Você está na página 1de 30

บันทึกขุมความรู(Knowledge Assets)

เมฆเกิดขึ้นไดอยางไร เมฆมักจะกอตัวขึน้ มาในขณะทีม่ วลของพื้นดินหรือทะเล


ไดรับความรอนจากดวงอาทิตย และอากาศชื้นลอยตัวขึ้นสูง ความรอนจากพื้นดินหรือทะเลทําให
บริเวณพืน้ ที่มคี วามกดอากาศต่ํา พื้นดินหรือทะเลที่เย็นจะทําใหอากาศเหนือบริเวณดังกลาว เย็นตัวลง
และเกิดบริเวณที่มีความกดอากาศสูง ทําใหอากาศเย็นจมลงสูพื้นดิน เมื่ออากาศที่มีความชื้นอยูลอยขึ้นสู
บรรยากาศและเย็นลง เมฆอาจเกิดขึน้ ที่ระดับตาง ๆ กัน ในบรรยากาศชั้นลางๆ คือสูงขึ้นไปถึงระดับ
ประมาณ 6,500 ฟุต(2,000 เมตร)ไอน้ําบางสวนในอากาศจะกลั่นตัวเปนหยดน้ําขนาดจิ๋วและหยดน้ํา
เหลานี้เปนพันๆ ลานเม็ดจะรวมตัวกันเปนเมฆ ที่ชั้นสูงขึ้นไปในบรรยากาศ จากประมาณ 20,000 ฟุต
(6,000เมตร)ขึน้ ไป อุณหภูมขิ องอากาศต่ํามาก จนกระทัง่ ไอน้ํากลั่นตัวเปนอนุภาคน้ําแข็ง

เมฆมีหลายรูปแบบอาจมีรูปราง ลักษณะ และขนาดแตกตางกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ


ลักษณะที่เมฆกอตัวและบริเวณที่เมฆกอตัวขึ้น เมฆสวนใหญประกอบดวยหยดน้ําหรือละอองน้ําขนาด
เล็ก แตบางชนิดประกอบดวยผลึกน้ําแข็งขนาดเล็กมากมาย

ภาพที่1 : การเกิดเมฆ
เมฆเกิดมาจากละอองน้ําขนาดเล็กมากจํานวนนับพันๆลานหยดและเบามากจน
ลองลอยไปในอากาศได เมฆเริ่มตนมาจากอากาศชื้นที่ถูกแสงอาทิตยแผดเผาจนรอน และเนื่องจาก
อากาศรอนเบากวาอากาศเย็น ดังนั้น มันจึงลอยสูงขึ้นไปในทองฟา เชนเดียวกันกับลูกบัลลูนที่อัดดวย
อากาศรอน จากนั้นอากาศรอนจะกลั่นตัวเปนหยดน้ําเล็กๆ ซึ่งจะรวมกลุมกันเปนกอนเมฆที่ใหญขึ้น
เรื่อยๆจนในทีส่ ุดหนักเกินกวาที่จะลองลอยไปในอากาศไดก็จะตกลงมาเปนฝน

ขั้นตอนการเกิดเมฆ
1.เมฆจะเกิดขึน้ ไดเมื่ออากาศรอนชื้น
2.เมื่อถูกแผดเผาดวยแสงอาทิตยอากาศชื้นจะลอยสูงขึ้น เหมือนกับฟองสบูที่เราเปา
ออกมา
3.สูงขึ้นไปบนทองฟา อากาศจะหนาวเย็น ดังนั้นอากาศรอนที่ลอยขึ้นไปจะถูกทําให
เย็นลงกลายเปนหยดน้ําขนาดเล็กที่ประกอบกันเปนกลุมเมฆ
4.เมื่ออากาศรอนลอยขึ้นไปเหนือทะเล ทะเลสาบ และแมน้ํา มันจะนําพาน้ําไปดวย
อากาศรอนจะนําเอาน้ํามาจากพืช ซึ่งขึ้นอยูบ นพื้นดินไปดวยเชนกัน
5.เมื่ออากาศรอนชื้นลอยสูงขึ้นไปอยูเหนือเทือกเขา จะปะทะกับอากาศเย็นเหนือ
เทือกเขา และเปลี่ยนเปนเมฆ ซึ่งประกอบดวยละอองน้ําขนาดเล็ก เมื่อรวมตัวเขาดวยกันมากขึ้นก็จะทํา
ใหเกิดเปนเม็ดฝน

เมฆแบงออกไดเปน 4 ระดับ
1.ระดับเมฆชัน้ สูง
2.ระดับเมฆชัน้ กลาง
3.ระดับเมฆชัน้ ต่ํา
4.ระดับเมฆทีก่ อตัวในทางตัง้
1.เมฆชั้นสูง เปนพวกเกล็ดน้ําแข็ง เกาะรวมกันเปนเมฆจัดตัวอยูสูงกวาระดับน้ําแข็ง ฐานของเมฆ
ชั้นสูงจะเปลี่ยนแปลงอยูระหวาง 20,000 – 60,000 ฟุต ในประเทศไทยตรวจความสูงของฐานไดใน
ระหวาง 20,000 – 40,000 ฟุต แบงออกเปน 3 ตระกูล ดวยกันคือ
1.1 เมฆเซอรัส(Cirrus Cloud) (ยอวา ช. หรือ Ci)

เปนเมฆสีขาวหรือเกือบขาวมีลักษณะเปนเสนใยละเอียดหรือปุย (คลายขนนกหรือ
เสนผม (hair - like) เปนแผนบางหรือเปนแถบ เหลือบเปนมันเงา หรืออาจจะทั้งเปนปุยและเปนมัน
หรือเหลือบเปนเงาดวย เมื่อบังดวงอาทิตยหรือดวงจันทรบางครั้งทําใหเกิดวงแสง (Halo) ได แตไมเต็ม
ดวง เมฆชนิดนี้เปนเมฆในชัน้ สูงมีฐานสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 10,000 เมตร การเปลี่ยนแปลงของเมฆ
เซอรัส เมื่อหนามากขึ้นจะเปนเมฆเซอโรคิวมูลัส หรือเซอโรสเตรตัส เมื่อบางนอยลงจะหายหมดไป

การใหรหัสเมฆเซอรัส (Cirrus Cloud)(ซ. หรือ Ci)


เมฆเซอรัส (Ci หรือ ซ.) ซึ่งมีลักษณะเปนเสน เปนเกลียวหรือเปนรูปตะขอ ไมแผทวี
ปกคลุมทองฟา ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH = 1

เมฆเซอรัส(Ci หรือ ซ.) ที่มีลักษณะหนาแนน เปนแผนหรือเปนรูปคลายมัดติดกัน ซึ่ง


ตามปกติไมคอ ยเพิ่มจํานวนทวีมากขึ้นและบางครั้งดูคลายกับเปนสวนที่เหลือของตอนบนของเมฆคิวมู
โลนิมบัส หรือเมฆเซอรัสแตกเปนชอในรูปคลายปอมปนเล็ก ๆ หรือสวนของกําแพงที่มีลักษณะคลาย
ใบเสมา หรือเมฆเซอรัสซึ่งมีรูปรางเปนพวงภู ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH = 2
เมฆเซอรัส (Ci หรือ ซ.) มีลักษณะหนาทึบ เกิดบอย ๆ เปนรูปทั่ง อันเปนสวนที่เหลือ
ของสวนบนของเมฆคิวมูโลนิมบัสลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH = 3

เมฆเซอรัส (Ci หรือ ซ.) ที่เปนรูปขอ หรือเสนใย หรือทั้งสองอยางปนกัน โดยทัว่ ไป


เมฆนี้จะกลายเปนแผนหนาทึบ ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH = 4
1.2 เมฆเซอโรสเตรตัส(Cirrostratus Cloud) (ยอวา ซส. หรือ Cs)

เปนเมฆสีขาวโปรงแสงมีลักษณะเหมือนมานที่เปนเสน ๆ ปุยเหมือนเสนผมหรือ
อาจจะมองดูเรียบตลอด ปกคลุมเต็มทองฟาหรือเพียงบางสวน และมักทําใหเกิดวงแสงสีขาวหรือมีสี
รอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทร (Halo) ได เมฆชนิดนี้เปนเมฆในชัน้ สูงมีฐานสูงโดยเฉลี่ยประมาณ
8,500 เมตร การเปลี่ยนแปลงของเมฆเซอโรสเตรตัส เมื่อเมฆนี้หนาขึน้ จะเปนเมฆออลโตสเตรตัส เมื่อง
บางลงจะเปนเมฆเซอรัส
การใหรหัสเมฆเซโรสเตรตัส(Cirrostratus Cloud)(ยอวา ซส. หรือ Cs)
เมฆเซอโรสเตรตัส (Cs หรือ ชส.)เปนมานหรือฉากปกคลุมทั่วไปในทองฟา ลักษณะ
เมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH= 7
เมฆเซอโรสเตรตัส(Cs หรือ ชส.) ไมแผขยายและไมปกคลุมเต็มทองฟาอยางสมบูรณ
ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH= 8

การใหรหัส กรณีมีเมฆ เซอรัสและเซโรสเตรตัส (CirrusCirrostratus Cloud)(ยอวา


ซซส. หรือ CiCs)
เมฆเซอรัส (มักจะเกิดขึ้นเปนแถบ ๆ พาดไปบรรจบกัน ที่จุดหนึ่ง หรือสองจุดซึ่งอยู
ตรงขามกันทางขอบฟา ) และมีเมฆเซอโรสเตรตัสอยูดวย หรือมีเมฆเซอโรสเตรตัสอยางเดียวในแตละ
กรณี เมฆจะเจริญตัวแผคลุมทองฟาตลอด แตฉากเมฆที่ปกคลุมทองฟาตอเนื่องกันนี้ยังไมถึงมุม 45
องศา จากขอบฟา ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH = 5
เมฆเซอรัส (มักจะเกิดขึน้ เปนแถบ ๆ พาดไปบรรจบกัน ที่จุดหนึ่ง หรือสองจุดซึ่งอยู
ตรงขามกันทางขอบฟา) และมีเมฆเซอโรสเตรตัสอยูดวย หรือมีเมฆเซอโรสเตรตัสอยางเดียวในแตละ
กรณี เมฆจะเจริญตัวแผปกคลุมทองฟาตลอด แกเมฆทีป่ กคลุมทองฟาตอเนื่องกันนีม้ ีมุมมากกวา 45
องศา จากขอบฟา โดยทองฟายังไมปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH= 6

1.3 เมฆเซอโรคิวมูลัส(Cirrocumulus Cloud) (ยอวา ซค. หรือ Cc)

เปนเมฆกอนเล็ก ๆ แผเปนแผนบางหรือเปนแนวสีขาว เมื่อแสงอาทิตยสองผานไมทํา


ใหเกิดเงา ประกอบดวยอนุภาคเล็ก ๆ มากภายในแผนเมฆ จัดตัวในรูปของกอนเล็ก ๆ มีลักษณะเปน
ละลอก ๆ อยูติดกันหรือบางตอนอาจแยกจากกัน แตจะอยูเรียงรายกันอยางมีระเบียบ ในบางครั้งปรากฏ
ใหเห็นเปนบริเวณไมกวางนักโดยรองรับมุมกับตาเรานอยกวา 1 องศา เมื่อเมฆที่เราตรวจนั้นอยูสูงเหนือ
ขอบฟามากกวา 30 องศา มักมีชองหรือรอยแยกเกิดขึ้นในเมฆ ซค. (Cc) ที่เปนแผน เมฆชนิดนี้เปนเมฆ
ในชั้นสูงมีฐานสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 7,000 เมตร การเปลี่ยนแปลงของเมฆเซอโรคิวมูลัส เมื่อหนาขึ้นจะ
เปนเมฆออลโตคิวมูลัส เมื่อบางลงจะเปนเมฆเซอรัส หรือหายไป
การใหรหัสเมฆเซอโรคิวมูลัส(Cirrocumulus Cloud) (ยอวา ชค. หรือCc)
เมฆเซอโรคิวมูลัสอยางเดียว หรือเมฆเซอโรคิวมูลัสที่มีเมฆเซอรัส หรือเมฆเซอโรส
เตรตัสปนอยูดว ย หรือทั้งสองอยางแตตองมีเมฆเซอโรคิวมูลัสเปนสวนใหญ ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลข
รหัส CH= 9

การใหรหัส กรณีไมมีเมฆซั้นสูง ไมมีเมฆเซอรัส , เซอโรคิวมูลัส หรือเซอโรสแตรตัส


ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CH = 0
การใหรหัส กรณีมองไมเห็นเมฆซั้นสูง มองไมเห็นเมฆเซอรัส เซอโรคิวมูลัสและเซอ
โรสเตรตัส เนื่องจากความมืด,หมอก ,พายุฝุนหรือทราย หรือปรากฏการณอยางอื่นทีม่ ีลักษณะคลายคลึง
กัน หรือมีชั้นของเมฆที่อยูในระดับต่ํากวาปดบังไว ซึ่งมักจะปรากฏอยูเ สมอ ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลข
รหัส CH= /

2. เมฆชั้นกลาง
เมฆชั้นกลางฐานจะเปลี่ยนแปลงอยูระหวาง 6,500 – 26,000 ฟุต ในประเทศไทยตรวจ
ความสูงของฐานไดระหวาง 10,000 – 15,000 ฟุต แบงออกเปน 3 ตระกูล คือ
2.1) เมฆออลโตสเตรตัส(Altostratus Cloud) (ยอวา อส. หรือ As)

ลักษณะเปนเมฆแผนสีเทา หรือสีน้ําเงินและสีนั้นสดใส เมื่อเมฆนี้อยูใกลดวงอาทิตย


ไมมีเปนเยื่อเปนเสนอยางเมฆเซอโรสเตรตัส เมื่อบังดวงอาทิตยจะทําใหเห็นดวงอาทิตยเปนสีซีดเหมือน
ดูดวยกระจกฝา ในโซนรอนเมฆนี้มักเกิดในเวลาที่มีฝนตก การเปลี่ยนแปลงของเมฆออลโตสเตรตัส
เมื่อเมฆนี้หนาขึ้นจะเปนเมฆ สเตรตัส เมื่อเมฆนี้บางลงจะเปนเมฆเซอโรสเตรตัส
การใหรหัสเมฆออลโตสเตรตัส(Altostratus Cloud) (ยอวา อส. หรือ As)
เมฆออลโตสเตรตัส(As หรือ อส.) ซึ่งสวนใหญครึ่งโปรงแสง อาจจะมองผานเมฆ
สวนนี้เห็นดวงอาทิตยหรือดวงจันทรอยางราง ๆ คลายกับมองผานกระจกฝา ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลข
รหัส CM= 1

เมฆออลโตสเตรตัส(As หรือ อส.) ซึ่งสวนใหญหนาทึบจนปดบังทําใหไมเห็นดวง


อาทิตยหรือดวงจันทรหรือเมฆนิมโบสเตรตัส ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CM= 2

2.2) เมฆออลโตคิวมูลัส(Altocumulus Cloud) (ยอวา อค. หรือ Ac)


เปนเมฆมีสีขาวหรือสีเทาหรือมีทั้งสองสีจัดตัวเปนคลื่นหรือเปนลอนประกอบดวย
กอนหรือเปนชั้น มีเงาเมฆ เมฆชนิดนี้มีลกั ษณะเปนเกล็ด เปนกอนกลม ๆ หรือเปนกอนมวนตัว (roll)
ฯลฯ ซึ่งบางครั้งก็มีลักษณะเปนฝอยหรือเปนเสนใยละเอียด (fibrous) อยูบางเปนบางสวนหรือบางทีก็
กระจัดกระจาย (diffuse) อาจรวมอยูด วยกันหรือไมรวมกันก็ได เมฆนีป้ ระกอบดวยอนุภาคเล็ก ๆ เปน
สวนมาก มีความกวางปรากฏใหเห็นระหวาง 1 - 5 องศา (รองรับมุมกับตา) เมื่อเมฆทีต่ รวจนัน้ อยูสงู
เหนือของฟามากกวา 30 องศา การเปลี่ยนแปลงของเมฆออลโตคิวมูลัส เมื่อเมฆหนาขึน้ จะเปนเมฆส
เตรโตคิวมูลัส เมื่อบางลงจะเปนเมฆเซอโรคิวมูลัส

การใหรหัสเมฆออลโตคิวมูลัส(Altocumulus Cloud) (ยอวา อค. หรือ Ac)


เมฆออลโตคิวมูลัส(Ac หรือ อค.) ซึ่งสวนใหญครึ่งโปรงแสง เมฆนี้เปลี่ยนแปลงชา
มาก และเมฆทั้งหมดอยูใ นระดับเดียวกัน (มักมีรูปคลายฝูงแกะ)ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CM= 3
เมฆออโตรคิวมูลัส(Ac หรือ อค.) เปนหยอม ๆ (มักมีรูปคลายเลนซนูน , กองเมล็ดถั่ว
ลิสงหรือฝูงปลา ) ซึ่งสวนใหญครึ่งโปรงแสง เมฆเหลานี้เกิดอยูในระดับเดียวกันหรือหลายระดับก็ได
และมักมีลักษณะเปลีย่ นแปลงอยูเสมอ ลักษณะ เมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CM= 4

เมฆออโตคิวมูลัส(Ac หรือ อค.) เปนแถบ มีลักษณะครึ่งโปรงแสง หรือออลโตคิวมูลัส


ระดับเดียวหรือหลายระดับตอเนื่องกัน (ครึ่งโปรงแสงหรือมัวทึบ) แผขยายออกคลุมทองฟาเมฆออลโต
คิวมูลัสเหลานีโ้ ดยทั่วไปมีลักษณะหนาทั้งหมด (มักมีรูปคลายซี่โครง)ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส
CM= 5
เมฆออโตคิวมูลัส (Ac หรือ อค.) อันเปนผลมาจากการแผขยายของเมฆคิวมูลัส (หรือ
คิวมูโลนิมบัส) ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CM= 6

เมฆออลโตคิวมูลัส(Ac หรือ อค.) ซึ่งแตกชอออกไปคลายกับหอคอยเล็ก ๆ หรือสวน


ของกําแพงที่มลี ักษณะคลายใบเสมา หรือเมฆออลโตคิวมูลัสซึ่งมีลักษณะเปนกอน ๆ คลายเมฆคิวมูลัส
ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CM= 8
เมฆออลโตคิวมูลัส(Ac หรือ อค.) มีลักษณะฉีกขาดสับสน โดยเฉพาะเปนเยื่อบาง ๆ
ปะปนกันอยางยุงเหยิงไมไดระเบียบและเกิดขึ้นหลายระดับ เปนเมฆแสดงอาการของพายุหมุน ซึ่งลม
ชั้นบนพุงแรงมาจากที่อื่น จะมีลักษณะลมฟาอากาศไมดใี นเวลาตอไป ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส
CM= 9

2.3) เมฆนิมโบสเตรตัส(Nimbostratus Cloud) (ยอวา นส. หรือ Ns)


เมฆสีเทาติดตอเปนแนวเดียวกันหรือเปนแผน บางครั้งมีสีดํามืด เมฆชนิดนี้มีฝนตก
ติดตอกันลงมาเปนสาย ๆ หรือมีหิมะตกลงมาดวย และเปนน้ําฟาที่มักตกลงมาถึงพื้นดินไมมฟี าแลบ
หรือฟารองหรือลูกเห็บตก เมฆนิมโบสเตรตัสนี้ดําหนาและแผกวางออกไปพอที่จะบังดวงอาทิตยได
หมด เปนเมฆเกิดในระดับต่ํา ใตเมฆนี้อาจมีเมฆขรุขระมองดูกระจัดกระจายเกิดขึน้ ไดบอย ๆ ซึ่งเมฆที่
กลาวนี้อาจรวมหรือไมรวมกันเขากับเมฆใหญก็ได เมฆชนิดนี้มักเรียกกันวา "เมฆฝน"
การใหรหัสเมฆนิมโบสเตรตัส(Nimbostratus Cloud) (ยอวา นส. หรือ Ns)
การใหรหัส กรณีมีเมฆออลโตสเตรตัสและออลโตคิวมูลัส หรือนิมโบสเตรตัส
เมฆออลโตคิวมูลัส ตั้งแตสองระดับหรือมากกวา ปกติรวมกันอยูหนาทึบและไมแผขยายคลุมทองฟา
หรือออลโตคิวมูลัสปนกับออลโตสเตรตัส หรือเมฆนิมโบสเตรตัส ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส
CM= 7

การใหรหัส กรณี ไมมี เมฆชัน้ กลาง ไมมีเมฆออลโตคิวมูลัส , ออลโตสเตรตัส หรื


อนัมโบสเตรตัส ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CM= 0
การใหรหัส กรณี มองไมเห็น เมฆชั้นกลาง ไมเห็นเมฆออลโตคิวมูลัส ออลโตส
เตรตัส และนิมโบสเตรตัส เนื่องจากความมืด หมอก พายุฝุนหรือทราย หรือปรากฏการณอื่น ๆ ที่
คลายคลึงกัน หรือเมื่อมีเมฆชั้นลางเปนพืดปดบังอยู ซึ่งในกรณีเชนนี้มกั ปรากฏบอย ๆ ลักษณะเมฆ
แบบนี้ใชเลขรหัส CM = /

3 เมฆชั้นต่ํา
เมฆชั้นต่ําฐานจะเปลี่ยนแปลงอยูระหวาง จากพื้นผิวโลก ถึง 6,500 ฟุต แบงออกเปน 2
ตระกูล คือ
3.1 เมฆสเตรโตคิวมูลัส(Stratocumulus Cloud) (ยอวา สค. หรือ Sc)เปนเมฆมีสีเทา
หรือคอนขางขาวหรือทั้งเทาและคอนขางขาว มีลักษณะเปนแผนแผออกไปในแนวเดียวกัน มีบางสวน
เปนสีดํา เมฆนี้ประกอบดวยเมฆที่มีลักษณะเปนกอนสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หรือกอนกลมเล็ก ๆ หรือเมฆมวน
ตัว แตไมมีลักษณะเปนเสนใยละเอียด ยกเวนเมฆที่มีฝนเปนสาย ๆ ตกลงมาไมถึงพื้นดิน (virga) เมฆที่
ประกอบเปนเมฆใหญนี้ อาจผสมรวมกันหรือไมรวมกันก็ได โดยปกติจะจัดตัวเขาเปนกลุม เปนแนว
หรือเปนลูกคลื่นทําใหมองเห็นเมฆมีลักษณะเปนลอนเชือ่ มติดตอกันไป สวนมากมียอดแบนเรียบและ
กวางใหญ และความกวางของกอนเมฆรองรับมุมกับตาเราเกินกวา 5 องศา เมื่อเมฆนัน้ อยูสูงกวาขอบฟา
เกินกวา 30 องศา การเปลี่ยนแปลงของเมฆสเตรโตคิวมูลัส เมื่อเมฆนี้หนาขึ้นจะเปน
เมฆคิวมูลัส เมื่อบางลงจะเปนเมฆออลโตสเตรตัส
การใหรหัสเมฆสเตรโตคิวมูลัส(Stratocumulus Cloud) (ยอวา สค. หรือ Sc)
เมฆสเตรโตคิวมูลัส(Sc หรือ สค.) ที่แผออกมาจากเมฆคิวมูลัส อาจมีเมฆคิวมูลัสปน
อยูดวย ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CL= 4
เมฆสเตรโตคิวมูลัส(Sc หรือ สค.) ที่ไมไดเกิดจากเมฆคิวมูลัสแผตัวออก ลักษณะเมฆ
แบบนี้ใชเลขรหัส CL= 5

3.2 เมฆสเตรตัส(Stratus Cloud) (ยอวา ส. หรือ St)เปนเมฆแผนสีเทาที่มีฐานคอนขาง


เรียบ เมฆชนิดนี้ใหน้ําฟาประเภทฝนละออง (drizzle) ผลึกน้ําแข็ง (ice prisms) หรือละอองหิมะ (snow
grains) ไมรวมตัวกันอยูเปนบริเวณกวางมากนัก บางครั้งอาจเกิดในระดับต่ํามากคลายหมอก จะ
เคลื่อนที่ตามลมไดเร็ว และอาจทําใหเกิดฝนละอองได ถาสามารถมองเห็นดวงอาทิตยผานเมฆชนิดนี้
ได เราจะสามารถเห็นขอบของดวงอาทิตยอยางชัดเจน เมฆชนิดนี้ไมทําใหเกิดวงแสง (Halo) เวนแตเมื่อ
มีอุณหภูมิต่ํามากก็อาจเกิดได บางครั้ง เมฆชนิดนี้กแ็ ตกออกจากกัน และบางทีเปนหยอม ๆ มองดูรุงริ่ง
คลายผาขี้ริ้ว การเปลี่ยนแปลงของเมฆสเตรตัส เมื่อเมฆนี้หนาขึ้นจะเปนเมฆแฟรคโตสเตรตัส หรือ เมฆ
นิมบัส เมื่อบางลงจะเปนเมฆสเตรโตคิวมูลัส หรือเมฆออลโตสเตรตัส
เมฆแฟรคโตสเตรตัส(Fractostratus Cloud) (ยอวา ฟส หรือ Fs) เมื่อเวลามีลมแรงใน
ชั้นที่เกิดเมฆสเตรตัส เมฆสเตรตัสจะแตกออกเปนกอนเล็กกระจายพริว้ ไปตามทางลม หรือเมื่อเมฆส
เตรตัสลอยไปปะทะยอดเขาแตกกระจายออกจนไมมีรูปรางแนชัด เมฆสเตรตัสที่แตกกระจายนี้เรียกวา
เมฆแฟรคโตสเตรตัส การเปลี่ยนแปลงของเมฆแฟรคโตสเตรตัส เปนไปอยางเดียวกับเมฆสเตรตัส
เมฆสเตรตัส(St หรือ ส.)ที่มีลักษณะเปนแผนหรือชั้น หรือขาดวิ่นกระจัดกระจาย(Fs
หรือ ฟส.)หรือทั้งสองอยางปนกัน แตไมใชเมฆสเตรตัสที่ขาดวิ่นในเวลาที่อากาศไมดี ลักษณะเมฆแบบ
นี้ใชเลขรหัส CL= 6

4. เมฆที่กอตัวในทางตั้ง
เมฆที่กอตัวในทางตั้ง ฐานของเมฆเปลี่ยนแปลงเชนเดียวกับเมฆชั้นต่ําคือจะ
เปลี่ยนแปลงอยูระหวางจากพื้นผิวโลก ถึง 6,500 ฟุต แบงออกเปน 2 ตระกูล คือ
4.1 เมฆคิวมูลัส(Cumulus Cloud) (ยอวา ค. หรือ Cu) เปนเมฆกอน สวนมากหนาและ
มองเห็นขอบนอกชัดเจน กอตัวในแนวยืนพอกพูนสูงขึ้นยอดเมฆมีลกั ษณะหมือนโดมหรือหอคอยสวน
ที่นูนขึ้นไปมีรปู รางคลายกะหล่ําดอก สวนที่แสงอาทิตยสองทะลุไดจะมีสีขาวสดใส ฐานของเมฆ
คิวมูลัสนี้มีสีคอนขางดํา ถาเกิดขึ้นเปนหยอม ๆ หรือลอยอยูโดดเดีย่ วจะแสดงถึงภาวะอากาศดี ถากอน
เมฆมีขนาดใหญขึ้นอาจมีฝนตกภายใตกอนเมฆได ฝนที่เกิดจากเมฆนี้จะมีลักษณะเปนฝนซูเฉพาะแหง
การเปลี่ยนแปลงของเมฆคิวมูลัส เมื่อเมฆนี้หนาขึ้นจะเปนแฟรคโตสเตรตัส เมื่อบางลงจะเปนสเตรโต
คิวมูลัส หรือออลโสเตรตัส
เมฆแฟรคโตคิวมูลัส(Fractocumulus Cloud)(ยอวา ฟค. หรือ Fc)เมื่อเมฆคิวมูลัสถูกลม
พัดอยางแรงจนที่ขอบของเมฆแตกกระจายออกเปนริว้ ๆ ถือเปนเมฆคิวมูลัสที่เปลี่ยนรูปจากกอนกลม
เปนรูปแบบยาวออก หรือแตกกระจายขาดวิ่นออก บางทีจะเห็นเหมือนกับวาเมฆนั้นกลิ้งไป การเกิด
และการเปลี่ยนแปลงอยางเดียวกับเมฆคิวมูลัส
การใหรหัสเมฆคิวมูลัส หรือ แฟรคโตคิวมูลัส(cumulus หรือ Fractocumulus Cloud)
(ค. หรือ ฟค.)
เมฆคิวมูลัส(Cu หรือ ค.)ที่กอ ตัวในทางตั้งเล็กนอยและมีลักษณะเปนกอนแบน หรือ
คิวมูลัสที่มีลักษณะขาดวิน่ (ฟค.) แตเกิดขึน้ ในเวลาอากาศดีหรือมีเมฆทั้งสองชนิดนรอยูดวย ลักษณะ
เมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CL= 1
เมฆคิวมูลัส(Cu หรือ ค.) ที่กอ ตัวในทางตั้งขนาดปานกลางหรืออยางแรง มียอดนูน
สูงขึ้นเปนรูปโดมหรือหอคอย อาจมีเมฆคิวมูลัสอยางอื่นส หรือสเตรโตคิวมูลัสปนอยูดวยเมฆทั้งหมดที่
กลาวนี้ตองมีฐานอยูในระดับเดียวกันลักษณะเมฆแบบนีใ้ ชเลขรหัส CL= 2

ในการใหรหัส กรณีมีเมฆแฟรคโตสเตรตัส หรือแฟรคโตคิวมูลัส ทัศนะวิสัยไมดี


เมฆแฟรคโตสเตรตัสแตกเปนวิ่น(Fs หรือ ฟส.) หรือเมฆคิวมูลัสขาดวิน่ กระจัดกระจายในเวลาอากาศ
ไมดีหรือมีทั้งสองอยางปนกัน โดยมากอยูใ ตเมฆออลโตสเตรตัส หรือนิมโบสเตรตัส ลักษณะเมฆแบบ
นี้ใชเลขรหัส CL= 7
ในการใหรหัส กรณีมีเมฆคิวมูลัสและเมฆสเตรโตรคิวมูลัส(รหัส 5) มีฐานสูงไม
เทากัน เมฆคิวมูลัส และสเตรโตรคิวมูลัสที่ไมไดเกิดจากการแผตวั ออกของเมฆคิวมูลัสและฐานของ
เมฆทั้งสองนี้อยูตางระดับกัน ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CL= 8

4.2 เมฆคิวมูโลนิมบัส(Cumulonimbus Cloud) (ยอวา คน. หรือ Cb)


เมฆกอนใหญหนาทึบเกิดโดยการไหลขึ้นของกระแสอากาศ มีรูปลักษณะคลายภูเขาหรือหอสูงมหึมา
เปนเมฆที่แสดงถึงสภาวะอากาศไมดีเมื่อกอตัวเต็มที่ ยอดเมฆเปนแนวเรียบหรือเปนรอง ๆ มีลักษณะ
เปนฝอยหรือปุย ซึ่งเกือบจะแบนราบและแผออกไปคลายรูปทั่ง (anvil) หรือขนนกขนาดใหญ ฐานเมฆ
ต่ําขรุขระรุงริ่งคลายชายผาขี้ริ้วหอยลงมามีสีดํามืด อาจจะอยูกระจัดกระจายหรือรวมกันอยูก ็ได มักมีฝน
ตกลงมาดวย น้ําฟาที่ตกลงมาในบางครั้งไมทันตกถึงพืน้ ดินก็ระเหยกลายเปนไอไปเสียกอน ( virga)
เมฆชนิดนี้เราเรียกวา " เมฆฟาคะนอง "
การใหรหัสเมฆคิวมูโลนิมบัส(Cumulonimbus Cloud) (ยอวา คน. หรือ Cb)
เมฆคิวมูโลนิมบัส(Cb หรือ คน.) ที่มียอดบางยอด มีขอบทั้งหมด หรือเพียงบางสวน
ไมชัดเจนแตยงั ไมแตกเปนเสน หรือเปนฝอย(คลายเมฆเซอรัส) หรือยังไมแผออกเปนรูปทั่ง อาจมีเมฆ
คิวมูลัส , สเตรโตคิวมูลัส ปนอยูดว ยก็ได ลักษณะเมฆแบบนี้ใชเลขรหัส CL= 3

เมฆคิวมูโลนิมบัส(Cb หรือ คน.) ซึ่งสวนยอดแผตัวออกเปนเสนหรือเปนฝอยชัดเจน


(คลายเมฆเซอรัส) มักมีรูปคลายทั่ว อาจมีเมฆคิวมูโลนิมบัสที่ตอนยอดยังไมเปนรูปทัง่ หรือยังไมแตก
เปนเสน หรือเปนฝอย , คิวมูลัส , สเตรโตคิวมูลลัส หรือ สเตรตัสปนอยูดวยก็ได ลักษณะเมฆแบบนี้ใช
เลขรหัส CL= 9
การใหรหัส กรณีที่ไมมีเมฆชั้นต่ํา ไมมีเมฆสเตรโตคิวมูลัส , สเตรตัส , คิวมูลัส หรือ
คิวมูโลนิมบัส ลักษณะแบบนี้ใชเลขรหัส CL= 0

การใหรหัส กรณีที่มองไมเห็นเมฆชั้นต่ําไมเห็นเมฆสเตรโตคิวมูลัส , สเตรตัส ,


คิวมูลัส และคิวมูโลนิมบัส เนื่องจากความมืด , หมอก , พายุฝุนหรือทราย หรือหรากฎการณอื่น ๆ ที่
คลายคลึงกันลักษณะแบบนี้ใชเลขรหัส CL= /
อุปกรณและเครื่องมือที่ใชในการตรวจวัดความสูงฐานเมฆ

เครื่องมือวัดความสูงของฐานเมฆ (Ceilo Meter/Cloud Base) Model CT25k


หลักการทํางานของเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆ
เครื่องมือวัดความสูงของฐานเมฆ เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับตรวจวัด และรายงานคา
ของความสูงของฐานเมฆ ณ บริเวณสนามบินนักบินจะนําเครื่องบินลงจอด เหตุผลที่ตองมีเครื่องวัด
ความสูงของฐานเมฆนั้น เนื่องมาจากขณะที่นักบินทําการบินอยูบนทองฟา นั้น ระดับสายตาของ
นั ก บิ น ที่ ม องลงมายั ง พื้ น ดา นล าง บางครั้ ง อาจมี เ มฆปกคลุม อยู โดยรอบ ทํ าใหนั ก บิ น ไม ส ามารถ
มองเห็นสนามบินได และไมทราบวาความหนาของชั้นเมฆนั้นๆ มีคาเทาใด ซึ่งเปนการยากที่จะนํา
เครื่องบินลงจอด โดยเฉพาะหากเกิดกรณีฉุกเฉินเครื่องนํารองไมสามารถทํางานตามปกติ และนักบิน
จะตองนําเครื่องลง โดยไมใชระบบอัตโนมัติการรายงานคาความสูงของฐานเมฆ จึงยิ่งมีความจํา
เปนมากขึ้น ตามไปดวย
เครื่ อ งวัด ความสูง ของฐานเมฆ เปน เครื่องมื อ ที่ ใ ชห ลั กการทํ างานแบบ LIDAR
(Light Detection and Ranging) คือ การตรวจและวัดระยะทางโดยใชแสง คลายเครื่องเรดาร
(RADAR = Radio Detection and Ranging) ทั่ว ๆ ไป แตตางกันตรงที่เครื่องเรดาร ใชคลื่น
ความถี่วิทยุเปนตัววัดระยะทางวัตถุบนทองฟา แตเครื่องวัดความสูงฐานเมฆ อาศัยคลื่นความถี่แสง
เปนตัววัดระยะทางความสูงของฐานเมฆ โดยที่เมื่อเราวางแสงจากตัวสงซึ่งมีความถี่คาหนึ่งขึ้นไปบน
ทองฟากระทบกับเปาหมาย ซึ่งอาจเปน กลุม ฝน เมฆ หมอก หรือควันอยางใดอยางหนึ่งแลวแสง
ดังกลาวสะทอนกลับมาสูตัวรับ เวลาที่ใชในการสงและรับตั้งแตเริ่มสง จนกระทั่งสะทอนกลับมาถึง
ตัวรับนั้น มีคาเทาใด เราจะนําคานั้น ๆ มาทําการ หารดวย 2 แลวนํามาคํานวณกับคาความเร็วของ
แสง ซึ่งสูตรคํานวณความสูงของฐานเมฆดังกลาวเปนดังนี้

H = Ct / 2

ซึ่งกําหนดให H= คาความสูงของวัตถุบนทองฟาที่เครื่องตรวจวัดได
8
C = คาความเร็วของแสง หรือ 186,000 ไมล / วินาที หรือ 2.99 x 10 เมตร / วินาที
t = คาระยะเวลาในการสะทอนกลับของแสงมายังตัวรับแสง ที่ ระยะทาง 25,000 F
หรือ = 50.9 uS
(ระยะทาง 25,000 F เปนคาสูงสุดที่กําหนดใหเครื่องรายงานได สูงไปกวานั้นไมนําเอามาใชงาน)
เมื่อคํานวณออกมาไดแลว ตัวเลขที่ไดมาก็จะเปนคาระยะทางจากตัวสงไปถึงเปาหมาย
ที่อยูหางออกไป ความถี่ของแสงที่ใชนั้น จะใชแสงที่มีความถี่ยาน ระหวาง 905 nM – 912 nM ซึ่ง
เปนยานความถี่แสงขาวไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา โดยอุปกรณตัวสงนิยมใช Laser Diode
ซึ่งผลิตความถี่แสงยานดังกลาว และตัวรับแสงก็จะใช Photo Diode ซึ่งใชรับแสง ในยานความถี่
เดียวกัน

การทํางานของเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆ
โดยทั่วไป แสงที่ถูกสงออกไปจากเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆนั้น เมื่อไปกระทบ
กับละอองไอน้ําของกลุมเมฆ หรือ ฝน หรือ ฝุนละอองตาง ๆ ในชั้นบรรยากาศ สัญญาณที่สะทอน
กลับจะมีรูปแบบดังนี้

ตัว อย าง ขนาดของสั ญญาณที่ สะทอ นกลั บมาจาก กลุมฝน เมฆ ฯลฯ ในชั้ น
บรรยากาศจะเห็นไดวามีขนาดของ wave form แตกตางกัน จะเห็นไดวาสัญญาณสะทอนกลับของฝน
จะมีความเขมของการสะทอนกลับมากกวาเมฆและฝุนละอองตาง ๆ โดยที่ความเขมของสัญญาณ
สะทอนกลับมาของเมฆนั้นจะมีขนาดที่เล็กกวา ฝน และฝุนละออง อยางไรก็ตาม กลุมฝน หรือหมอก
นั้น ขอมูลที่ตรวจวัดได จะมีการทอนและชดเชยสัญญาณ เพื่อใหคาของสัญญาณอยูในชวงที่กําหนด
กอนที่จะนําขอมูลดังกลาวมาคํานวณ และรายงานตอไป โดยปกติการตรวจวัดความสูงของฐานเมฆ
นั้น ตัวเครื่องจะสงสัญญาณแสงออกไปทุก ๆ 100 ns จาก 0 – 50 us เพื่อสุมขอมูลที่ตรวจวัดไดเอา
ไปคํานวณหาความสูงของฐานเมฆ ยานความสูงที่สามารถวัดไดนั้นเริ่มตนตั้งแต ระยะ 50 ฟุต จาก
ฐานที่ติดตั้งเครื่องจนถึงความสูงที่ 25,000 ฟุต ระยะตั้งแต 50 ฟุตลงมานั้น เผื่อไวสําหรับกรณีที่เกิด
หมอกซอนขึ้นมา ซึ่งจะทําใหเกิดความผิดพลาดในการคํานวณความสูงของฐานเมฆ

การติดตั้งเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆ
การติดตั้งเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆโดยทั่วไปการติดตั้งเครื่องวัดความสูงของฐาน
เมฆนั้น ติดตั้งเครื่องมือไวที่บริเวณ จุด touch down โดยตั้งเครื่องมือในแนวดิ่ง ใหชุด Laser
Transmitter และชุด Laser Receiver สองขึ้นไปบนทองฟา และติดตั้งอยูบนฐานคอนกรีตขนาด
1 x 1 x 0.5 เมตร และมีเสาเข็มฝงอยูใตฐานคอนกรีต เพื่อปองกันการทรุดตัวของฐานฯ เพื่อใหเครือ่ งมือ
ตั้งอยูในแนวดิ่งไมเอียงไปดานใดดานหนึ่ง ซึ่งจะมีผลทําใหคาการรายงานความสูงของฐานเมฆผิดพลาด
ไป

การดูแลรักษาและปรับแตงเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆ
โดยที่เครื่องวัดความสูงของฐานเมฆเปนเครื่องมือที่เทคโนโลยีในการตรวจวัดอยูใน
ระดับสูง ดังนั้นการตรวจซอมหรือปรับแตงเครื่องมือ จึงตองเปนหนาที่ของเจาหนาที่ชางที่ไดรับการ
ฝกฝนมาอยางดี เพราะการที่จะปรับแตงเครื่องฯ นั้นจําเปนตองมีอุปกรณพิเศษอื่นมาเปนเครื่องมือชวย
ดังนั้นเมือเกิดอาการผิดปกติกับตัวเครื่องหรือเกี่ยวกับการรายงานคาการตรวจวัดที่ถูกตองแลวควรแจง
เจาหนาที่ชางเพื่อตรวจซอมเปนหนทางที่ดีที่สุด การดูแลรักษาที่สามารถทําไดคือตรวจดูความสะอาด
ของกระจกหนาเลนสวามีคราบสกปรกเกิดขึ้นหรือไม เนื่องจากเครื่องมือจะตองตั้งตรงและสงแสงขึ้น
ไปบนทองฟา ดังนั้น ฝุนละออง ความชื้น หมอก และฝนจะเปนตัวการทําใหเกิดคราบสกปรกที่
กระจกหนาเลนสได และก็จะเกิดการสะสมขึ้นทําใหการตรวจวัดไมสมบูรณ ดังนั้น จึงควรมีการทํา
ความสะอาด ทุก ๆ 3 เดือน เปนอยางนอยเพื่อเปนการชวยยืดอายุการใชงานของเครื่องใหยาวนาน
ตอไป

การใชงานเครือ่ งวัดความสูงของฐานเมฆ
เมื่อมีการติดตัง้ เครื่องวัดความสูงของฐานเมฆเพื่อใชงานนั้น อันดับแรกเมื่อติดตั้งแลว
คือดูวาเครื่องทํางานตามปกติหรือไม ดูไดจากขั้นตอนดังนี้
1. เมื่อจาย Power ใหกบั ระบบแลว ใหเปด switch ของเครื่องพรอมทั้งเปด
switch ที่ชุดแบตเตอรี่สํารอง
2. เมื่อเปดระบบทั้งหมดแลวใหสังเกตุทแี่ ผนวงจร DPS52 จะมีหลอด LED อยู 2
หลอด จะเห็นวาหลอด LED ดวงหนึ่ง จะติดเปนสีเขียว อีกหลอดจะกะพริบเปนสีเหลือง
3. ในกรณีที่มกี าร Charge ไฟเขาแบตเตอรี่ จะใชเวลากวาทีห่ ลอด LED สีเขียวจะ
ติด (ที่ขางหลอดจะมีหมายเลขกํากับอยูวาเปน D1 หรือ D2)
4. ที่แผนวงจร DMC50B มีหลอด LED อยู 1 หลอด ซึ่งจะกระพริบทุก ๆ 1 วินาที
5. ที่แผนวงจร DCT 51 LED สีเขียว (D4) จะติดทุก ๆ 12 วินาที ซึ่งเปนการทํางาน
ของLaser Transmitter และ Receiver ในการตรวจวัดความสูงของฐานเมฆ
ทั้งหมดคือขั้นตอนการทํางานของเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆ ซึ่งถามีขั้นตอนใด
ผิดไปจากนีแ้ ลว หมายความวาเครื่องวัดความสูงของฐานเมฆผิดปกติ ตองไดรับการตรวจซอม

ขอควรระวัง
จะมีไฟฟาแรงสูงอยูในบริเวณชุด Laser Transmitter เพราะฉะนัน้ จะตองใชความ
ระมัดระวังอยางมากในการตรวจซอมหรือทดสอบ

การรายงานผลการตรวจวัด
การตรวจอากาศผิวพื้นเปนการรายงานสารประกอบอุตุนยิ มวิทยา และแสดงลักษณะ
อากาศทั่วไป ณ บริเวณอันกวางใหญไพศาล รายงานเหลานี้เปนรากฐานสําคัญในการพยากรณอากาศ
และขาวสารอุตุนิยมวิทยาอืน่ ๆ รายงานนีต้ องแสดงถึงสิ่งตางๆไวดว ยคือ หมายเลขสถานี เวลาทีต่ รวจ
และลักษณะอากาศในชวงระยะเวลาที่ตรวจ การรายงานขาวอากาศผิวพื้นมีแบบรหัสสําหรับใชรายงาน
ดังนี้
SECTION 0 MiMiMjMj YYGGiw IIiii
SECTION 1 iRiXhvv Nddff 1SnTTT 2SnTdTdTd 3PoPoPoPo 4PPPP 6RRRtR 7wwW1W2
8NhCLCMCH
SECTION 3 333 (1SnTxTxTx) (2SnTnTnTn) (58 or 59P24P24P24) 6RRRtR 7R24R24R24R24

สําหรับการรายงาน เมฆ จะตองใชรหัสดังนี้(อธิบายเฉพาะรหัสที่เกีย่ วของเทานั้น)


iRiXhvv Nddff และ 8NhCLCMCH มีความหมายดังนี้
กลุม iRiXhvv รหัสที่เกี่ยวของคือ h หมายถึง ความสูงของฐานเมฆชั้นต่าํ ที่สุดที่มองเห็นเหนือพื้นดิน

รหัส ความสูง(เมตร) ความสูง(ฟุต)


0 0-50 0-164
1 50-100 164-328
2 100-200 328-656
3 200-300 656-984
4 300-600 984-1968
5 600-1000 1968-3280
6 1000-1500 3280-4921
7 1500-2000 4921-6561
8 2000-2500 6561-8202
9 2500 หรือสูงกวาหรือไมมีเมฆ 8202 หรือสูงกวาหรือไมมีเมฆ
/ ไมทราบสูงของฐานเมฆ หรือฐานเมฆอยูตา่ํ กวาสถานีและยอดอยูสูงกวาสถานี

ความสูงของเมฆแตละชั้น
ชั้นของเมฆ ภูมิภาคขัว้ โลก ภูมิภาคอบอุน ภูมิภาครอน
Etages Polar region Temperate region Tropical region
3-8 กม. 5-13 กม. 6-18 กม.
สูง
(10,000-25,000 ฟุต) (16,500-45,000 ฟุต) (20,000-60,000 ฟุต)
2-4 กม. 2-7 กม. 2-8 กม.
กลาง
(6,500-13,000 ฟุต) (6,500-23,000 ฟุต) (6,500-25,000 ฟุต)
จากพื้นผิวโลกถึง จากพื้นผิวโลกถึง จากพื้นผิวโลกถึง
ต่ํา
2 กม.(6,500 ฟุต) 2 กม.(6,500 ฟุต) 2 กม.(6,500 ฟุต)

กลุม Nddff
รหัสที่เกี่ยวของคือ N หมายถึง จํานวนเมฆทั้งหมดที่ปกคลุมทองฟา โดยกําหนดใหเมฆ
ทั้งหมดในทองฟาเทากับ 10 สวน(10/10)

เลขรหัส จํานวนเมฆ
0 ไมมีเมฆ
1 1 สวนหรือนอยกวาแตไมเปน 0(1/10 หรือนอยกวาแตไมเปน 0)
2 2 สวน ถึง 3 สวน(2/10 ถึง 3/10)
3 4 สวน (4/10)
4 5 สวน (5/10)
5 6 สวน (6/10)
6 7 สวน ถึง 8 สวน(7/10 ถึง 8/10)
7 9 สวน หรือมากกวา แตไมถงึ 10 สวน(9/10 หรือมากกวาแตไมถึง10/10)
8 10 สวน(เต็มทองฟา) (10/10)
9 ทองฟามืดมิดหรือไมสามารถกะประมาณเมฆได
/ ไมไดทําการตรวจ
หมายเหตุ : N = / ใชรายงานจากสถานีอุตุนิยมวิทยาตรวจอากาศอัตโนมัติเทานั้น

กลุม 8NhCLCMCH ในกรณีตอไปนี้ไมตองรายงานกลุมนี้


(ก) เมื่อไมมีเมฆ (N = 0)
(ข) เมื่อมองไมเห็นทองฟา (not discernible) (N = 9)
รหัสที่เกี่ยวของคือ 8 หมายถึง เลขนําหมู
Nh หมายถึง จํานวนเมฆทั้งหมดของเมฆชั้นต่ํา(CL )ที่มีอยู หรือถาไมมีเมฆ
CL ใหเอาจํานวนเมฆทั้งหมดของCM ที่มีอยูแทน
CL หมายถึง ชนิดเมฆชั้นต่ํา
CM หมายถึง ชนิดเมฆชั้นกลาง
CH หมายถึง ชนิดเมฆชั้นสูง

Você também pode gostar