยังเทาเดิม
l Digitization การแปลงใหเปนดิจิตอล ในทางคอมพิวเตอรไดแก การเปลี่ยนสัญญาณใหอยูในระบบ
binary คือเลข 0 และ 1 Disc แผนดิสก ใชบันทึกหรืออานขอมูลและ information มีลักษณะไม
เปนแมเหล็ก วาวแสง บันทึกขอความหรืออานขอความจากแผนดิสกไดโดยการใชแสงเลเซอร บาง
ทีเรียกกวา แผนเลเซอรดิสก
l Disk แผนดิสกที่ใชกับคอมพิวเตอร ซึ่งมีลักษณะเปนแผนโลหะ (ฮารดดิสก) หรือ แผนไมลา
(ฟลอปปดิสก) เคลือบดวยสารแมเหล็ก สามารถใชเก็บขอมูลและ information ในรูปของดิจิตอล
ลบขอมูลทิ้งแลวบันทึกใหมได หากเกิดความเสียหายขอมูลก็จะ หายไปดวย
l Dithering วิธีการทําใหภาพจากจอภาพหรือเครื่องพิมพ มีสีหรือระดับของสีมากขึ้น โดยการนําจุดสี
ที่มีสีตางกันมาอยูใกลกัน เพื่อใหตามนุษยมองเห็นเปนสีผสม
l Download - computer การบรรจุลง : การถายโอนขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรหรือเครื่องให
บริการ (เซิรฟเวอร) มายังเครื่องที่กําลังใชงาน หรือเครื่องรับบริการ โดยผานระบบสื่อสารเชน

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 5 of 11

อินเตอรเน็ต
l Download - camera การถายโอนภาพจากกลองดิจิตอลไปยังอุปกรณอื่น เชน คอมพิวเตอร โดย
ใชไดรเวอรที่ใหมาพรอมกับตัวกลอง หรือถายโอนผานซอพทแวรของกลองที่ออกแบบมาโดย
เฉพาะ
l D Max (Maximum Density) ชวงโทนมืดที่สุดของภาพที่สามารถบันทึกได แสดงเปนตัวเลข เชน
3.5 หรือ 4.0 ยิ่งมากยิ่งดี
l D Min (Minimum Density) ชวงโทนสวางที่สุดของภาพที่สามารถบันทึกได
l DPI (Dots Per Inch) จุดตอนิ้ว : หนวยแสดงความละเอียด ที่บอกถึงจํานวนจุด ที่เครื่องพิมพ
สามารถพิมพหรือแสดงไดในหนึ่งนิ้ว
l Drag and drop ลากแลวปลอย : คือการยายหรือเลื่อนตําแหนงโดยการลากเมาส และเมื่อตัวชี้
เมาสกับไฟลหรือภาพมาถึงตําแหนงใหมก็ปลอยปุมเมาส ใชในการกอปปไฟลหรืออื่นๆ
l Driver โปรแกรมขับอุปกรณ : ซอพทแวรที่ชวยใหคอมพิวเตอรและโปรแกรมตางๆ สามารถสื่อสาร
และทํางานรวมกันได
l DVD (Digital Versatile Disk) แผนดิสกจัดเก็บขอมูล ลักษณะคลายกับแผนซีดี-รอม แตจัดเก็บ
ขอมูลไดมากกวา ความจุสูงสุด 17.08 GB

E
l E-mail ยอมาจาก electronic mail คือระบบที่ชวยใหผูใชสามารถสงขาวสารถึงกันทั้งขอความ รูป
ภาพ เสียง หรืออื่นๆ โดยผานทางเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอในระบบสื่อสารหรือเครือขาย
l Effective ขนาดภาพที่ไดจริงจากเซ็นเซอรภาพของกลองดิจิตอล โดยทั่วไปจะเล็กกวาความ
ละเอียดของเซ็นเซอรภาพ เชน เซ็นเซอรภาพความละเอียด 4.13 ลานพิกเซล แตขนาดภาพใหญ
สุดที่ไดคือ 2272 x 1704 พิกเซล หรือ 3.87 ลานพิกเซล
l EPS (Encapsulated PostScript) การประมวลผลของภาพกราฟฟก ในรูปแบบโพสคริปท จาก
โปรแกรมกราฟฟกตางๆ นิยมใชกับงานสิ่งพิมพระบบออฟเซท
l Ethernet อีเทอรเน็ต : มาตรฐานที่กําหนดรูปแบบโพรโทคอล และวิธีการสงสัญญาณ ในระบบ
เครือขายแลนที่เชื่อมตอแบบบัส และมีอัตราการสงขอมูลพื้นฐานที่ 10 เมกกะบิตตอวินาที
l Exif (Exchangable image format) รูปแบบของไฟลฟอรแมทที่ใชในการจัดเก็บภาพของกลอง
ดิจิตอล เปนมาตรฐานในฟอรแมท TIFF หรือ JPEG มีการพัฒนาเวอรชั่น ใหมๆ อยางตอเนื่องเพื่อ
สนับสนุนการทํางานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
l Export สงออก : แปลงขอมูล หรือสารสนเทศที่ใชในระบบหนึ่งหรือโปรแกรมหนึ่ง ใหอยูในรูปแบบ
ที่สามารถนําไปใชในระบบอื่นหรือโปรแกรมอื่นได

F
l Fiber Optics เสนใยแกวนําแสง : วิทยาการที่เกี่ยวกับการนําเอาเสนใยแกว หรือเสนใยพลาสติก
ชนิดพิเศษ มาใชในการสงขอมูลดิจิตอล มีความเร็วสูงมาก แตคาใชจายก็สูงเชนกัน
l File แฟม : รูปแบบการเก็บขอมูลดิจิตอล ที่มีการกําหนดตําแหนงเริ่มตนและตําแหนงสิ้นสุด รวมทั้ง
ตั้งชื่อเพื่อใหสามารถระบุถึงได
l File Format รูปแบบหรือโครงสรางของแฟมขอมูล ซึ่งกําหนดเอาไวในขณะที่ถูกจัดเก็บไว และใน
ขณะที่ถูกแสดงออกมาทางจอภาพ หรือถูกพิมพออกมาเปนฮารดกอปป เชน รูปภาพดิจิตอล เปน
ตน ในกลองดิจิตอลมักใชไฟล ฟอรแมท JPEG หรือ TIFF กลองบางรุนมีฟอรแมท RAW ซึ่งเปนรูป
แบบที่ออกแบบมาโดยเฉพาะของกลองแตละยี่หอ
l File Server เครื่องบริการแฟมขอมูล เปนคลังเก็บแฟมขอมูลอยางหนึ่งในเครือขายแลน เครื่อง
บริการแฟมขอมูล จะทําใหบรรดาผูใชขอมูลทั้งหลาย สามารถเขาถึงเครือขายไดทุกคนที่ตองการ
ใชบริการ
l Film Recorder อุปกรณสําหรับแปลงไฟลดิจิตอลไปเปนฟลม (บันทึกลงในฟลม)
l Filter / Image Senser แผนกรองแสงที่ใชบังหนาเซ็นเซอรภาพ หากเปนแบบ IR จะใชกรองแสง
อินฟราเรด ทําใหไดภาพที่มีความคมชัดสูง อีกแบบคือ Anti-aliase ทําใหภาพดูนุมนวลเปน
ธรรมชาติโดยเกลี่ยพิกเซลใหมีสีใกลเคียงกัน

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 6 of 11

l Filter / Optical แผนกรองแสง ทําจากวัสดุประเภทแกว, พลาสติกหรือเจลาติน ใชโดยการสวมเขา


กับดานหนา หรือดานทายเลนสเพื่อผลพิเศษตามชนิดของฟลเตอรที่ใช
l Filter / Software โปรแกรมที่ชวยใหคุณเปลี่ยนแปลงภาพตนฉบับ ใหเปนภาพพิเศษไดอยางรวด
เร็ว เชนการเปลี่ยนโทนสี บิดเบือนภาพ ปรับภาพใหคมชัด หรือเบลอ เปนตน
l FireWire การเชื่อมตอของขอมูลดิจิตอลที่มีความเร็วสูง สามารถรองรับการเชื่อมโยงขอมูลที่มี
อัตราเร็วถึง 400 Mbps. ซึ่งถูกพัฒนาโดยบริษัท Apple Computer ภายใตมาตรฐาน IEEE1394
( Sony เรียกวา i-link ) อินเทอรเฟสแบบนี้มีใชในกลองดิจิตอล SLR ระดับสูง และในดิจิตอลแบค
สวนคอมพิวเตอรมีในพีซีบางรุน และแมคอินทอชทุกรุน
l FTP (File Transfer Protocol) เอฟทีพี : โพรโทคอลที่ใชในการถายโอนแฟมจากเครื่องคอมพิว
เตอรเครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่งบนเครือขายอินเตอรเน็ต
l Flash memory หนวยความจําขนาดเล็ก ซึ่งมีสวนที่ใชบันทึกขอมูลเรียกวา Solid State Chips
หนวยความจําแบบนี้สามารถบันทึกขอมูลลงไปไดโดยที่ไมตองพึ่งพาแบตเตอรี่ ขอมูลไมมีการสูญ
หายเมื่อปดสวิตซอุปกรณที่ใช ถูกออกแบบมาใหมีขนาดเล็กเหมือนการด สามารถนําไปใชกับกลอง
ดิจิตอลเพื่อบันทึกภาพหรือนําไปใสในเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อถายโอน หรือกอปปภาพ ในรูปแบบที่
เรียกวา แมมมอรี่การด ซึ่งในกลองดิจิตอลแตละยี่หอจะใชแตกตางกัน เชน CompactFlash,
Smart Media, MemoryStick, SD/MMC
l Flat Bed Scanner (Optical Scanner) เครื่องสแกนภาพโดยใชแสง เปนเครื่องมือนําขอมูลเขา
(input) อยางหนึ่ง ซึ่งใชแสงไปกระตุนอุปกรณใหกวาดลําแสงไปบนกระดาษหรือวัสดุอื่นใด เพื่อ
ใหแปลความหมายของลักษณะความมืด และความสวางใหเปนสัญญาณดิจิตอล ควบคุมการทํา
งานโดยซอพทแวรในคอมพิวเตอร
l Floppy Disk สื่อเก็บขอมูลที่มีจานแมเหล็กชนิดโคงงอไดอยูภายในแผนพลาสติกแข็ง(ชนิด 3.5
นิ้ว) ในการใชงาน ตองเสียบไวในชองเสียบของฟล็อปปดิสกไดรวจึงจะสามารถนํามาอานหรือ
บันทึกขอมูลลงไปได แผนฟล็อปปดิสกชนิด 3.5 นิ้วจะมีความจุขอมูล 1.44 เมกกะไบต

G
l GIF File Format รูปแบบหนึ่งของไฟลภาพดิจิตอล มีการบีบอัดขอมูลใหมีขนาดที่เล็กมาก แตจัด
เก็บสีไดเพียง 256 สี ภาพที่ไดจึงมีคุณภาพดอยกวา JPEG ไมนิยมใชกับภาพถาย แตเหมาะกับ
ภาพประกอบเวบเพจ เพราะไฟลที่มีขนาดเล็กทําใหการโหลดภาพรวดเร็วกวา
l Gigabyte คํายอ GB มีคาเทากับ 1024 MB
l Gray Scale อัตราสวนสีเทา : อัตราสวนของโทนสีเทา ซึ่งมีการไลระดับความออนแก ที่อยูระหวาง
สีขาวกับสีดํา Halftone Image การสรางภาพใหมีระดับสีตางๆ อยางตอเนื่อง ดวยการใชจุดสีที่มี
ขนาดตางกัน หรือมีความหนาแนนของจุดตางกัน

H
l Hard Disk, Hard Drive อุปกรณจัดเก็บขอมูล มีจานวงกลมที่เคลือบดวยเมกเนติกที่มีความไวแสง
โดยมีหัวที่ใชบันทึกและอานขอมูลจากจานดิสก จัดใหอยูในเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับเก็บขอมูล
ตางๆ หรือจะใชแบบภายนอกก็ได โดยมีกลองใสฮารดดิสกและชองตอเชื่อมกับคอมพิวเตอร ปจ
จบันพัฒนาใหมีขนาดเล็กเชนแบบ พีซีการด หรือขนาดเล็กเทา การด CF เรียกกวา Microdrive
l Hardware ฮารดแวร : สวนเครื่อง, สวนอุปกรณ หรือสวนประกอบของระบบคอมพิวเตอร ที่สามารถ
เห็นหรือจับตองได เชน จอภาพ คียบอรด และเครื่องพิมพ
l HDTV มาตรฐานใหมของโทรทัศน ที่มีความคมชัดสูง ชนิด 1,125 เสน
l Histogram กราฟแสดงโทนภาพดิจิตอล โดยมีความละเอียดในแนวนอน 256 ขั้น ตั้งแตชวงโทนที่
มืดสุดจนถึงสวางที่สุด และแนวตั้งแสดงจํานวนของพิกเซล ใชในการบอกคุณภาพของภาพถาย
ดิจิตอลได มักจะมีในการแสดงภาพบนจอมอนิเตอรของกลองดิจิตอลทั่วๆ ไป และเปดดูไดจาก
ซอพทแวรตางๆ เชน Photoshop
l Hue โทนสี สามารถปรับเปลี่ยนไดจากซอพทแวรเชน Adobe Photoshop

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 7 of 11

I
l Icon รูปภาพหรือสัญลักษณขนาดเล็กบนหนาจอคอมพิวเตอร ที่ใชแทนคําสั่งหรือขอมูลตางๆ เชน
แฟมและดิสกเพื่อทําใหผูใชสามารถจดจํา และเรียกใชไดงาย IEEE1394 ดู FireWire
l i-Link ดู FireWire
l Image Pac รูปแบบไฟลที่ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะ เพื่อเก็บภาพที่มีคุณภาพสูงใน CD ซึ่งปจจุบัน
ใชในการทําสิ่งพิมพ, วิทยาศาสตร และนํามาประยุกตใชในการคา
l Image Resolotion ความละเอียดของภาพ ซึ่งวัดจากจํานวนพิกเซลตอหนึ่งหนวยความกวางของ
ภาพ เชน พิกเซล/นิ้ว, พิกเซล/มิลลิเมตร เปนตน
l Import การนําขอมูลหรือสารสนเทศที่สรางจากระบบอื่นหรือโปรแกรมอื่น มาใชในระบบหรือ
โปรแกรมที่กําลังทํางานอยู เชน การนําเอาภาพถายดิจิตอล อิมพอรทมาใชในโปรแกรม
Photoshop เปนตน
l Ink-jet Printer เครื่องพิมพระบบอิงคเจ็ต : เปนเครื่องพิมพที่มีหัวพิมพประกอบไปดวยรูเล็กๆ
จํานวนมาก และในเวลาที่พิมพน้ําหมึกจะถูกพนออกมาทางรูเล็กๆ เหลานี้ เพื่อทําใหเกิดเปนตัว
หนังสือหรือรูปภาพบนกระดาษ
l Interface สายสัญญานเชื่อมตอระหวางอุปกรณสองอยาง เชน กลองดิจิตอล กับคอมพิวเตอร เพื่อ
ใหสื่อสารกันได
l Internet/WWW อินเทอรเน็ต : ระบบเครือขายที่ประกอบไปดวยเครือขายคอมพิเตอรในที่ตางๆ
ทั่วโลกใหสามารถเชื่อมตอกัน และมีบริการตางๆ มากมาย เชน การสงอีเมล การคนหาขอมูลขาว
สารตางๆ หรือจะเปนการถายโอนขอมูลจากที่หนึ่งไปสูอีกที่หนึ่งได
l Interpollation การเพิ่มขนาดภาพใหใหญขึ้นโดยเพิ่มจํานวนของพิกเซล
l IrDA ยอมาจาก The Infrared Data Assosiation ซึ่งเปนสถาบันที่คิดคนการสงผานขอมูลระหวาง
อุปกรณอิเล็กทรอนิกสหรือดิจิตอล โดยไมตองใชสาย
l ISO คาความไวแสงของเซ็นเซอรภาพ โดยเทียบกับคาความไวแสงของฟลม ใชหนวยวัดเปน ISO
ความไวแสงที่สูงขึ้นจะทําใหภาพปรากฏ Noise มากขึ้นตามลําดับ สวนใหญกลองดิจิตอลจะมี
คุณภาพดีและมี Noise นอยที่สุดที่คาความไวแสงต่ําสุด

J
l Jaz Drive อุปกรณบันทึกขอมูลมีคุณสมบัติคลายกันกับ Zip Drive แตสามารถเก็บขอมูลไดถึง
1000 เมกกะไบท หรือ 1 Gigabyte
l JPEG Compression JPEG ยอมาจาก Joint Photographic Experts Group ซึ่งเปนมาตรฐาน
สําหรับการเก็บขอมูลภาพที่ไดผานการบีบอัดขอมูลแลว โดยเลือกบีบอัดไดหลายระดับ ยิ่งบีบอัด
มากเทาใด ขนาดไฟลจะเล็กลงไปตามลําดับ ซึ่งคุณภาพจะลดลงตามไปดวย

K
l Kilobyte กิโลไบท : ใชตัวยอวา KB มีคาเทากับ 1024 ไบท

L
l LAN (Local Area Network) เปนเครือขายที่ประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอรเชื่อมตอกันภายใน
พื้นที่หนึ่งที่มีอาณาบริเวณไมกวาง เชน ในหองหรือในตึกเดียวกัน
l Laser Printer เครื่องพิมพเลเซอร : เครื่องพิมพที่พิมพดวยหลักการแบบเดียวกับเครื่องถาย
เอกสาร กลาวคือเมื่อเครื่องพิมพรับขอมูลที่จะพิมพจากคอมพิวเตอรแลว ก็จะนําขอมูลนี้ไปควบคุม
กระจก เพื่อสะทอนแสงเลเซอรใหตกบนดรัมไวแสงและเกิดเปนภาพ ซึ่งภาพนี้จะถูกแปลงเปนประจุ
ไฟฟาเพื่อใหดูดจับผงหมึกได จากนั้น เครื่องพิมพก็จะปอนกระดาษที่ประจุไฟฟาสถิตแลว ใหกลิ้ง

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 8 of 11

ผาน ดรัมเพื่อดึงผงหมึกจากดรัมและเกิดเปนภาพขึ้น ขั้นตอนสุดทายกระดาษจะถูกทําใหรอน เพื่อ


ใหผงหมึกติดแนนกับกระดาษ
l LCD Display / LCD Monitor จอภาพหรือจอมอนิเตอรที่ใชแสดงภาพถายที่ถายไปแลวในกลอง
ดิจิตอล สามารถแสดงสีสันและรายละเอียดไดครบถวน สามารถใชในการตรวจสอบความผิดพลาด
ของภาพถายไดทันที และยังใชในการแสดงเมนูตางๆ อีกดวย สําหรับกลองที่มีชองมองภาพแบบอ
อฟติคัล วิวฟายเดอร จะเลือกปดจอภาพไดเพื่อประหยัดแบตเตอรี่
l LCD Panel ชองหนาตางสําหรับแสดงผลการใชงานของฟงกชั่นการถายภาพ ซึ่งจะใชเปนการควบ
คุมและสั่งงาน โดยดูผลการปรับตั้งระบบการทํางานตางๆ ผานจอ LCD นี้
l Lens สวนที่ใหแสงผานไปยังเซ็นเซอรภาพ โดยรวมแสงใหปรากฏเปนภาพถายที่คมชัด ในกลอง
ดิจิตอลแบบคอมแพคมักใชเลนสซูมที่มี กําลังขยาย 3-4 เทา สวนกลองดิจิตอล SLR ชนิดถอด
เปลี่ยนเลนสไดจะมีเลนสใหเลือกใชมากและคุณภาพที่ดีกวา
l Lithium-ion battery บางครั้งเรียก Lion เปนแบตเตอรี่ที่ใชเทคโนโลยี Lithium-ion ใหกําลังไฟ
สูง ใชไดนาน แตราคาแพงกวาแบตเตอรี่ทั่วๆ ไป ขอดีคือชารจไฟใหมไดตลอดเวลาที่ตองการโดย
ไมมีผลเสียตอแบตเตอรี่
l LPI (Line per Inch) ความถี่ของเสนในแนวตั้งและแนวนอน ตอหนึ่งนิ้วที่แสดงบนจอภาพ ปจจุบัน
ใชเปนหนวยวัดความถี่ของจุดหรือพิกเซล

M
l Macro โหมดการถายภาพอยางหนึ่ง ชวยใหถายภาพไดใกลกวาปรกติ ทําใหถายภาพสิ่งที่มีขนาด
เล็กได กลองบางตัวถายภาพในโหมดมาโครไดใกลสุดเพียง 1 เซ็นติเมตรเทานั้น
l Marquee เครื่องมือสําหรับใชในการ Selection ภาพ ซึ่งคุณสามารถเลือกพื้นที่ในรูปสี่เหลี่ยม, วง
กลม ซึ่งเลือกไดจากมุมใดมุมหนึ่ง หรือจากจุดศูนยกลางก็ได เมื่อตองการ Cropping, ตัดสวนภาพ
(Cutting) เปนตน
l Megabyte (MB) มีคาเทากับ 1,048,576 ไบท มักจะพูดโดยประมาณวา หนึ่งลานไบท
l Megapixel (MP) ีมีคาเทากับ 1,000,000 พิกเซล มักใชคําวา หนึ่งลานพิกเซล
l Memory Card สื่อที่ใชในการจัดเก็บภาพของกลองดิจิตอล สามารถถอดออกได มีความจุใหเลือก
ตั้งแต 2 MB จนถึง 1 GB เชน CompactFlash, Microdrive, SmartMedia, Memory Stick และ
SD/MMC กลองบางรุนใชการดแบบ PCMCIA หรือ PC Card
l Microdrive ฮารดดิสกขนาดเล็กที่พัฒนาโดย IBM มีขนาดเล็กเทากับการด CompactFlash ใชได
กับกลองดิจิตอล มีความจุสูงสุด 1 GB
l Mode - camera ระบบการทํางานของกลองดิจิตอลแบบตางๆ
l Mode - software การปรับเปลี่ยนรูปแบบของภาพดิจิตอลดวยซอพทแวร เชน การเปลี่ยนสี RGB,
CMYK, Greyscale เปนตน
l Modem (MOdulator/DEModulator) อุปกรณที่อยูภายในหรือภายนอก ใชแปลงสัญญานดิจิตอล
ในคอมพิวเตอรไปเปนระบบอนาล็อก เพื่อสงผานทางสายโทรศัพทธรรมดาไปยังคอมพิวเตอรปลาย
ทาง ซึ่งมีโมเด็มสําหรับแปลงกลับใหเปนดิจิตอล ซึ่งแสดงผลไดเหมือนขอมูลที่สงมาจากตนทาง
หากตองการใหการรับสงเร็วขึ้น จะมีระบบอื่นที่ไมใชสายโทรศัพทธรรมดาเชน ISDN หรือ Fiber
Optic แตคาใชจายจะสูงมากขึ้นตามลําดับ
l Morphing การสรางผลพิเศษในภาพเคลื่อนไหว และวีดีโอ
l Multimedia สื่อผสม เปนวิธีการหรือรูปแบบการนําเสนอสารสนเทศที่เกิดจากการผสมผสานกันของ
เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว

N
l Ni-MH (Nickel Metal Hydride Battery) เปนแบตเตอรี่ที่แนะนําอยางยิ่งสําหรับใชงานกับกลองดิจิ
ดอล ซึ่งแบตเตอรี่ชนิดนี้ใหพลังงานมากกวาแบตเตอรี่แบบ นิเกิล แคดเมื่ยมถึง 50% และยัง
สามารถชารจไฟใหมไดมากกวา 500 ครั้ง สามารถชารจไฟไดรวดเร็วและใชงานไดยาวนานกวา
แบตเตอรี่ทั่วไป
l NiCd (Nickel Cadmium Battery) แบตเตอรี่ชนิดชารจไฟใหมได พบไดในแบตเตอรี่ AA หรือ

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 9 of 11

AAA ทั่วไป ชารจไฟใหมได 500 - 1000 ครั้ง แตถาแบตเตอรี่ยังไมหมด หากนําไปชารจไฟ จะเกิด


ผลทําใหแบตเตอรี่เสื่อม ตองลางไฟที่คางอยูจนหมดเสียกอน โดยกดปุม Discharged ที่เครื่อง
ชารจ
l Noise จุดสีที่ไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นในภาพถายดิจิตอล มักเกิดขึ้นเดนชัด เมื่อปรับความไวแสง
ISO ใหสูงขึ้น หรือเมื่อถายภาพดวยความเร็วชัตเตอรต่ํา
l NTSC ระบบวีดีโอชนิด 525 เสน 30 เฟรม/วินาที สวนใหญถูกใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกาและ
ญี่ปุน

P
l PAL ระบบวีดีโอชนิด 625 เสน 25 เฟรม/วินาที สวนใหญถูกใชงานในทวีปยุโรป รวมทั้งในประเทศ
ไทยก็ใชระบบนี้
l PC เปนคํายอของ Personal Computer ซึ่งหมายถึงคอมพิวเตอรสวนบุคคล
l PCMCIA เปนคํายอของ Personal Computer Memory Card International Association เปน
อุปกรณสําหรับจัดเก็บขอมูลชนิดหนึ่ง ที่ถือเปนมาตรฐานและไดรับการยอมรับมานาน เรียกอีกอยาง
หนึ่งวา PC Card ใชไดกับคอมพิวเตอรแบบโนตบุคทั่วๆ ไป ที่มีชองสําหรับใสการดแบบนี้
l Peripheral อุปกรณที่นํามาเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรสามารถควบคุมหรือทํางาน
รวมกันได เชน พริ้นเตอร, โมเด็ม, สแกนเนอร เปนตน
l Photo CD เปนทางเลือกหนึ่งในการนําภาพถายจากฟลมมาแปลงเปนภาพดิจิตอลเพื่อใชรวมกับ
คอมพิวเตอร โดยอานจากแผนซีดีผานเครื่องอานโฟโตซีดีที่ตอเชื่อมกับคอมพิว เตอร รวมทั้งนําไป
เปดชมภาพ จากโทรทัศนไดโดยผานเครื่องเลนโฟโตี้ดี หรือเครื่องเลนซีดีที่ระบุวาเลน โฟโตซีดี
ได
l PhotoNet ภาพถายที่ใหบริการทางอินเทอรเน็ต
l PIC, PICT ไฟลฟอรแมทแบบมาตรฐานของรูปภาพ พัฒนาโดย แอปเปล คอมพิวเตอร รองรับภาพ
สี RGB ที่มีหนึ่งแชนแนล
l Pixel (PICture ELement) จุดเล็กๆ บนภาพ ซึ่งแตละจุดจะไดรับการกําหนดสีเพียงสีเดียว เพื่อให
ทั้งหมดประกอบกันขึ้นเปนภาพ ถามีพิกเซลมากหมายถึงภาพละเอียดมาก
l Plug and Play ตอแลวใช : ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง ซึ่งเมื่อนํามา
ตอเขาดวยกันแลว เครื่องคอมพิวเตอรก็รูจักและสามารถใชงานไดทันที
l POTS เปนคํายอของ Plain Old Telephone Service ซึ่งใชสําหรับเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรเพื่อทํา
การออนไลน โดยผานทางโมเด็ม
l PPI (Pixels-per-inch) หนวยวัดความละเอียดของภาพบิตแมป

R
l RAM ยอมาจาก random access memory เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูล ซึ่งนอกจากจะนํามา
อานไดแลว ยังสามารถเปลี่ยนแปลงหรือบันทึกซ้ําได ขอมูลที่เก็บอยูในหนวยความจําชนิดนี้จะหาย
ไป เมื่อไมมีแหลงจายไฟ
l RAW ไฟล ฟอรแมท ที่สามารถจัดเก็บขอมูลภาพดิจิตอลไดอยางครบถวน สมบูรณ อาทิ ขอมูล
ของสีที่รองรับรูปแบบ RGB, CMYK หรือ Greyscale ภาพที่จัดเก็บในฟอรแมทนี้ จะรักษาขอมูล
ตางๆ ไว สามารถแกไขไดทุกอยาง ทั้งโทนภาพและสี ดวยซอพทแวรจากผูผลิตกลอง
l RGB แมสี 3 สี ไดแก สีแดง, สีเขียว และสีน้ําเงิน รวมกันเปนแสงสีขาว ใชในการแสดงผลทางหนา
จอคอมพิวเตอร และหนาจอโทรทัศน
l ROM รอม : ยอมาจาก read-only memory เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูล ซึ่งนํามาอานได
อยางเดียว ไมสามารถเปลี่ยนแปลงหรือบันทึกซ้ําได ขอมูลในรอมจะยังอยูแมไมมีแหลงจายไฟ

S
file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 10 of 11

l Scanner สแกนเนอร : อุปกรณที่ใชในการนําภาพบนกระดาษ มาใสไวในคอมพิวเตอร ดวยวิธี


แปลงจุดสีบนตําแหนงตางๆ ของภาพ ใหเปนขอมูลดิจิตอลแลวสงไปยังคอมพิวเตอร
l SCSI (Small Computor System Interface) สกัสซี : สวนตอเชื่อมแบบขนานความเร็วสูง ที่ใชใน
การเชื่อมตอคอมพิวเตอรกับอุปกรณตอพวง เชน ฮารดดิสก และเครื่องพิมพ พอรท SCSI หนึ่งพอร
ทสามารถตออุปกรณได 7 อยาง โดยวิธีการเชื่อมตอแบบสายโซเดซี ปจจุบันมีการพัฒนาไปหลาก
หลายรูปแบบ Serial เรามักใชคําวา อนุกรม คือเรียงตามลําดับ ใชเปนมาตรฐานการเชื่อมตอ
อุปกรณในคอมพิวเตอรพีซีทั่วไป แตความเร็วชากวาแบบอื่นๆ เชน USB
l Self-timer คุณสมบัติหนึ่งในกลองดิจิตอล ใชหนวงเวลาในการถายภาพอัตโนมัติ บางรุนกําหนด
เวลาที่ตองการใหกลองถายภาพได
l Smoothing คือการเฉลี่ยคาพิกเซลที่อยูใกลเคียง เพื่อใหภาพมีความกลมกลืนมากขึ้น Software
ชุดคําสั่งที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อสั่งใหคอมพิวเตอรปฏิบัติงานตามชิ้นงานที่ไดรับ เชน Word,
Photoshop เปนตน
l Shutter ความเร็วในการตัดแสงที่ตกกระทบลงบน CCD ในกลองคอมแพคดิจิตอล ใชชัต เตอร
อิเล็กทรอนิกส สวนกลองดิจิตอลแบบ SLR จะมี มานชัตเตอรแบบกลไกสําหรับปดกั้นแสงอยูหนา
เซ็นเซอรภาพ กําหนดเวลาในการเปดปดโดยมีหนวยวัดเปนวินาที ควบคุมดวยระบบอิเล็กทรอนิกส
การทํา งานจะสัมพันธกับคารูรับแสง เพื่อควบคุมแสงใหพอดี ทําใหภาพไมมืดหรือสวางเกินไป
ความเร็วชัตเตอรสูงทําใหสิ่งที่มีการเคลื่อนไหวหยุดนิ่ง สวนความเร็วชัตเตอรต่ําจะทําใหสิ่งที่มีการ
เคลื่อนไหวพรามัว
l SLR (Single Lens Reflex) กลองถายภาพที่มองเห็นภาพในชองมอง ตรงกับภาพจริงที่ได โดย
แสงที่ผานเลนสจะตกกระทบกับกระจกสะทอนภาพแลวหักเหแสงไปยังปริซึม จากนั้นสะทอนออก
ไปที่ชองมองภาพ เมื่อกดปุมชัตเตอร กระจกสะทอนภาพจะดีดตัวขึ้น ใหแสงผานตรงไปยัง
เซ็นเซอรภาพ

T
l TIFF, TIF (Tagged Image File Format) ไฟล ฟอรแมท มาตรฐานที่ใชในการจัดเก็บภาพกราฟ
ฟก ออกแบบโดย Aldus ซึ่งปจจุบันรวมเขากับ Adobe และ Microsoft สามารถใชไดกับภาพสีและ
ขาวดํา สามารถ อานขอมูลภาพไดจากคอมพิวเตอรทุกชนิด บางรูปแบบมีคุณสมบัติ LZW ซึ่งบีบ
อัดใหภาพมีขนาดเล็กลง แตบางโปรแกรมไมสามารถเปดภาพแบบนี้ได

U
l Upgrade การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงทางดาน ฮารดแวรหรือซอพทแวร เพื่อใหการทํางานมี
ประสิทธิภาพดีขึ้น โดยทั่วไปหมายถึงคอมพิวเตอร หรือกลองดิจิตอลที่อัพเกรด โปรแกรมที่อยูใน
ตัวกลองหรือ Firmware ได ซึ่งจัดเก็บไวในหนวยความจําแบบที่ เรียกวา ROM
l USB (Universal Serial Bus) บัสอนุกรมสากล : ใชเชื่อมตอคอมพิวเตอรกับอุปกรณตอพวงตางๆ
รวมทั้งกลองดิจิตอลเพื่อโหลดภาพ ตอสายหรือถอดสายไดโดยที่คอมพิวเตอรยังเปดทํางานอยู
สามารถถายโอนขอมูลดวยอัตราเร็ว 10 -20 เมกกะบิตตอวินาที (Mbps) สามารถรองรับอุปกรณได
หลากหลาย เปนมาตรฐานที่มีในคอมพิวเตอสวนบุคคลทั้งพีซีและแมคอินทอช ปจจุบันพัฒนาถึง
เวอรชั่น 2 ถายโอนขอมูลไดเร็วถึง 480 Mpbs หรือเร็วกวาเดิม 40 เทา ใกลเคียงกับ IEEE1394

V
VGA ยอมาจาก Video Graphics Array มาตรฐานตัวปรับตอภาพ ที่สามารถแสดงภาพดวยความ
ละเอียดสูงสุด 640 x 480 พิกเซล
l Viewfinder สวนหนึ่งของกลองถายภาพ ชองมองภาพเปนกรอบที่ใชแสดงขอบเขตของภาพซึ่งมี
มุมรับภาพใกลเคียงกับทางยาวโฟกัสของเลนส ระบบมองภาพเปนแบบมองตรงไมผานเลนส ชอง
มองภาพแบบออฟติคัล จะมีชุดเลนสที่ปรับมุมภาพใหสัมพันธกับเลนสซูมของกลอง การดูภาพจาก

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 11 of 11

ชองมองวิวฟายเดอรจะประหยัดแบตเตอรี่มากกวาการดูภาพ จากจอมอนิเตอร
l Virtual Memory หนวยความจําเสมือน : พื้นที่เก็บขอมูลบนฮารดดิสกที่ปรากฏตอแอปพลิเคชั่น
โปรแกรม เสมือนเปนพื้นที่หนวยความจําที่มีขนาดใหญกวาพื้นที่ที่มีอยูจริง

W
l Web master ผูออกแบบ จัดทํา และดูแลเวบไซต
l Web page แฟมขอมูลที่จัดเก็บในแบบ HTML หรือ XML ซึ่งรวบรวบเอาไวที่เครื่องคอมพิวเตอร
หลักหรือเซิรพเวอรของผูใหบริการที่เรียกวา ISP เวบเพจแตละหนาจะเชื่อมโยงถึงกันไดในรูปแบบ
ที่เรียกวา Link Website ที่อยูของขอมูลที่จัดทําในรูปแบบเวบเพจ เพื่อใหผูชมสามารถเขาไปดูได
l White Balance การปรับสมดุลยของแสงใหมีสีที่ถูกตอง โดยเทียบกับแสงสีขาวของดวงอาทิตยที่
มีอุณหภูมิสี 5,500 องศาเคลวิน ในกลองดิจิตอลสวนใหญมีระบบออโตไวทบาลานซ โดยกลองจะ
ปรับอุณหภูมิสีใหถูกตองอัตโนมัติ และเลือกปรับตามสภาพแสงที่ใชไดเชน แสงอาทิตย แสงไฟ
ทังสเตน หรือแสงไฟฟลูออเรสเซนท เปนตน
l WORM (Write Once; Read Many) แผนดิสกชนิดหนึ่งซึ่งสามารถอานซ้ําๆ ได แตไมสามารถ
เปลี่ยนแปลงแกไขใดๆ ได เหมาะสําหรับการเก็บขอมูลที่สําคัญเปนการถาวร
l WYSIWYG เปนคํายอของ What you see is what you get คุณเห็นอยางไรก็ไดอยางนั้น ซึ่งเปน
ลักษณะของเอกสาร และภาพกราฟฟกที่คุณเห็นในจอภาพ เมื่อพิมพออกมาเปนฮารดกอปปแลว
ลักษณะของเอกสารหรือภาพกราฟฟกที่คุณได ก็จะเหมือนกับลักษณะที่ปรากฏในจอภาพ

Z
Zip Drive แผนดิสกแบบพิเศษ มีขนาดเล็ก ราคาไมแพง ใชเก็บขอมูลได 100 หรือ 250 เมกกะไบ
ท ตองใชเครื่องอานแผน Zip โดยเฉพาะ มีใหเลือกใชทั้งแบบภายใน หรือภายนอกเครื่อง
คอมพิวเตอร

Copyright© 1998-2005, IMAGE FOCUS Ltd.,Part.

Tel. 0-2911-5264, 0-2911-5265, 0-2585-5230 ; FAX : 0-2587-3890


E-mail : imagefoc@samart.co.th

FastCounter
by bCentral Visitors since Aug 2001

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\KS8248SE.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 1 of 11

สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ > RPST-Digital User


User Name Remember Me?
School > Digital ClassRoom Name
คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Password Log in

Register FAQ กระทูเกา Members List Calendar Today's Posts Search

Page 1 of 3 1 2 3 >

Thread Tools Search this Thread

02-02-2005, 09:54 #1
Join Date: Sep 2004
Location: ริมคลองบางขุนเทียน
เล็ก Posts: 2,398
Senior Member

คิด..กอน..กด..ชัตเตอร..

วันกอนที่ผมถายรูป Backyard กอนจะไดรูปนี้มาผมตองเจอกับอะไรตอมิอะไรหลายอยาง ตองมาแกกันทีละ


เปลาะแบบนี้ครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 2 of 11

02-02-2005, 09:55 #2
Join Date: Sep 2004
Location: ริมคลองบางขุนเทียน
เล็ก Posts: 2,398
Senior Member

แรกเลย สถานที่ที่ผมถายนะ แบบนี้ครับ


Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 3 of 11

02-02-2005, 10:01 #3
Join Date: Sep 2004
Location: ริมคลองบางขุนเทียน
เล็ก Posts: 2,398
Senior Member

เปลี่ยนเลนส บีบมุมมอง จํากัดฉากหลัง

ถาเห็นแบบนี้แลวยก เล็ง ถาย คงจะไดรูปสวยๆเด็ดๆยากแนๆ ตอใหซูมดีแคไหนก็เหอะ อยางรูปแรก


นะครับ

ผมเริ่มจากการมองหามุมที่ตองการในใจ นั่นคือ.....

ใหตนกกอียิปตสีเขียวสด ตัดกับฉากหลังสีทึบ(ฉากหลังเรียบงาย วัตถุหลักสีสันสดใส)

เลยเริ่มจากการเปลี่ยนเลนสเสียกอน แรกเลยเลือกระหวาง100มาโครหรือเทเลซูม100-300 L แตหลัง


จากมองหามุมที่ตองการแลว พบวาถาใชเลนสซูมชวงทางยาวโฟกัสสูงๆ ผมตองอยูหางจากวัตถุมากไป
หนอย จนทําใหอัตราสวนระหวางกลองกับวัตถุและกลองกับฉากหลังตางกันไมมาก ฉากหลังจะดูไมนุมนวล
อยางที่ตองการ จึงเลือกเลนส 100/2.8 มาโครแทนครับ

ถาถามวาทําไมไมใชซูมที่100มม.ละ แฮะๆๆ มันใกลเกินระยะโฟกัสใกลสุดของเลนสครับ เลยใชมาโคร


แหละ ดีแลวครับ

ไดภาพแบบนี้ ภาพที่สองนะครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 4 of 11

Last edited by เล็ก : 02-02-2005 at 10:24.

02-02-2005, 10:04 #4

Join Date: Sep 2004


Location: ริมคลองบางขุนเทียน

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 5 of 11

Posts: 2,398
เล็ก
Senior Member

ยอตัวลงอีกนิด

เอาละ พอเริ่มไดมุมที่ตองการ แตฉากหลังยังระเกะระกะมาก ทั้งแพลเลตไมเกาๆ เศษผา เสาแปบและ


กําแพงปูน ถายออกมามีหวังโดน แนๆ เลยยอตัวลงมานิดหนึ่ง มุมเดิมนะครับ แคยอตัว
Attached Images

Last edited by เล็ก : 02-02-2005 at 10:29.

02-02-2005, 10:10 #5
Join Date: Sep 2004
Location: ริมคลองบางขุนเทียน
เล็ก Posts: 2,398
Senior Member

อยาลืมการชดเชยแสง

เอาละ มุมเริ่มไดแลวใชไหมครับ แตจะเห็นวาฉากหลังยังเห็นชัดเจนอยู ทั้งๆที่ตอนมองดวยตาเปลานั้นมัน


มืดกวานี้ ก็เพราะวาเซลวัดแสงของกลองทําฉากหลังที่คอนขางมืดใหเปนสีเทา18%(ใครที่เรียน
อบรมวัดแสงมาคงจะจําไดนะครับ ) จะเห็นไดดวยวาเขาไปอีก เพราะฉะนั้น ถาตองการใหฉากหลังดูมืดทึบ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 6 of 11

ใกลกับตาเห็น เราตองชดเชยแสงไปทางอันเดอรนะครับ

ภาพนี้ ผมชดเชยแสงอันเดอร -2 สตอป ฉากหลังดูเขมสมใจ กกอียิปตสีดีขึ้นมาก


Attached Images

02-02-2005, 10:16 #6
Join Date: Sep 2004
Location: ริมคลองบางขุนเทียน
เล็ก Posts: 2,398
Senior Member

ปรับอีกนิด

จากรูปที่แลว องคประกอบภาพจะเรียกวาดีก็ได แตผมอยากใหภาพมีชวงวางดานบนไวสักนิดเผื่อจะมาใสขอ


ความอะไรเปนการเปดเรื่องได พอเวนที่ดานบนปุบ คราวนี้องคประกอบก็เริ่มไมเขาทา เนื่องจากกกตนลางมี
ขนาดใหญ เลยทําใหดานหนาคอนขางรกรบกวนสายตาที่จะมองไปยังกกตนเล็กที่ฟอรมสวยกวา จึงดูไม
โดดเดน ผมเลยจัดการดันกกตนดานหนาออกไปจากเฟรมภาพไปขัดไวกับกกอีกตนหนึ่ง ไมตองดึง ไม
ตองเด็ด ไมตองทําลายก็ไดรูปดีๆนะครับนะครับ

พอดันออกไปแลว คราวนี้ก็จัดองคประกอบอีกรอบ เล็งจนพอใจแลวลองถายออกมารูปนึงโดยเปดชองรับ


แสงกวางสักนิด ใชมือถือถาย ดูวาไดอยางที่ตองการไหม ไดแบบนี้ครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 7 of 11

02-02-2005, 10:21 #7
Join Date: Sep 2004
Location: ริมคลองบางขุนเทียน
เล็ก Posts: 2,398
Senior Member

Finally

เอาละ ไดอยางใจแลว จากนั้นก็ตั้งกลองเขากับขาตั้ง เล็งจัดองคประกอบ เลือกชองรับแสงใหชวงความชัด


มากกวานี้อีกนิดนึง แลวรอครับ

รออะไรหรือ???

รอแสงแดดมาตกลงบนตนกกครับ เพราะวันที่ถายมีเมฆมาบังเปนชวงๆ ถาถายตอนเมฆมาบัง แสงจะนุมๆ


เหมือนรูปเมื่อครู ซึ่งยังไมเฉียบนัก

พอแสงมาก็กดๆๆๆๆ แลวมาปรับlevelในPSอีกหนอย ใสตัวอักษรอีกนิดก็เรียบรอยครับ เยๆๆๆๆ

ขอขอบคุณที่ทนอานจนจบ ขอบคุณครับ

ปล. ทั้งหมดที่วามานั้น ใชเวลาไมเกิน5นาทีนะครับ เพราะฉะนั้น กอนจะกดชัตเตอรครั้งใด นึกภาพในใจ


จัดองคประกอบตามภาพในใจนั้น คุมคาการเปดรับแสง รอคอยสภาพแสงที่ดี ไมยากครับ
Attached Images

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 8 of 11

02-02-2005, 10:42 #8
Join Date: Sep 2004
nunjung Posts: 1,483
Senior Member

วาวๆๆ ไดความรู และเทคนิคเพิ่มขึ้นอีก ขอบคุณคาบบ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 9 of 11

02-02-2005, 11:48 #9
Join Date: Oct 2004
Location: At the end of RJ11
pucchio Posts: 1,648
Senior Member

เปนกระทูที่ดีมากๆ เลยครับ ขอบคุณครับ

02-02-2005, 11:52 #10


Join Date: Sep 2004
Posts: 556
tantan
Senior Member

ไดความรู+เทคนิค+การplanning

02-02-2005, 12:35 #11

daandart Join Date: Jan 2005


Posts: 3
Junior Member

ดีจังเลย ไดรูเทคนิค แถมมีภาพประกอบคําอธิบายดวย :clap:

02-02-2005, 13:11 #12


Join Date: Sep 2004
มู มู Location: on the moon.
Senior Member Posts: 327

ขอบคุณคราบบบบ...

02-02-2005, 15:20 #13


Join Date: Sep 2004
อั๋น ทรงวุฒิ Location: จ.แพร
Member Posts: 31

ถาใชวิธีปรับ F และ speed shutter สูงๆ


แลวยิงแฟลซ ออนๆ ผสมไปดวย พอไหวไหมครับ

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 10 of 11

02-02-2005, 17:08 #14


Join Date: Sep 2004
Location: ริมคลองบางขุนเทียน
เล็ก Posts: 2,398
Senior Member

Quote:

Originally Posted by อั๋น ทรงวุฒิ


ถาใชวิธีปรับ F และ speed shutter สูงๆ
แลวยิงแฟลซ ออนๆ ผสมไปดวย พอไหวไหมครับ

ก็ไดครับ แตเนื่องจากแสงที่ตกลงมานั้นมีทิศทาง135องศาจากดานบนลงมา ถาใชแฟลช ก็ตองใชสายตอ


พวงแฟลชและโยกใหไดทิศทางที่ตองการดวยครับ ถาใชแฟลชยิงตรงหนา ภาพจะแบน ๆหนอย ไมเปนสาม
มิตินักนะครับ

02-02-2005, 19:58 #15


Join Date: Oct 2004
Sharky Location: BKK
Junior Member Posts: 23

โหยยยยยยยยยยย...

ขอบคุณ พี่เล็ก..มั่กๆๆ เลย ตาเริ่มสวางมาจิ๊ดนึง ตองไปฝกวิทยายุทธ..บางซะแลนนน

Page 1 of 3 1 2 3 >

« Previous Thread | Next Thread »

Posting Rules
You may post new threads
You may post replies
You may not post attachments
You may not edit your posts

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On Forum Jump
HTML code is Off Digital ClassRoom Go

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
สมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - คิด..กอน..กด..ชัตเตอร.. Page 11 of 11

All times are GMT +7. The time now is 10:09.

Contact Us - The Royal Photographic Society of Thailand under The Royal Patronage of H.M. The King -
Archive - Top

Powered by: vBulletin Version 3.0.3


Copyright ©2000 - 2005, Jelsoft Enterprises Ltd.

http://www.rpst-digital.org/forum/showthread.php?t=1995 17/12/2548
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 1 of 7

--------คนหา-------- Search

 
 

» การเลือกซื้อกลองดิจิตอล - เลือกซื้อกลองอยางไรใหโดนใจ
กลอ งถายภาพดิจิตอลนั้นมีหลายยี่หอที่ผลิตออกมาใหผูใชงานไดเลือกใชกัน บางยี่หอก็เปนที่รูจักและคุนเคยกันดี บางยี่หอก็เปน
แบบ OEM บางยี่หอก็มีการนําเขามาขายในบานเราไดพักหนึ่งแลวก็หายไป หรืออะไรก็แลวแต ก็เลยนํายี่หอตางๆ ที่มีอยูมาใหดู
กัน
Agfa DXG Konica Minolta Nikon Sealife
Aiptek Epson Kyocera Nokia Sharp
Archos Ezonics Labtec Olympus Sigma
Argus FUJI LARGAN Oregon Scientific Sipix
Avermedia Gateway Leica SNAP
Bell & Howell Hawking Lifeview palmOne Sony
HP Logitech Panasonic Sprint
Benq IBM Mattel Pentax Toshiba
Buslink Intel Meade PictureTel Unibrain
Canon IXLA MERCURY Polaroid VEO
Casio Jazz Micro Innovations RCA Visio
Concord JVC Relisys Visioneer
Contax Kb Gear Microtek Ricoh
Cool-Icam Kensington Minox Samsung Vivitar
Creative Labs Mustek Sanyo Zoom
Kicker Nexian Sea Life
D-link Kodak
Dakota

หลายคนอาจจะแปลกใจ โอว...พระเจากลองมียี่หอมากมายขนาดนี้เลยหรือ ซึ่งก็เปนความจริงครับ แตบางยี่หอก็ไมมีจําหนายใน


บานเรานะครับ

กลอ งดิจิตอลนั้นเริ่มมีบทบาทในชีวิตของเรามากขึ้นและก็ทําการแพรหลายไปยังอุปกรณตางๆ มากขึ้นดวย ซึ่งสิ่งที่เห็นและรับรูได


มากที่สุดก็คือ ในเครื่องโทรศัพท แมวาจะมีความละเอียดที่ไมสูงนักแตนั่นก็ถือวาเปนแนวทางที่ดีที่จะไดมีการพัฒนาความ
สามารถตอยอดใหดีมากยิ่งขึ้น
มาเขาเรื่องกลองดิจิตอลของเราตอ กลองดิจิตอลที่เปนกลองดิจิตอลเพรียวนั้นไดรับการพัฒนาความสามารถใหสูงขึ้นและใน
อนาคตอาจจะมาแทนกลองฟลมเลยก็ได เนื่องจากมีตนทุนในระยาวที่ต่ําและมีความสะดวกในการใชงาน กอปรกับสามารถที่จะนํา
ภาพที่ถายไปใชงานยังสวนอื่นๆ ไดทันทีอีกดวย ไมวาจะเปนการสงอีเมลล, การนําภาพมาประกอบรายงาน เปนตน

ประเภทของกลองดิจิตอล

ตัวอยางกลองแบบ Ultra Compact

Canon Digital IXUS 700 Casio Exilim EX-Z750 Sony DSC-T7

ตัวอยางกลองแบบคอมแพค (Compact)

Canon PowerShot A520 Nikon Coolpix 7900 Panasonic DMC-LZ2

ตัวอยางกลองแบบ SLR-Like

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\Z7U4HZFM.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 2 of 7

Konica Minolta DiMAGE A200 Nikon Coolpix 8800 Sony DSC-H1

ตัวอยางกลองแบบ Digital SLR ที่สามารถถอดเปลี่ยนเลนสได

Nikon D70s Canon EOS 350D Olympus E-300

กอนอื่นเรามารูจักประเภทของกลองดิจิตอลกัน ซึ่งมีอยู 2 ประเภทใหญๆ คือ กลองแบบคอมแพค (Compact) เปนกลองที่พรอม


ใชแบบสําเร็จรูป ใชงานไดงายไมจําเปนตองปรับแตงหรือเปลี่ยนแปลงอะไรมาก เนื่องจากมีฟงกชันใหใชงายๆ โดยสมบูรณแบบ
อยูแลว ไมวาจะเปน P/A/S/M หรือ Auto (อัตโนมัติ), Portrait (ถายภาพบุคคล), Landscape (ถายภาพวิว), Sports (ถายภาพ
กีฬา), Night scene (ถายภาพกลางคืน) เหมาะสําหรับผูที่เพิ่งเริ่มใชงานกลองดิจิตอล อีกแบบหนึ่งก็คือกลองแบบดิจิตอล SLR
โดยกลองแบบนี้จะมีลักษณะที่คลายกับกลองฟลมก็คือสามารถที่จะถอดเปลี่ยนเลนสได และมีฟงกชันในการใชงานที่มากกวา
กลอ งแบบคอมแพค แตจะมีขอดีที่สามารถถายภาพไดความคมชัดที่ดีกวา สวนในเรื่องของราคานั้นกลองแบบคอมแพคจะมีราคา
ที่ถูกกวากลองแบบดิจิตอล SLR

ในทองตลาดก็ไมไดมีเพียงกลองแบบคอมแพคและกลองดิจิตอล SLR เพียงเทานั้น แตยังมีกลองอีกประเภทที่เขามาแทรกตรง


กลางระหวางกลองแบบ Compact กับกลองดิจิตอล SLR ซึ่งหลาย ๆ คนมักเรียกกวากลองแบบ Semi-Pro หรือ SLR-like หรือกึ่ง
มืออาชีพนั่นเอง โดยกลองประเภทนี้สวนใหญแลวจะมีหนาตาเหมือนกับกลองถายรูปแบบ SLR แตวาเลนสไมสามารถถอดเปลี่ยน
ได แตวาเลนสที่ใชจะมีคุณภาพและคุณสมบัติของการใชงานไดดีกวากลองแบบคอมแพค ซึ่งกลองแบบนี้ก็เริ่มไดรับความนิยม
มากขึ้น เพราะราคาไมสูงจนเกินไป (อาจจะสูงกวากลองแบบคอมแพคแตไมแพงถึง SLR)

ดูไรบางกอนซื้อ ?
กลอ งดิจิตอลนั้นก็จะมีรายละเอียดหรือคุณสมบัติมากมายในแตละตัว ซึ่งรายละเอียดเหลานี้ก็จะเหมือนหรือแตกตางกันบาง เราก็
มาดูกันวากลองนั้นมีรายละเอียดอะไรบาง

Format (ประเภทของกลอง)
ประเภทของกลองสวนใหญแลวก็จะมีอยู 2 แบบ คือ Compact กับ SLR สวนอื่นๆ ก็เปนรูปแบบที่ผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองความ
ตองการของผูใชงานโดยใชการประยุกตจากกลองแบบ Compact กับ SLR นั่นก็คือ SLR-like, Compact swivel, Ultra Compact
และ Ultra Compact swivel

Also known as (ชื่อเรียกอื่นๆ)


กลอ งบางรุนนั้นมีการผลิตขึ้นมาแลวมีการจําหนายในประเทศตางๆ ก็จะมีการใชชื่อที่จําหนายในประเทศนั้นๆ ไมเหมือนกัน แตเปน
กลอ งรุนเดียวกัน โดยยี่หอที่พบปลอยที่สุดก็คือ Canon กับ Olympus

Camera body (วัสดุของตัวกลอง)


วัสดุของตัวกลองนั้นเปนสวนหนึ่งที่สําคัญที่จะทําใหกลองนั้นมีความทนทานแข็งแรง ซึ่งในการเลือกซื้อนั้นตองสังเกตจากตรงนี้
ดวย โดยในสวนนี้กลองสวนใหญจะทํามาจากแมกนิเซียมอัลลอยดหรือพลาสติกผสมหรือกึ่งโลหะกึ่งพลาสติกเพื่อใหมีความทน
ทานและมีน้ําหนัก เบา ซึ่งถาเปนโลหะอยางเดียวก็จะมีน้ําหนักที่มากเกินไป

Resolution (ขนาดของภาพ)
จะเปนตัวบอกความสามารถของกลอ งอีกสวนหนึ่งแมวาจะไมสวนที่สําคัญมากนัก ก็ตาม เนื่องจากขนาดของภาพที่ตัวกลองทําได
ในหลายๆ ขนาดในกลองแตละรุนอาจจะไมเหมือนกัน ซึ่งตรงนี้ผูใชงานอาจจะมองที่ตัวกลองไมเห็นตองอาศัยอานจากคูมือหรือ
ทดลองถายภาพดวนตนเอง เชน กลอง 2 รุนมีความละเอียดในการถายภาพที่ 8 ลานพิกเซลเหมือนกัน แตขนาดของภาพที่
สามารถเลือกไดจากกลองไมเหมือนกัน คือ บางรุนอาจจะเลือกไดที่ 3264 x 2448, 2592 x 1944, 2048 x 1536, 1600 x
1200, 1280 x 960, 1024 x 768, 640 x 480 พิก เซล แตบางรุนอาจจะเลือกไดที่ 3264 x 2448, 2592 x 1944, 2288 x 1712,
2048 x 1536, 1600 x 1200, 1280 x 960, 1024 x 768, 640 x 480 พิก เซล (แตขนาดสูงสุดจะเทากัน 3264 x 2448 =
7990272) ซึ่งถาผูใชงานที่จะเลือกซื้อตองการขนาดภาพที่หลากหลายก็ใหเลือกกลองที่สามารถใหขนาดภาพไดมากๆ ก็ไมผิด
อะไร

Effective pixels (ความละเอียดที่ใชงานจริง)


ความละเอียดที่ใชงานจริง เปนความละเอียดของตัวเซ็นเซอรที่สามารถในการบันทึกภาพได ซึ่งกลองแตละยี่หอ นั้นก็จะมี
Effective pixels (ความละเอียดที่ใชงานจริง) แตกตางกัน ยิ่งยี่หอใดที่มี Effective pixels มากก็จะทําใหสามารถถายภาพไดที่
ขนาดมาก สําหรับความละเอียดตรงนี้ก็เปนสวนที่บอกถึงประสิทธิภาพของกลองได และในการเลือกซื้อก็ควรที่จะดูตรง Effective
pixels นี้ โดยกลองที่มี Effective pixels ตางกันก็จะมีราคาที่ตางกันดวย ซึ่ง Effective pixels ที่ระดับ 3.0 ลานพิกเซล ราคา
ของกลองก็จะอยูในชวง ต่ํากวา 10,000 ถึง 12,000 บาท สวนกลองที่มี Effective pixels ที่ 4.0 ลานพิกเซล ราคาของกลองก็จะ
อยูในชวง 12,000 ถึง 15,000 บาท สวนกลองในระดับ 5.0 ลานพิกเซล ราคาก็จะอยูในชวง 15,000 ถึง 20,000 บาท สวนกลอง
ที่มีความละเอียดในระดับ 6.0 - 8.0 ลานพิกเซล ราคาจะอยูในชวง 25,000 - 40,000 บาท อีกอยางหนึ่งที่เปนที่สังเกตก็คือ
กลอ งที่มีความละเอียดต่ํากวา 8.0 ลานพิกเซลที่สามารถจะตอแฟลชภายนอกราคาก็จะแพงกวาปกติประมาณ 3,000 บาท

ในการเลือกพิจารณาความละเอียดของกลองมาใชงานก็ใหดูลักษณะของการใชงานเปนหลัก ถาผูใชงานตองการที่จะถายภาพ
เพื่อที่จะทําการสงอีเมลลไปใหเพื่อนๆ หรือคนอื่นๆ ที่อยูหางไกลออกไปดูความละเอียดในระดับ 3 ลานพิกเซลก็สามารถที่จะถาย
ไดดี และราคาก็ไมแพงจนเกินไป ถาตองการนําไปอัดเปนภาพ 4x6 นิ้ว หรือพิมพดวยเครื่องพิมพ Photo นาจะใชกลองที่มีความ
ละเอียดในระดับ 5 ลานพิกเซลดีกวา สวนกลองในระดับ 8.0 ลานพิกเซลนั้นก็ใชสําหรับงานที่ตอ งการความละเอียดของงานสูงๆ
หรือไมก็ใชกลองดิจิตอลแบบ SLR ไปเลยก็จะไดภ าพที่สวยงามและมีความหลากหลายของงานที่ดีกวา แตกลองดิจิตอลแบบ
SLR นั้นที่ความละเอียดเทากับหรือใกลเคียงกับกลองแบบคอมแพคจะมีราคาแพงกวากันอยูประมาณ 2-3 เทาตัวเลย

Sensor photo detectors (ความละเอียดของเซ็นเซอร)


เปนความสามารถของตัวเซ็นเซอรของตัวกลองที่รับภาพได โดยความละเอียดนี้จะเปนความละเอียดที่ผลิตออกมาจากโรงงาน

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\Z7U4HZFM.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 3 of 7

และสวนใหญนั้นก็จะเปนเปนความละเอียดที่ติดอยูขางกลอง เชน 17.2 ลานพิกเซล (16.6 ลานพิกเซล - Effective pixels), 3.3


ลานพิกเซล (3.2 ลานพิกเซล - effective pixels) เปนตน

Sensor type (ประเภทของเซ็นเซอร)


เซ็นเซอร เปนสวนที่มีความสําคัญสําหรับกลองถายภาพเปนอยางมากหรืออาจจะกลาวไดวาเปนหัวใจหลักเลยก็ได เนื่องจาก
เซ็นเซอรนี้จะเปนตัวรับภาพและทําการแปลงเปนสัญญาณดิจิตอลไปประมวลผลเก็บลงสื่อ บันทึกขอมูล โดยเซ็นเซอรก ็จะเปนตัว
บอกถึงความละเอียดในการถายภาพของตัวกลองวาจะสามารถถายภาพไดที่ความละเอียดเทาไร สําหรับเซ็นเซอรที่นิยมใชกันก็
จะมีอยู 2 แบบคือ CCD และ CMOS ซึ่งก็มีขอแตกตางกันที่วา CCD จะกินไฟมากกวา CMOS แตก็ใหความละเอียดมากกวา
CMOS ถึงอยางไรก็ตาม CMOS ก็ไดรับการพัฒนาใหมีความสามารถสูงขึ้นเรื่อยๆ และมีความละเอียดมากขึ้นแตก็ยังมีใชในกลอง
ไมมากนัก นอกจากของทาง Canon

Sensor size (ขนาดของเซ็นเซอร)


เปนขนาดของตัวรับภาพ ซึ่งจะมีการวัดตามแนวของเสนทแยงมุม เชน 1/3.2 นิ้ว (4.54 x 3.42 มม.), 1/1.8 นิ้ว (7.18 x 5.32
มม.) เปนตน ซึ่งจากตัวอยางนั้น ขนาดของเซ็นเซอร 1/1.8 นิ้ว จะมีขนาดที่ใหญกวา 1/3.2 นิ้ว

Sensor manufacturer (เซ็นเซอรที่ใชงาน)


สวนมากแลว เซ็นเซอรที่ใชงานของกลองยี่หอไหนก็จะเปนเซ็นเซอรของยี่หอนั้นๆ ไปเลย เนื่องจากจะไดมีการรองรับการทํางาน
ที่ดี เชน กลองของ Canon ก็ใชเซ็นเซอรของ Canon, กลอ งของ Nikon ก็ใชเซ็นเซอรของ Nikon เปนตน แตก็อาจจะมีบางยี่หอ
ที่ใชเซ็นเซอรของยี่หออื่นโดยสวนมากนั้นก็จะเปนกลองแบบ OEM สะสวนมาก

ISO rating (ความไวแสง)


ความไวแสงเปนตัววัดประสิทธิภาพของกลองอีกตัวหนึ่ง โดยในการเลือกซื้อก็ใหเลือกซื้อชวงของ ISO ที่มีคาใหหางกันพอ
สมควร เชน 50 กับ 400 หรือ 100 กับ 800 เปนตน แตสวนใหญแลวกลองแบบคอมแพคนั้นจะมีคาไวแสงอยูที่ Auto, 50, 100,
200, 400 สวนกลองแบบ SLR นั้นคาความไวแสงจะสามารถปรับไดตามความตองการ เชน 100 - 1600 ครั้งละ 1/3 stops เปน
ตน ขอดีของคา ISO นอยก็คือ จะทําใหสามารถถายภาพไดคมชัดดีกวา ISO สูงแตถายภาพในที่มืดไมคอยดีนัก สวนคา ISO สูงก็
จะมีสวนดีที่ทําใหสามารถถายภาพในสภาวะแสงนอยไดดีแตความคมชัดของภาพนั้นจะลดลงไป แตกลองในปจจุบันนั้นก็ไดทํา
การพัฒ นาระบบที่เรียกวา Noise Reduction ขึ้นมาเพื่อที่จะแกปญหาในสวนนี้ แตระบบนี้ของกลองแตละตัวก็จะมีการทํางานที่ไม
เหมือนกันแลวแตเทคโนโลยีที่คิดคนกันขึ้นมา

Zoom wide - tele (W) - (T), Digital zoom (อัตราการซูม, ดิจิตอลซูม)


การซูมของเลนส นั้นก็จะมีการซูมอยู 2 แบบ ก็คือการซูมแบบออฟติคอล และการซูมแบบดิจิตอล โดยการซูมแบบอ
อฟติคอลนั้นก็จะเปนการซูมจริงของตัวกลองที่เกิดจากกระบวนของเลนส ยิ่งกลองที่มีความสามารถในการซูมออฟติ
คอลมากเทาไรตัวกลองก็จะมีราคาที่สูงขึ้นมากไปดวย สวนการซูมแบบดิจิตอลนั้นเปนการซูมโดยใชตัวซอฟตแวร
ขยายขึ้นมาอีกทีหนึ่งซึ่งจะทําใหภาพที่ออกมานั้นไมชัดเทาไรนัก อาจจะไมม ีความจําเปนมากนักโดยถาจะเลือกซื้อก็
ใหเลือกซื้อการซูมแบบดิจิตอลนอ ยๆ เอากลองที่ม ีการซูมแบบดิจิตอลมากๆ จะเปนการดี แตในการเลือ กอัตราการ
ซูมของกลองก็จะตองดูดวยเนื่องเหลาบรรดาผูผลิตนั้นอาจจะมีการแสดงคา
ของการซูมรวมกันมาก็ได เชน 30x ซึ่งอาจจะหมายถึง ซูมแบบออฟติคอลได 10x และซูมดิจิตอลได 3x หรืออาจ
จะเปนซูมแบบออฟตอคอลได 6x และซูมดิจิตอลได 5x โดยทั้งสองกรณีนี้ก็สามารถที่จะรวมได 30x เหมือนกันแลว
เราจะเลือกอยางไรละ? ก็บ อกไดเลยวาใหเลือกกลองที่ม ีความสามารถในการซูมแบบออฟติคอลใหมากๆ เขาไว ดัง
นั้นเราจึงตองเลือกกลอ งที่ซูมแบบออฟตอคอลได 10x และซูมดิจิตอลได 3x เนื่องจากการซูมแบบออฟติคอลนั้นก็
จะทําใหผูใชงานนั้นจับ ภาพไดความละเอียดที่ชัดเจนกวารวมถึงสามารถจับภาพวัตถุที่อยูไกลๆ ไดดีกวาดวย

Image stabilization (ระบบปองกันภาพสั่นไหว)

เปนระบบที่ชวยในการถายภาพเพื่อใหภาพที่ออกมา
นั้นนิ่งและมีความแมยําในการถายมากยิ่งขึ้นซึ่งระบบนี้
ก็เปนระบบที่คลายๆ กับกลองวิดีโอ โดยถาเลือกซื้อ
กลองที่มีระบบนี้ก็จะทําใหการถายภาพงายมากขึ้น แต
ในขณะเดียวกันก็จะมีราคาที่ส ูงขึ้นตามไปดวย
จากรูป เปนระบบ Anti Shake ของกลอง DiMAGE
A2 ที่ม ีการวาง CCD ใหเคลื่อนไหวไดทั้งแนวตั้งและ
แนวนอน

Auto Focus, Manual Focus (โฟกัสอัตโนมัติ, แมนนวลโฟกัส )


เปนระบบที่ที่ชวยใหผูใชกลองสามารถถายภาพไดงายขึ้น เนื่องจากตัวกลองนั้นจะทําการคนหาตําแหนงของวัตถุและจับภาพเอง
ซึ่งถาเปนระบบโฟกัสอัตโนมัติก็จะเปนการดีสําหรับผูใชงานกลองมือใหมหรือผูใชงานที่ไมตองการความยุงยากในการใชงาน และ
โดยสวนมากแลวกลองถายภาพดิจิตอลนั้นก็จะมีระบบ โฟกัสอัตโนมัติอ ยูดวยแลวทุกตัว สวนระบบแมนนวลโฟกัสนั้นก็จะเหมาะ
สํารับผูใชงานที่ตองการปรับการทํางานของกลองที่มากกวาปกติเพื่อใหไดภาพออกมาตามความตองการ โดยระบบแมนนวลโฟกัส
นั้นจะไมมีมากับกลองทุกรุนโดยเฉพาะกลองราคาถูก ฉะนั้นในการเลือกซื้อก็จะตองดูตามความเหมาะสมของการใชงานดวย

Auto focus type (ประเภทของการโฟกัส )


สวนนี้จะเปนระบบของตัวกลองที่จะเปนสวนชวยใหการทํางานของโฟกัส ซึ่งเปนระบบเชิงเทคนิคผูใชงานอาจจะไมตองสนใจมาก
ก็ไดในสวนอีก แตถาคนที่เปนมืออาชีพจะตองใหความสนใจเพราะจะหมายถึงคุณ ภาพและความแมนยําของภาพที่ออกมาดวย

Focus range (ระยะโฟกัส )


ระยะโฟกัสนั้นสวนมากแลวจะมีอยู 2 แบบ คือ ระยะการทํางานปกติ (Normal focus range) กับ ระยะมาโคร (Macro focus
range) โดยระยะนี้ก็จะขึ้นอยูกับความสามารถของตัวเลนสและระบบการทํางานของกลอง โดยตรงนี้อาจจะไมตองใหความสนใจ
มากนักก็ไดในสวนของกลองแบบคอมแพค แตสําหรับกลอ งแบบ SLR หรือ SLR-Like ก็ใหมามองในสวนของมาโครแทนเนื่อง
จากจะทําใหสามารถายภาพในระยะใกลๆ ไดดีมากยิ่งขึ้น เนื่องจากกลองแบบ SLR ที่มีการถายภาพแบบมาโครก็จะมีภาพแปลกๆ
มาใหเห็นอยูเสมอ

White balance (ไวทบาลานส หรือการปรับแสงขาว)


ไวทบาลานส นั้นเปนสวนชวยใหความถูกตองของภาพมีมากยิ่งขึ้น โดยคาไวทบาลานสของกลองแตละรุนนั้นอาจจะใหมาไม
เหมือนกันซึ่งจะตองไปลองที่รานเองหรือดูจากคูมือ ก็ได ซึ่งถาไปดูที่รานก็ใหดูจากเมนูของตัวกลองวามีอะไรบาง เชน Auto,
Daylight, Incandescent, Fluorescent, Cloudy, Speedlight, Shade หรือ Manual preset อะไรแบบนี้ซึ่งกลองที่มีคาของไวท
บาลานสใหเลือกมากๆ ก็จะทําใหเกิดประโยชนในการถายภาพ ณ สถานที่ตางๆ มากขึ้น

Aperture range (รูรับแสง)


เปนชองของตัวเลนสที่สามารถใหแสงผานเขาไปในตัวกลองได โดยคายิ่งมากก็จะรูรับแสงก็จะแคบ ในการเลือกซื้อก็ใหเลือกดู
กลอ งที่มีชวงของรูรับแสงหางกันสักหนอย เชน F2.4 - F8.0 กับ F3.5 - F8.0 ใหเลือกกลองที่มี F2.4 - F8.0 จะดีกวาเพราะใหคา
ของรูรับแสงที่กวางกวาคือ F2.4

Shutter Speed (ความเร็วชัตเตอร)


ความเร็วชัตเตอร เปนความเร็วในการเปด -ปดรูรับแสงตามชวงเวลาที่กําหนด เชน 15 วินาที - 1/4000 วินาที หมายถึงมีชวงระยะ
เวลาในการเปดมานชัตเตอรรับแสงนานสุดที่ 15 วินาที และมีชวงระยะเวลาในการเปดมานชัตเตอรรับแสงเร็วที่สุดที่ 1/4000
วินาที สําหรับกลองบางรุนจะมีฟงกชัน Bulb ซึ่งก็หมายถึงใหผูใชงานสามารถที่จะกดชัตเตอรคางไวตามความตองการของตนเอง
ไดซึ่งถากลองมีฟงกชันนี้ก็จะเปนประโยชนมากสํารับการถายภาพในเวลากลางคืน โดยสวนใหญแลวกลองแบบคอมแพคนั้นจะมี

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\Z7U4HZFM.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 4 of 7

ฟงกชันนี้บางรุนเทานั้น แตก ลอ งแบบ SLR จะมีฟงกชันนี้รวมอยูดวย ฉะนั้นในการเลือกซื้อก็ใหดูชวงหางของความเร็วต่ําสุดและ


สูงสุดใหหางกันมากๆ จะเปนการดี เชน เชน 15 วินาที - 1/4000 วินาที กับ 30 วินาที + Bulb - 1/8000 วินาที ก็ใหเลือกกลองที่
ความเร็วชัตเตอร 30 วินาที + Bulb - 1/8000 วินาที ดีกวา

Built-in Flash, External flash (แฟลชที่มาพรอมตัวกลอง, แฟลชภายนอก)

ตัวอยาง Flash Build-in ที่มากับตัวกลอง

ตัวอยาง Flash ที่ใชงานภายนอก

แฟลชที่มาพรอมตัวกลอง นั้นสวนใหญแลวก็จะสามารถชวยในการถายภาพในทีที่แสงนอยไดระดับหนึ่งแตอาจจะทํางานไดไมดี
นักสําหรับกลองแบบคอมแพค แตถาถามวาถายแลวใชงานไดไหม ก็บอกวาได แตความสามารถของแฟลชที่มากับตัวกลองนั้นจะ
สูแฟลชภายนอกไมได เนื่องจากมีความสามารถในการทํางานที่ดีกวา ซึ่งกลองที่ใชงานแฟลชภายนอกก็จะมีอ ยู 2 แบบ คือกลอง
แบบคอมแพคที่เปนแบบกึ่ง Semi-Pro กับกลองดิจิตอล SLR แตสวนใหญแลวแฟลชภายนอกจะนิยมใชงานกับกลองดิจิตอลแบบ
SLR มากกวาเพราะเมื่อมองลักษณะการใชงานโดยรวมจะใหความคุมคาที่มากกวา สวนการดูในสวนนี้ก็ใหดูระยะการทํางานของ
แฟลชวาอยูในชวงใดใหเลือกชวงที่มากๆ ไวกอน

สําหรับแฟลชที่ใชงานภายนอกนั้นก็จะมีราคาและความสามารถที่แตกตางกันไปในแตละรุนแตละยี่หอ และอาจจะไมสามารถที่จะ
นํามาใชงานดวยกันได เชน แฟลชของ Nikon ก็จะใชงานกับกลองของ Nikon เปนตน อีกอยางหนึ่งสําหรับกลองที่ใชงานแฟลช
ภายนอกก็จะมีงบประมาณที่สูงกวากลองแบบคอมแพคอยูมาก ซึ่งราคาของแฟลชนั้นอาจจะซื้อกลองแบบคอมแพคไดอีกตัวหนึ่ง
เลย

Flash modes (โหมดการทํางานของแฟลช)


โหมดการทํางานของแฟลช นี้ก็จะมีอยู 2 แบบคือโหมดการทํางานของแฟลชแบบที่มากับตัวกลอง กับโหมดการทํางานของ
แฟลชที่เปนแฟลชภายนอก ซึ่งอาจจะมีการทํางานที่ตางๆ หรือเหมือ นกันก็ได ซึ่งในสวนนี้ก็ไมตองใหความสําคัญมากนัก ยกเวน
คนที่ใชงานกลองดิจิตอล SLR ที่อาจจะมีลัก ษณะใชงานแทนกลองฟลมเพื่อใหภาพที่ถายนั้นออกมาดี มีความคมชัด มีการใหแสง
เงาที่ดี ตัวอยางโหมดการทํางานของแฟลชที่มีก็คือ Auto, On, Off, Manual (Red Eye On/Off)

Exposure compensation (การปรับชดเชยแสง)


การปรับชดเชยแสง เปนอีกสวนหนึ่งในความสามารถของกลองซึ่งก็มีสวนที่ชวยใหการถายภาพนั้นไดภาพออกมาดียิ่งขึ้น เนื่อง
จากสภาพแสงหรือบรรยากาศในการถายภาพขณะนั้นไมเหมาะสมหรือไมไดดังใจผูใชงานก็สามารถที่จะปรับชดแสงได โดยสวน
มากแลวจะมีการปรับคาในทาง + และ - ซึ่งถาปรับไปในทาง + ก็จะทําใหความสวางของภาพมากเกินกวาความจริงหรือที่เรียกกัน
วา Over ถาปรับไปในทาง - ก็จะทําใหความสวางของภาพลดลงกวาภาพจริงหรือที่เรียกวา Under โดยสวนมากแลวกลองแบบ
คอมแพคทั่วไปจะมีการปรับคาชดแสงอยูที่ -2EV ถึง +2EV ครั้งละ 1/3EV แตสําหรับกลอง SLR นั้นจะสามารถปรับไดมากกวา
เชน -3EV ถึง +3EV ครั้งละ 1/3EV หรือ 1/2EV

Metering (การวัดแสง)
การวัดแสง เปนลักษณะการทํางานของกลองเพื่อทีจะใชในการวัดแสงที่ตกกระทบกับวัตถุ ซึ่งก็จะมีผลกับภาพที่ออกมาดวย ซึ่ง
ถาใครที่ชอบถายในโหมด Auto หรือ อัตโนมัติอาจจะไมตองสนใจเพราะตัวกลองนั้นจะจัดการใหหมดแลว แตถาตองการถายภาพ
แบบแมนนวลก็จะตองใชการวัดแสงแบบปรับแสงหรือแมนนวลซึ่งสวนใหญแลวก็จะมีการวัดแสงแบบ Evaluative (แบงพื้นที่),
Center Weighted (เฉลี่ยหนัก กลาง), Spot (เฉพาะจุด )

Continuous Drive (การถายภาพตอเนื่อง)


การถายภาพตอเนื่อง อาจจะไมมีความจําเปนสําหรับคนที่กดแลวถายหรือใชงานในโหมด Auto แตสําหรับคนที่ตองการความ
แปลกใหมของภาพอาจจะมีความจําเปนเพราะจะไดภ าพเปน Shot-Shot ไปที่มีความตอเนื่องของภาพ ซึ่งถามีความจําเปนที่ตอง
การใชงานก็ใหเลือกที่มีความเร็วในการทํางานที่สูงๆ หนอยและสิ่งที่ตองทราบก็คือ การถายภาพตอเนื่องนี้จะมีการเก็บภาพที่ถาย
ไวที่หนวยความจําของตัวกลองกอนจากนั้นก็ทําการบันทึกลงสื่อบันทึกขอมูลในภายหลังเพื่อความเร็วในการทํางาน

Movie Clips (การถายภาพวิด ีโอ)


การถายภาพวิดีโอ ของกลองถายภาพดิจิตอลนั้นไมคอยมีความจําเปนเทาไรนัก เพราะความสามารถนั้นไมเทากับกลองถายภาพ
วิดีโอ แมวาจะสามารถถายภาพไดชวยเลาหนึ่งก็ตาม และถาจะตองการความสามารถนี้ในกลอ งถายภาพดิจิตอลนั้นก็ใหเลือก
กลอ งที่สามารถถายภาพไดขนาดสูงๆ เชน ขนาด 640x480 พิก เซล และระยะเวลาในการถายก็ควรเลือกแบบไมจํากัดเวลาเพราะ
จะไดไมตองมากดถายบอย

Storage types (สื่อบันทึกขอมูลที่ใชงาน)


สื่อบันทึกขอมูลรูปแบบตางๆ

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\Z7U4HZFM.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 5 of 7

Compact Flash (CF) Secure Digital Card (SD)

xD Picture Card Smart Media (SM)

Multi Media Card (MMC) Memory Stick Pro

Memory Stick Pro Duo Memory Stick

สื่อบันทึกขอมูลที่ใชงานเปนสวนที่ผูใชงานนั้นตองใหความสําคัญสักเล็กนอย เนื่องจากกอนที่จะเลือกซื้อกลอ งก็ใหหันกลับมา


มองอุปกรณไอทีของเราที่ใชอยูกอนวาใชสื่อบันทึกขอมูลชนิดใด และก็ใหซ ื้อกลองที่ใชสื่อบันทึกขอมูลที่ตรงกันมาใชงานจะดี
กวา เพราะจะทําใหเกิดความสะดวกและลดตนทุนไปไดสวนหนึ่ง แตสวนนี้ก็ไมไดกําจัดอยูแคตรงนี้โดยถาไปซื้อ กลองแลวถูกใจ
ตรงกับความตองการ สื่อบันทึกขอมูลอาจจะไมตองตรงกับของที่มีใชอยูแลวก็ได โดยสื่อบันทึกขอมูลที่เห็นๆ กันอยูก็จะมี
Compact Flash (Type I or II), SD card, MMC Card, Smart Media, Memory Stick, xD Picture Card

Viewfinder (ชองมองภาพ)
ชองมองภาพเปนสวนที่ใชการมองภาพโดยจะมีลักษณะที่คลายๆ กับกลองฟลม ซึ่งในปจจุบันนี้กลองไดมีการพัฒ นาความสามารถ
ไปมากโดยชองมองภาพนี้ก็จะมีการทําเปนระบบอิเล็กทรอนิกส ก็คือ ผูใชงานจะเห็นลักษณะการทํางานเหมือนกับเห็นที่จอ LCD
เลยก็จะทําใหผูใชงานเกิดความสะดวกและชวยประหยัดพลังงานดวยเนื่องจากไมตองเปดจอ LCD มาดู และก็มักจะเรียกการทํา
งานแบบนี้วา EVF ซึ่งกลองสวนมากที่จะมีการทํางานแบบนี้จะเปนกลองดิจิตอลแบบ SLR เสียเปนสวนมาก แตกลองแบบ SLR-
Like ก็มีเหมือนกัน

LCD (จอ LCD)


ตัวอยางจอ LCD ที่อยูทางดานหลังกลอง

Sony DSC-F828

ตัวอยางจอ LCD ที่สามารถพับและหมุนบิดได

Konica Minolta DiMAGE A200

จอ LCD เปนสวนที่ทําใหผูใชงานนั้นมองเห็นภาพที่ตองการจะถายรวมถึงเมนูหรือคําสั่งตางๆ ที่ใชในการปรับการทํางาน ในการ

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\Z7U4HZFM.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 6 of 7

เลือกซื้อบอกไดเลยวาจอ LCD นี้ตองไปเห็นไปจับที่รานอยางเดียวเลย เพราะจะทําใหผูที่ตองการซื้อเห็นดวยตาวาภาพที่เห็นจาก


จอ LCD นี้ชัดเจนมากนอยเพียงใด ยิ่งจอ LCD ที่มีขนาดใหญและมีความคมชัดมากเทาไรราคากลองก็จะสูงตามไปดวย ซึ่งปกติ
หนาจอก็จะอยูที่ 1.5 นิ้ว

I/O Port (พอรตการเชื่อมตอภายนอก)


พอรตการเชื่อมตอภายนอก นั้นก็มีความสําคัญจริงๆ อยู 1 พอรต ก็คือ พอรตที่เชื่อ มตอกับเครื่อ งคอมพิวเตอร ก็จะมีอ ยู 2 พอรตก็
คือ USB กับ Firewire (IEEE 1394) สําหรับกลองแบบคอมแพคนั้นจะมีพอรตการเชื่อมตอแบบ USB ถาซื้อก็ใหดูดวยวาลองรับ
USB 2.0 หรือไม สวนพอรตแบบ Firewire (IEEE 1394) นั้นจะมีการเชื่อมตออยูในกลองแบบ SLR บางรุนบางยี่หอเทานั้น แต
สวนที่เหมือนกันของทั้งกลองคอมแพคและ SLR ก็คือ จะมีพอรต Video out สําหรับตอกับโทรศัพท และ สาย AC Adapter
สําหรับเสียบใชไฟภายนอก

Uncompressed, Compressed format (โหมดการบันทึกภาพ)


ในการบันทึกภาพของกลองนั้นก็มีอยูหลายๆ แบบแตก็ไมมากนักซึ่งกลองบางรุนอาจจะใชรูปแบบของการบันทึกตามโหมดขนาด
ของรูปภาพก็ไดโดยโหมดการบันทึกภาพที่นิยมใชกันก็จะมีแบบ JPEG, TIFF และแบบ RAW โดยแตละแบบนั้นก็จะมีขอดีขอเสีย
ที่แตกตางกันออกโดยซึ่งไฟลแบบ JPEG นั้นก็จะมีขนาดที่เล็กที่สุดเมื่อเทียบกับ TIFF และแบบ RAW แตการบันทึกขอมูลขอ
แบบ RAW นั้นก็มีขอดีที่สามารถนําภาพนั้นมาตกแตงแกไขหรือดัดแปลงในสวนของคาตางๆ ได เชน ความเพี้ยนของสีหรือความ
ไมคมชัดของภาพ แตในขณะเดียวกันกลองราคาต่ํามักจะไมมีโหมดการบันทึกภาพแบบนี้มาให ซึ่งในการถายภาพนั้นก็จะตองดู
ความจําเปนดวยเราตองการที่จะบันทึกภาพแบบไหน

Battery (แบตเตอรี่ที่ใชงาน)
ตัวอยางกลองที่ใชแบตเตอรี่แบบอัล คาไลน ขนาด AA

Canon PowerShot A520 Fuji FinePix E550

ตัวอยางกลองที่ใชแบตเตอรี่แบบลิเธียม-ไอออน

Panasonic DMC-FZ5 Canon EOS 350D

แบตเตอรี่ที่ใชงานกับกลองถายภาพดิจิตอลนั้นสวนใหญก็จะมีอยู 3 แบบ คือ แบบลิเทียมไอออน, แบบ AA และแบบ AAA ซึ่ง


แบตเตอรี่แบบลิเทียมไอออนนั้นจะเปนแบตเตอรี่แบบเฉพาะสามารถใชงานไดเฉพาะรุนนั้นเทานั้นไมสามารถที่จะใชงานกับรุนอื่น
ไดและมีราคาที่แพงแตสามารถใชงานไดนานกวา สวนแบบ AA และแบบ AAA นั้นก็จะมีราคาที่ถูกกวา ซึ่งก็ขอแนะนําใหใชแบบ
Ni-MH จะดีกวาเพราะสามารถชารจไฟไดถึงแมวาจะมีราคาที่แพงกวาอัลคาไลนแตก็มีราคาที่ถูกกวาแบบลิเทียมไอออนแตก็จะมี
ขอเสียก็คือ จะทําใหตัวกลองนั้นมีน้ําหนักกวากลอ งที่ใชแบตเตอรี่แบบลิเทียมไอออน

Dimensions, Weight (ขนาด น้ําหนัก)


ขนาด น้ําหนัก มีกลองจํานวนไมนอยที่ใหความสําคัญกับเรื่องนี้เหมือนกัน เนื่องจากตองการใหกลองถายภาพของตนเองสามารถ
ที่ใชงานพรอมกับสามารถที่จะพกพาไดสะดวก ซึ่งตัวกลองนั้นก็จะมีน้ําหนักอยูที่ประมาณ 120 กรัมถึง 1.2 กิโลกรัม เมื่อกลองที่มี
น้ําหนักเบานั้นก็จะมีขนาดที่เล็กมีความสะดวกในการพกพาหรือใชงานแตในขณะเดียวกันฟงกชั่นตางๆ ก็อาจจะมีนอยรวมถึงปุมใช
งานตางๆ ก็อาจจะตองตัดออกไปเพื่อใหเกิดความงายและสะดวกแตในขณะเดียวกลองที่มีน้ําหนักมากขึ้นมาหนอยก็อาจจะมี
ฟงกชันตางๆ ที่เพิ่มขึ้นมามากหนอยแตอาจจะทําใหพกพาไมสะดวกหนักเนื่องดวยน้ําหนักของตัวกลองเองและพลังงานที่ใชงาน
ดวย กอปรกับขนาดและน้ําหนักนั้นก็จะทําใหมีลักษณะของการออกแบบนั้นแตกตางกันไปซึ่งก็จะทําใหเกิดลักษณะของตัวกลอง
ตางๆ ออกมาเพื่อใหดูสวยงามมากที่สุด

Menu (ลักษณะของเมนู)
ในการเลือกใชกลองสวนหนึ่งที่มีความสําคัญเหมือนกันก็คือเมนูเนื่องจากเปนสวนหลักหรือสวนพื้นฐานที่จะใชในการปรับการทํา
งานตางๆ ของตัวกลองเชน ความละเอียด, ลักษณะการถายภาพ, โหมดการถายภาพ, แฟลช หรือรูรับแสง และในขณะเดียวกันก็
จะเกี่ยวโยงถึงการดูภาพที่ถายไปแลวดวย ซึ่งก็ไมใชวากวาจะถายภาพไดตองมีการปรับโนนปรับนี่ตางๆ มากมาย ในสวนของตรง
นี้ก็จะตองไปลองสัมผัสหรือใชงานที่รานดูวาลักษณะของเมนูของกลองแตละตัวนั้นเปนอยางไร แตสําหรับเมนูที่มีลักษณะโดดเดน
ที่สุดของกลองก็คือการดูภาพ (playback) ซึ่งจะตองทําใหงายหรือใชขั้นตอนนอยที่สุดในการทํางานโดยถาปุมดูภาพใชงานยาก
แลวปุมการทํางานอื่นๆ ก็คงจะไมตองพูดถึงวาจะเปนอยางไร และตัวเมนูนั้นตองครอบคลุมการทํางานในทุกๆ อยางตัวกลองดวย

ตัวอยางเมนูการใชงานของกลอง

Canon PowerShot SD500

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\Z7U4HZFM.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
Page 7 of 7

Nikon D50

ทิปเล็กนอยกอนเลือกซื้อ
จะเห็นไดวาสเปคของตัวกลองนั้นมีมากมายก็ขอใหศึกษารายละเอียดตางๆ กอนที่จะซื้อและดูใหรอบคอบ ซึ่งเมื่อ พรอมที่จะซื้อ
กลอ งกันแลวก็ขอสรุปทิปเล็กๆ นอยๆ เพื่อที่จะไดเปนแนวในการเลือกซื้อดังนี้

l ความละเอียดตรงตามความตองการใชงาน - กลอ งระดับ 2 ลานพิกเซลนั้นอาจจะไมใชกลองที่หลายๆ คนตองการแตมันก็


เปนกลองที่มีราคาถูก และใชงานงาย แตถาตองการนํามาพิมพภาพขนาดใหญสัก 8x10 นิ้วกลอ งระดับ 3 ลานพิกเซลอาจ
จะเหมาะสมกวาหรือกลองระดับ 4-5 ลานพิกเซลก็จะใหภาพที่มีขนาดใหญกวาและเกิดความผิดพลาดนอยกวาดวย
l มองที่แบตเตอรี่และแทนชารจ - ในสวนนี้จะเปนตนทุนระยะยาวของการใชงานกลองถายภาพซึ่งกลองบางรุน ใชแบบ AA
หรือบางรุนใชแบบเฉพาะก็จะมีลักษณะที่แตกตางกันแตแนะนําใหหาแบตเตอรี่ที่สามารถชารจไดมาใชก็จะเปนการประหยัด
ตนทุนไปไดมากหรืออาจจะมีอยางนอยสัก 2 ชุดก็ไดเพื่อที่จะเวลาหมดชุดหนึ่งชารจไวอ ีกชุดหนึ่งนําไปใชงานสลับกันก็จะ
ไดไมเสียเวลา
l การซูมแบบออฟติคอล - ตัวกลองนาจะสามารถทําการซูมแบบออฟติคอลไดอยางนอย 2x เพื่อใหการถายภาพนั้นมีความ
คมชัดมากขึ้นซึ่งโดยมากแลวกลองสวนใหญจะใหการซูมแบบดิจิตอลมาซึ่งผลของการซูมแบบดิจิตอลนี้ใหคุณภาพของ
ภาพออกมาสูการซูมแบบออฟติคอลไมได
l ระบบชวยโฟกัสในสภาวะแสงนอย - กลอ งถายภาพบางรุนจะมีในสวนนี้เพื่อที่จะทําใหการถายภาพนั้นงายขึ้นดังนั้นระบบนี้
จึงมีความสําคัญเมื่อถายภาพในที่ที่มีแสงนอยหรือในเวลากลางคืน
l ดูใหแนใจวาสามารถใชงานสื่อภายนอกได - กลอ งบางรุนนั้นจะมีหนวยความจําภายในมาใหแลว โดยที่ไมตองใชงานสื่อ
บันทึกขอมูลภายนอกทําใหเกิดความสะดวกอยางมาก แตในขณะเดียวกันอาจจะไมสามารถใชสื่อบันทึกขอมูลภายนอก ซึ่ง
อาจจะทําใหการถายภาพนั้นถายไดไมมากนักหรือจํากัดจํานวนเกินไป ดังนั้นใหดูกอนวามีชองตอสื่อขอมูลภายนอกหรือไม
และเปนแบบใดเพื่อที่จะไดเลือกซื้อใหถูกตามความตองการ
l หลีกเลี่ยงกลองที่ใช FDD หรือ compact discs ในการบักทึกขอมูล - ในสวนนี้ไมไดบักคับแตเปนการแนะนําซึ่งแมวา
FDD หรือ CD จะมีราคาที่ถูกและประหยัดก็ตามแตสื่อเหลานี้ไมสามารถที่จะบันทึกจํานวนภาพจํานวนมากๆ ไดและบันทึก
ภาพไดที่ความละเอียดไมสูงมากนักกอปรกับมีการทํางาที่ชากวาสื่อบันทึกขอมูลแบบอื่นๆ แตมีขอดีคือคาใชจายตางๆ จะ
ถูกกวาสื่อบันทึกขอมูลแบบอื่นๆ
l ลองใชกอนซื้อ - ของไมไดดูไมไดเห็นไมไดจับอยาซื้อ ถึงแมวาเราจะมีขอมูลมากแคไหนก็ตามแตถาไดไปสัมผัสหรือจับ
ของจริงลองเลนสักครั้งสองครั้งก็จะเปนสวนชวยใหก ารตัดสินใจในการเลือกทําไดมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็สามารถที่ใช
เทียบกับรุนอื่นๆ ก็ได ซึ่งสิ่งที่นาจะลองก็มีชวงเวลาของการถายภาพหลังจากกดชัตเตอรไปแลวใชระยะเวลานานหรือไม,
ทดลองการซูมวาสามารถทําไดดีเพียงใดทําไดนุมนวลรวดเร็วหรือไม, การหาจุดโฟกัสของภาพทําไดรวดเร็วแคไหน และ
จอ LCD มีความคมชัดและใชงานไดในสถานที่ตางๆ มากนอยเพียงใด
l ดูซ อฟตแวรที่ใหมาพรอมตัวกลอง - ในสวนนี้ก็จะเปนประโยชนในการแตงภาพหรือแกไขภาพใหไดตามความตองการโดย
ที่ไมตองไปหาซื้อซอฟตแวรเพิ่มเติมอยาง Adobe Photoshop Elements และ Ulead PhotoImpact
l จอ LCD ถาเปนไปไดใหเลือกจอที่มีความคมชุดสูงๆ ดูแลวสบายตา และควรจะมีชองมองภาพแบบ viewfinder เพื่อที่จะ
ชวยประหยัดพลังงานของตัวกลองได
l ลักษณะของการถายภาพเคลื่อนไหว - ในสวนนี้ก็ไมตองไปใหความสําคัญมากนักหรืออาจจะมองเลยผานไปก็ไดมีก็ดีไมมี
ก็เฉยๆ เนื่องจากการถายภาพเคลื่อนไหวดวยกลองถายภาพภาพนิ่งนั้นคอนขางที่จะมีการจํากัดอยูมากซึ่งถาคิดจะถายภาพ
เคลื่อนไหวในลักษณะของวิดีโอใหไปซื้อกลองแบบวิดีโอจะดีกวา
l เลือกสื่อบันทึกขอมูลที่จะใชงาน - สื่อบันทึกขอมูลนี้ก็เปรียบเสมือนฮารดดิสกที่บันทึกขอมูลของเครื่อ งคอมพิวเตอรเนื่อง
เปนสวนที่เก็บขอมูลภาพตางๆ กอนที่จะโอนเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรหรือสื่ออื่นๆ ซึ่งสื่อบันทึกขอมูลที่สามารถอานเขียนได
เร็วก็จะชวยประหยัดเวลาในการทํางานลงไปไดมากเลยทีเดียว

ขอมูลอางอิง :
- Buyer Guide - บทความการเลือกซื้ออุปกรณคอมพิวเตอรตางๆ

C om pa ny I Ser vi ce I Supp or t I C ont ac t I Supp l ie r W el c om e I Job s


Si te r eq ui r em en ts In te r net Exp l or er 6 . 0 +
© 200 4- 200 5 D C om pu t er C o . , Lt d . Al l ri gh t r es er ve d.
In fo rm a ti o n : in fo @ dc om p ut er .c om or
We bm as t er : w ebm a st er @ d com p ut er . com

file://C:\DOCUME~1\Mi\LOCALS~1\Temp\Z7U4HZFM.htm 9/21/2005
PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

Você também pode gostar