Você está na página 1de 52

ฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์

บล. กรุงศรีอยุธยา
ธันวาคม 2553
สารบัญ

กลยุทธ์การลงทุน
ª แนวโน้มตลาดฯปีเถาะ 2554
ª หุ้นเด่น...ปีกระต่าย
หุน้ เด่นเล่นสั้นทางเทคนิค
ª ทิศทางตลาดฯ
ª กลุม่ พลังงาน และ ธนาคาร
ª หุ้นเด่นปีกระต่าย
คาดการณ์ดัชนีปีเถาะที่ 1,130 จุด
SET มีแนวโน้มปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง AYS คาดการณ์ดัชนีปี 54 ที่ 1,130 จุด
โดยมีปัจจัยสนับสนุนดังนี้:-
ª เศรษฐกิจเติบโตต่อเนื่อง 3-5% ในปี 2554
ª คาดการณ์กําไร SET ขยายตัว 17% ในปี 2554
ª ROE ปรับสูงขึ้นมาที่ 15% ในปี 2554
ª อัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับต่ํา
ª Valuation (ดัชนี SET) ยังน่าสนใจเมื่อเทียบกับตลาดหุ้นภูมิภาค
ª กําไร และมูลค่าพื้นฐาน มีโอกาสถูกปรับขึ้นต่อไป
ª ค่าเงินบาทแข็งค่า เป็นปัจจัยหนุนกระแสเงินทุน
ª การเลือกตั้งจะเป็นปัจจัยบวกต่อ SET
คาดจีดีพีจะชะลอตัวจนถึง 1Q54 และเร่งตัวอีกครั้ง
โดยทัง้ ปี 54 ขยายตัว 3-5%
1,300,000 15.0%
GDP (Bt Mn)
1,200,000 GDP (% Chg YoY) - RHS

10.0%
1,100,000

1,000,000
5.0%
GDP (Bt Bn)

Growth (%)
900,000

800,000
0.0%
700,000

600,000
-5.0%

500,000

400,000 -10.0%

2Q11F
1Q00

4Q00

3Q01

2Q02

1Q03

4Q03

3Q04

2Q05

1Q06

4Q06

3Q07

2Q08

1Q09

4Q09

3Q10
เศรษฐกิจไทยและภูมิภาคเติบโตโดดเด่นในปี 53

16.00 15.00

14.00

12.00 10.46
9.32 9.67
GDP Growth (%)

10.00
7.52
8.00 6.72 7.04
6.00 6.06
6.00

4.00 2.82

2.00

Thailand
Philippine
Japan

Taiwan

China

Singapore
Korea

Malaysia

India
Indonesia
การบริโภคมีน้ําหนักต่อ GDP มากทีส่ ุด

60.0%

50.0% Private
Consumption
40.0%
Public
Weight to GDP (%)

Consumption
30.0%
Investment
20.0%

Chg
10.0% Inventory

Net Export
0.0%

-10.0%
1Q07

2Q07

3Q07

4Q07

1Q08

2Q08

3Q08

4Q08

1Q09

2Q09

3Q09

4Q09

1Q10

2Q10

3Q10
การบริโภคในประเทศเป็นปัจจัยหนุนการเติบโต

20.0% Net Export

15.0%
Inventory

10.0%
Government
Spending
5.0%
Private
0.0% Investment

Private
-5.0% Consumption

GDP Growth
-10.0%

-15.0%
1Q08

2Q08

3Q08

4Q08

1Q09

2Q09

3Q09

4Q09

1Q10

2Q10

3Q10
เศรษฐกิจไทยมีทิศทางชะลอตัวลงในปี 54

12.00
2011E 2012E 2013E Average 11-13
9.54
10.00
8.17
8.00
GDP Growth (%)

6.47

6.00 5.20
4.49 4.67
4.25 4.25 4.37
4.00

1.81
2.00

-
Thailand

Philippine
Japan

Taiwan

China
Singapore
Korea

Malaysia

India
Indonesia
AYS คาดการณ์กําไรสุทธิ SET เติบโต 17% ในปี 54

550,000 30.0%
25%
Net Income Growth (RHS)
21% 25.0%
17%
500,000
20.0%
14%
15.0%
Market Earnings (Bt Mn)

450,000

Earnings Growth (%)


10.0%

400,000 5.0%
-5%
0.0%
-6%
350,000
-5.0%

-10.0%
300,000 -17%
-15.0%

250,000 -20.0%

2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010F 2011F


SET กับแนวโน้มกําไรมีทิศทางเดียวกัน

1,200 550,000
SET Earnings (RHS)
SET Index 500,000
1,000

450,000
800

SET Earning (Bt Mn)


SET Index (Pts)

400,000
600
350,000

400
300,000

200
250,000

- 200,000
2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011
Expected Earnings Growth (% Chg)

-50%
0%
50%
100%
150%
200%

Auto

IMM

Petro

Elect

Hotel

Fin

Comm

SET

ICT

Energy

Bank

F&B

Healthcare
ผลประกอบการกลุ่มยานยนต์ ปิโตรฯ ยังเติบโตสูง

ConMat

Prop

Trans
Expected Earnings Growth (% Chg)

-10%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%

Petro

Trans

Hotel

Auto

IMM

ConMat

Comm

SET

Healthcare

Energy

Bank

F&B

Prop
คาดผลประกอบการกลุ่มปิโตรฯเติบโตสูงสุดในปี 54

Elect

ICT

Fin
หุ้น 3 กลุ่มหลักเป็นตัวขับเคลื่อนการเติบโตของตลาด

Others
Commerce Energy
Trans

ConMat

Bank Petro
ROE มีทิศทางปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง (+15% ในปี 54)
แนวโน้ม ROE กับ SET ROE ปรับสูงขึ้นมาที่ 15%
25.0%
1200 25.0% 22.4%
SET
ROE (RHS)
1000 20.0%
20.0% 17.7%

14.9% 14.9%
800 14.3%
15.0%
SET Index (Point)

15.0% 13.2%

ROE (%)
11.7%

ROE (%)
600
10.0%
10.0%
400

5.0%
5.0%
200

0 0.0% 0.0%

2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011F


2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

คาดการณ์ P/BV จาก ROE จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง


2.50
ROE และ P/BV อิงกับระดับ ROE ปี 54
2.00

2008
2010F
2007 2006
2005 ที่ 15%
1.50
PBV (x)

2009
1.00

0.50
กรอบ P/BV ปี 54 : 1.66-2.02 เท่า
-

0.0% 5.0% 10.0%


ROE (%)
15.0% 20.0% 25.0%
กรอบ SET ปี 54 : 920-1,180 จุด
อัตราดอกเบี้ยไทยยังอยู่ในระดับต่ํา

8.0
Yield SET
7.0 Bond Yield 1Y
Ave. 1Y Fixed Deposite
6.0

5.0
Yield (% p.a.)

4.0

3.0

2.0

1.0

0.0
2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011
อัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มเริ่มเร่งตัวขึ้น
10.0%
Headline

8.0% Core

6.0%
Inflation (% Chg YoY0

4.0%

2.0%

0.0%

-2.0%
2010 2011

-4.0% Headline Inflation 2.8-3.8% 3.0-5.0%


Core Inflation 0.5-1.3% 2.0-3.0%
-6.0%
2004

2004

2005

2005

2006

2006

2007

2007

2008

2008

2009

2009

2010

2010

2011

2011
Yield gap between dividend and fixed deposit (% p.a.)

-4.0
-3.0
-2.0
-1.0
0.0
1.0
2.0
3.0
4.0
5.0
6.0
2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008
ผลตอบแทนในรูปแบบเงินปันผลยังน่าสนใจ

2009

2010

2011
SET ให้อัตราผลตอบแทนจากปันผลสูง
อันดับต้นๆ ในภูมิภาค
7

2010 2011 2012


6
5.2

5 4.5
Dividend Yield (%)

4 3.5 3.5
3.4
3.0 3.0 3.0
3
1.8 1.8 1.9
2 1.3 1.4

0
Phil

HK

Thai

NZ
Japan

Taiwan
China

Sing
Indo
Korea
India

Malaysia

Australia
Valuation (ระดับดัชนีปัจจุบัน) ยังน่าสนใจ
Price to Earnings สูงขึ้นเทียบกับอดีต
1,600

1,400 P/E 16x

P/E 14x
1,200
SET Index (Point)

P/E 12x
1,000

P/E 10x
800

P/E 8x

600

400

200
2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011
P/E ไทยยังต่ําเมื่อเทียบกับตลาดหุ้นภูมิภาค

18
2011 2012 15.5
15.0
16 14.6
14.0 14.1
13.4 13.3
14 12.2
12.6 12.5
11.7 11.6 11.6
12 10.8
Price to Earnings (x)

9.6 9.7 9.9


10

Phil
HK
US

Thai

NZ
German

Taiwan

Japan
China
Eng

Sing

Indo
Korea

Australia

Malaysia

India
France
มีอัตราเติบโตของกําไรสุทธิสูงเป็นอันดับต้นๆ
ในภูมิภาค
25%
21%
2011 2012 21% 21%
19% 20%
20%
16%
15%
Earnings Growth (%)

15%
15% 14%
12% 13% 13%
11% 11% 12%
9%
10% 8%

5%

0%
Philippine

HK
DJ

Thai
NZ
German

Taiwan

Japan

China
Eng
Singapore

Korea

Malaysia

Australia

India
France

Indonesia
ROE สูง ในขณะที่ PBV ต่ํา

25%
2010 2011
Indo
20%
Phil
Thai
15%
ROE (%)

Sing
Malaysia
10%

5%

0%
0.0

0.5

1.0

1.5

2.0

2.5

3.0

3.5

4.0
PBV (x)
มีโอกาสถูกปรับมูลค่าพื้นฐานขึ้น
Revision Ratio เริ่มอ่อนตัวแต่ยังเป็นบวก
70.0% 1,100

60.0%
1,000
50.0%
900
40.0%
800
30.0%
Revision Ratio

SET Index
20.0% 700

10.0%
600
0.0%
500
-10.0%
400
-20.0%

-30.0% 300
Aug-09

Jul-10
Jan-09

Jun-09

Jan-10
Mar-09

Mar-10

May-10
Oct-09

Oct-10
เนื่องจากเป็นการปรับเป้าหมายขึ้นในหุ้นขนาดใหญ่

9,000,000 5.0%

8,000,000 4.0%

7,000,000
3.0%
Target Market Cap (Bt Mn)

6,000,000
2.0%

% Chg (WoW)
5,000,000
1.0%
4,000,000
0.0%
3,000,000

-1.0%
2,000,000

% Chg (WoW) - RHS


1,000,000 -2.0%
Target Market Cap.

- -3.0%
กลุ่มพลังงาน ธนาคาร มีน้ําหนักรวม 48% ของ SET
Others
12%
TRANS ENERG
3% 29%
FOOD
5%
COMM
5%

PROP
6%

PETRO
7% BANK
CONMAT 19%
7% ICT
7%
คาดว่าจะเกิด Upgrade กลุ่มพลังงานและปิโตรฯ
20.0%
Petro

15.0%

Auto
Valuation (% Chg MoM)

Health
10.0% Comm
Energy
Fin
Food
5.0%
Trans
Media
HotelAgri
Bank
0.0% Prop ICT

Elec
IMM
-5.0%
-40.0% -30.0% -20.0% -10.0% 0.0% 10.0% 20.0%

Earnings (% Chg MoM)


แนวโน้มค่าเงินบาทยังแข็งค่าในระยะกลาง
ค่าเงิน US ดอลลาร์มีทิศทางอ่อนค่า ขณะที่ค่าเงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่า จะเป็น
ปัจจัยหนุนกระแสเงินทุนไหลเข้าต่อเนื่องได้ในระยะกลาง

ª เศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังเปราะบาง และเติบโตในอัตราต่าํ เมือ่ เปรียบเทียบกับ


เศรษฐกิจเอเชีย
ª มาตรการ QE II (US$6 แสนล้าน) จะกดดันค่าเงินดอลลาร์ฯ จนถึงกลางปี 54
ª อัตราดอกเบีย้ สหรัฐฯยังอยู่ในระดับต่าํ ขณะที่อัตราดอกเบีย้ ในประเทศมี
แนวโน้มปรับสูงขึ้น ได้อกี 50-100bps
ª การอ่อนค่าของค่าเงิน US ดอลลาร์ เป็นปัจจัยบวกต่อสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลก
เศรษฐกิจสหรัฐฯและยุโรปมี
โรปมีอัอตั ราเติบโตในระดับต่ํา

12.00 2010E 2011E


2012E 2013E
9.54 Average 11-13
10.00
8.17
8.00
GDP Growth (%)

6.00
4.25
4.00
2.75
2.25
1.96 1.81
2.00

-
Thailand China India US German France England
ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยไทย VS สหรัฐฯจะเร่งตัวขึ้น
50 4

3
45 2

1
Exchange Rate (USD/THB)

40

Interest Rate Gap (%)


0

-1
35
-2

-3
30
-4

25 -5
USD/THB
Int Gap -6

20 -7
2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011
Election Rally
จากสถิติการเลือกตั้งทัง้ 11 ครั้ง ตั้งแต่ปี 2526 โดยเฉลี่ย SET ให้อัตรา
ผลตอบแทนทีด่ กี ่อนการเลือกตั้ง โดยให้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย 4% ก่อนการ
เลือกตั้ง 30 วัน

ª นายกฯ ได้กล่าวออกมาหลายครัง้ ถึงความเป็นไปได้ว่าจะยุบสภาฯ เพือ่


เลือกตั้งใหม่ในช่วง1Q54 หากไม่มีการยุบสภาฯ เราคาดว่าจะมีการ
เลือกภายในปี 54
ª เราคาดว่าพรรค ปชป. มีแนวโน้มที่จะกลับมาเป็นแกนนําในการ
จัดตั้งรัฐบาลอีกครั้ง ถึงแม้ว่าพรรค ปชป.อาจไม่ใช่พรรคที่ได้รับคะแนน
เสียงมากที่สุดในการเลือกตั้งครัง้ หน้า
สรุปภาวะการลงทุนปีเถาะ
เรามีมุมมองเป็นบวกต่อ SET โดยมองเป้าหมายการปรับขึน้ ปลายปี 54 อิงวิธี
Bottom-Up ที่ 1,130 จุด (อาจมีการปรับสูงขึน้ ถ้ามีการปรับมูลค่าพื้นฐาน และ
กําไรหุน้ กลุ่มพลังงานอย่างที่คาดการณ์ไว้) โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก:-
ª เศรษฐกิจเติบโตต่อเนื่อง 3-5% ในปี 2554
ª กําไรขยายตัว 17% ในปี 2554
ª ROE ปรับสูงขึน้ มาที่ 15% ในปี 2554
ª อัตราดอกเบีย้ ยังอยู่ในระดับต่ํา
ª Valuation น่าสนใจเมื่อเทียบกับตลาดหุ้นภูมิภาค
ª กําไร และมูลค่าพื้นฐาน มีโอกาสถูกปรับขึ้นต่อไป
ª ค่าเงินบาทแข็งค่า เป็นปัจจัยหนุนกระแสเงินทุนตปท.
ª การเลือกตั้งจะเป็นปัจจัยบวกต่อ SET
ความเสี่ยงที่ต้องติดตาม
แม้เราจะมีมุมมองเป็นบวกต่อแนวโน้ม SET แต่ก็มีปจั จัยเสี่ยง หลายๆ ปัจจัยที่ ต้อง
ติดตามใกล้ชิด:-
ª เศรษฐกิจสหรัฐฯ และยุโรปที่ออ่ นแอกว่าที่คาดไว้
ª มาตรการชะลอเศรษฐกิจ ของจีน ที่อาจทําให้เศรษฐกิจโลก ขยายตัวน้อยกว่าที่
ตลาดคาดหวังไว้
ª การ Reallocate Asset ไปยังตลาดหุ้นที่มี Valuation ต่ํากว่า อย่างตลาดหุ้น
สหรัฐฯ และยุโรป
ª Fed ปรับขึ้นอัตราดอกเบีย้ เร็วกว่าที่คาดไว้ ว่าจะปรับสูงขึ้นในช่วงปลายปี 54 หรือ
อาจเลื่อนไปยังปี 55
ª มาตรการควบคุมเงินทุนไหลเข้าของ ธปท.
ª ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองนอกระบบสภาฯ (ชุมนุมของ “เสือ้ เหลือง”
หรือ “เสือ้ แดง”)
หุ้นเด่น...ปีกระต่าย
ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งฯ
คําแนะนํา………………………………….…………….….....เก็งกําไร งบการเงินและประมาณการ: STEC
YE Dec (Bt mn) 2008 2009 2010E 2011E
ราคาปิด 9 ธ.ค. 53 (บาท)……………..…….………............…….…..13.50 Net profit 178 305 418 685
Net profit growth (%) 721.7 71.2 37.2 63.9
มูลค่าพื้นฐานปี 54 (บาท)…………………….....................…14.50 EPS (Bt) 0.15 0.26 0.35 0.58

กรอบราคาซื้อ/ขาย……………………....................…12.18-15.08 EPS growth (%)


BV (Bt)
721.7
3.74
71.2
3.80
37.2
4.03
63.9
4.45
DPS (Bt) - 0.13 0.16 0.26
ª ผลประกอบการจากธุรกิจหลักรับเหมากอสรางเติบโตโดดเดนสุด P/E (X) 89.9 52.5 38.3 23.4
เทียบกับกลุม ซึ่งเปนผลจากการไดรับงานประมูลใหมเพิ่มขึ้น P/BV (X) 3.6 3.6 3.4 3.0
Yield (%) - 1.0 1.2 1.9
ต อ เนื่ อ งนั บ ตั้ ง แต ต น ป 52 จนถึ ง ป จ จุ บั น ทั้ ง จากภาครั ฐ โดย ROE (%) 4.0 6.8 8.8 13.0
เฉพาะงานกอสรางรถไฟฟาสายสีมวง (สัญญาที่ 2) และสายสีน้ํา
เงิ น (สั ญ ญาที่ 4) ที่ ช ว ยสร า งอั ต ราเติ บ โตของรายได และ พีอีแบนด์: STEC
ภาคเอกชน โดยเฉพาะงานกอสรางโรงไฟฟา SPP ทั้งหมด 7 Price (Bt) P/E(x)

แหงของ บจ.กัลฟ เจพี ที่ชวยสนับสนุนอัตรากําไรขั้นตนใหอยูใน 25.0


41.0

ระดับสูงเพิ่มขึ้น 20.0
36.0

31.0

ª สถานะทางการเงินปจจุบันซึ่งเปน Net Cash สะทอนใหเห็นถึง 15.0 26.0

ศักยภาพในการรับงานขนาดใหญไดอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ 21.0


10.0
โครงการรถไฟฟ า สายสี น้ํ า เงิ น ซึ่ ง ป จ จุ บั น อยู ร ะหว า งรอเซ็ น 16.0

สัญญา และผูประกอบการรายนี้ถือวารายใหญที่มีความเสี่ยงนอย 5.0

ที่สุดในแงของโอกาสการเพิ่มทุนในอนาคต
0.0
Dec-03 Dec-04 Dec-05 Dec-06 Dec-07 Dec-08 Dec-09 Dec-10 E Dec-11 E
ª ประเมินมูลคาพื้นฐานของหุน STEC เทากับ 14.50 บาท และ
STEC เปนตัวเลือกที่ดีในแนวโนมขาขึ้นของการเปดประมูลใน
รอบนี้โดยเฉพาะในป 53-54 ซึ่งอยูในชวงเริ่มตนของการประมูล กรอบราคาพื้นฐาน P/E 21-26 เท่า: 12.18-15.08 บาท
โครงการจากภาครัฐโดยเฉพาะ Megaprojects
ศุภาลัย
คําแนะนํา…………………….…………………………....ขายทํากําไร งบการเงินและประมาณการ: SPALI
YE Dec (Bt mn) 2008 2009 2010E 2011E
ราคาปิด 9 ธ.ค. 53 (บาท)…………………..…………………..……........…..11.30 Net profit 1,069 2,476 2,531 2,663
Net profit growth (%) 30.9 131.7 2.2 5.2
มูลค่าพื้นฐานปี 54 (บาท)…………………………….................…9.90 EPS (Bt) 0.65 1.44 1.47 1.55
EPS growth (%) 27.0 121.0 2.2 5.2
กรอบราคาซื้อ/ขาย……………………………….............…9.30-12.40 BV (Bt) 3.23 4.55 5.37 6.32
DPS (Bt) 0.30 0.60 0.60 0.65
ª เชนเดียวกับผูประกอบการรายอื่นๆในอุตสาหกรรม ภายหลังที่ P/E (X)
P/BV (X)
17.3
3.5
7.8
2.5
7.7
2.1
7.3
1.8
ผลประกอบการของบริษัทชะลอตัวใน 3Q53 เราคาดการณวา Yield (%) 2.7 5.3 5.3 5.8
ผลประกอบการ 4Q53 มี แ นวโน ม ที่ จ ะฟ น ตั ว ขึ้ น เนื่ อ งจากมี ROE (%) 20.2 31.7 27.4 24.5
โครงการคอนโดมิเนียมหลายแหงรอรับรูเปนรายได ไดแก ซิตี้
โฮม รัชดา-ทาพระ, ศุภาลัย พารค เกษตร-นวมินทร และ ศุภาลัย พีอีแบนด์: SPALI
พรีเมียร รัชดา-นราธิวาสราชนครินทร Price (Bt)
16
P/E(x)

15
ª แตในฐานะที่ SPALI เปนผูประกอบการรายใหญในตลาด Low- 14 9.0
13
end จนถึง Mid-end เชนเดียวกับ LPN และ PS ปจจัยลบที่ 12
8.0

เกิ ด ขึ้ น ในช ว ง 1 เดื อ นที่ ผ า นมาจากมาตรการของ ธปท. ทั้ ง 11


10
7.0

มาตรการลดอัตราสวน Loan to Value และแนวโนมเริ่มตนปรับ 9


8
6.0

5.0
ขึ้นอัตราดอกเบี้ยรอบใหมกระทบตลาด Low-end ที่พึ่งพิงเงินกู 7
4.0
ซื้อที่อยูอาศัยมากกวาตลาดในกลุมอื่นๆ 6
5
4
ª คงคํ า แนะนํ า ขาย ประเมิ น มู ล ค า พื้ น ฐาน เท า กั บ 9.90 บาท 3
2
เนื่องจาก 1) ราคาหุน SPALI ตอบสนองปจจัยลบทั้งสองนอย 1

กวาคูแขง LPN และ PS และ 2) การปรับลดประมาณการผล Dec-03 Dec-04 Dec-05 Dec-06 Dec-07 Dec-08 Dec-09 Dec-10 E Dec-11 E

ประกอบการมีความเปนไปไดภายใตสัดสวนของ Backlog เทียบ กรอบราคาพื้นฐาน P/E 6-8 เท่า: 9.30-12.40 บาท


กับรายไดในป 54 เปนตัวเลขที่ไมสูงประมาณ 55%
ธนาคารกรุงไทย
คําแนะนํา………………………………….……………..……..……...ซื้อ งบการเงินและประมาณการ: KTB
YE Dec (Bt mn) 2008 2009 2010E 2011E
ราคาปิด 9 ธ.ค. 53 (บาท)…………………..…….………............………..16.60 Net profit 12,272 12,020 14,997 17,864
Net profit growth (%) 91.5 (2.1) 24.8 19.1
มูลค่าพื้นฐานปี 54 (บาท)…………………….....................…20.00 EPS (Bt) 1.10 1.07 1.34 1.60
EPS growth (%) 91.5 (2.1) 24.8 19.1
กรอบราคาซื้อ/ขาย……………………................……..16.00-22.40 BV (Bt) 9.26 10.06 11.32 12.54
DPS (Bt) 0.44 0.40 0.51 0.61

ª คาดการณสินเชื่อเติบโตขยายตัว 12%YoY ในป 53 และตอเนื่อง P/E (X)


P/BV (X)
3.5
0.4
9.2
1.0
13.5
1.6
11.3
1.4
อีก 8% ในป 54 KTB ไดรับประโยชนสูงเปนลําดับตนจากการ Yield (%) 11.6 4.1 2.8 3.4
ปลอยสินเชื่อใหภาครัฐฯเพื่อการลงทุนในโครงการสาธาณูปโภค ROE (%) 12.3 11.1 12.5 13.4

ขนาดใหญ และการปล อ ยสิ น เชื่ อ ให บ ริ ษั ท เอกชนขนาดใหญ


ขยายการลงทุนรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจป 54 พีอีแบนด์: KTB
ª คลายกั ง วลเรื่ อ งสํ า รองหนี้ ฯ กลั บ มาตั้ ง ในระดั บ ปกติ ซึ่ ง ได Price (Bt)
25.00
P/E(x)

ประโยชน จ ากคุ ณ ภาพสิ น เชื่ อ ทรั พ ย ที่ ดี ขึ้ น การฟ น ตั ว ทาง 14.0

เศรษฐกิจและการจัดการหนี้เสียดีขึ้น ทําให NPL Ratio ลดลง 20.00 12.0

จาก 6.5% สิ้นป 52 เปน 5.7% ใน 3Q53 15.00


10.0

8.0
ª ธนาคารมีเงินกองทุนตอสินทรัพยเสี่ยงสูงที่ 15.5% (Tier I 10.00 6.0
Capital 9.6%) การขายหุนกูดอยสิทธิ (Hybrid Tier I) เปนการ
เสริมใหเงินทุนแข็งแกรงขึ้นเพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจ 5.00 3.0

ª ความสามารถการทํากําไรเพิ่มขึ้น คาด ROE ปรับขึ้นเปน 12.5% 0.00

ในป 53 และ 13.6% ในป 54 จากราว 11.1% สะทอนการเติบโต Dec-03 Dec-04 Dec-05 Dec-06 Dec-07 Dec-08 Dec-09 Dec-10 E Dec-11 E

ของรายไดสูง และการควบคุมคาใชจายการดําเนินงานไดดี
กรอบราคาพื้นฐาน P/E 10-14 เท่า: 16.00-22.40 บาท
ไมเนอร์อิอนิ เตอร์ฯ
คําแนะนํา………………………………….……………..……..……...ซื้อ งบการเงินและประมาณการ: MINT
YE Dec (Bt mn) 2008 2009 2010E 2011E
ราคาปิด 9 ธ.ค. 53 (บาท)…………………..…….………............………..11.90 Net profit 1,892 1,400 1,474 1,911
Net profit growth (%) 17.5 (26.0) 5.3 29.6
มูลค่าพื้นฐานปี 54 (บาท)…………………….....................…14.04 EPS (Bt) 0.52 0.43 0.45 0.59
EPS growth (%) (3.9) (17.6) 5.3 29.6
กรอบราคาซื้อ/ขาย……………………................……..10.62-16.52 BV (Bt) 3.40 3.71 4.07 4.54
DPS (Bt) 0.29 0.15 0.16 0.21

ª ความเชื่ อ มั่ น นั ก ท อ งเที่ ย วต า งชาติ ฟ น ตั ว เรามองว า การ P/E (X)
P/BV (X)
22.5
3.5
27.4
3.2
26.0
2.9
20.0
2.6
ทองเที่ยวไทยผานพนจุดต่ําสุด 2Q53 กลับเขาสูปกติ 3Q53 และ Yield (%) 2.4 1.3 1.3 1.7
เริ่มเติบโต 4Q53 เราคาดการณจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติในป ROE (%) 17.2 11.5 11.7 13.7

53 ยังสามารถแสดงการเติบโตได 4.4%YoY (14.77 ลานคน)


และป 54 เติบโต 8% (15.95 ลานคน) พีอีแบนด์: MINT
Price (Bt)
ª โครงการพัฒนาอสังหาฯจะผลักดันกําไรสุทธิเติบโตสู งสุดเป น 20.0
P/E(x)

32.0
ประวัติการณในป 55-56 โดยจะเริ่มรับรูรายได 2 โครงการมูลคา 18.0
28.0
รวม 6.4 พันลานบาท (The Estate สมุย และ St. Regis 16.0
24.0
Resident) ในไตรมาส 4/53 สงผลใหฐานและโครงสรางรายได 14.0
20.0
ตั้งแตป 55 มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญจาก 3 ธุรกิจหลัก 12.0

เปน 4 ธุรกิจ คือ อาหาร โรงแรม คาปลีกและอสังหาริมทรัพย 10.0


16.0
8.0

ª ราคาหุนลดลง 23% จากจุดสูงสุดของปที่ 14 บาท เปนโอกาส 6.0

กลับเขาซื้อลงทุน เนนซื้อเพื่อความคาดหวังตอสวนตางกําไรจาก 4.0

การลงทุ น 22% เนื่ อ งจาก MINT ยั ง อยู ใ นช ว งการลงทุ น ที่ 2.0
Dec-05 Dec-06 Dec-07 Dec-08 Dec-09 Dec-10 E Dec-11 E
ตอเนื่อง เงินปนผลจึงไมโดดเดน
กรอบราคาพื้นฐาน P/E 18-28 เท่า: 10.62-16.52 บาท
ไทยออยล์
คําแนะนํา………………………………….……………..……..……...ซื้อ งบการเงินและประมาณการ: TOP
YE Dec (Bt mn) 2008 2009 2010E 2011E
ราคาปิด 9 ธ.ค. 53 (บาท)…………………..…….………............………..72.00 Net profit 224 12,062 9,035 11,529
Net profit growth (%) (98.8) n.m. (25.1) 27.6
มูลค่าพื้นฐานปี 54 (บาท)…………………….....................…81.00 EPS (Bt) 0.11 5.91 4.43 5.65
EPS growth (%) (98.8) n.m. (25.1) 27.6
กรอบราคาซื้อ/ขาย……………………................…..67.80-90.40 BV (Bt) 28.88 32.74 35.08 38.43
DPS (Bt) 2.75 2.55 1.77 2.26

ª คาดการณคาการกลั่นของ TOP ในป 54 เทากับ US$4.6/ P/E (X)


P/BV (X)
215.3
0.8
7.2
1.3
16.3
2.1
12.7
1.9
บารเรล สูงขึ้นจากป 53 ซึ่งคาดไวที่ US$3.7/บารเรล สอดรับกับ Yield (%) 11.7 6.0 2.5 3.1

แนวโนมขาขึ้นของธุรกิจโรงกลั่นที่เปนผลจากกําลังการกลั่นใหม ROE (%) 0.4 19.2 13.1 15.4

ในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกกลางชวงป 54-58 ที่ต่ําเพียง 2.5


ลานบารเรล/วัน เทียบกับในอดีตที่ 5.5 ลานบารเรล/วัน พีอีแบนด์: TOP
Price (Bt)

ª ไดประโยชนสูงสุดจากแนวโนมการปรับราคา LPG หนาโรงกลั่น 200 P/E(x)

จากปจจุบันที่ควบคุมไวที่ US$330/ตัน ใหเปนราคาตลาดโลกที่ 180

160
เดือน พ.ย. ที่ผานมาสูงกวา US$785/ตัน จะทําใหกําไรสุทธิป 54 140
เพิ่มขึ้น 13.6% จากประมาณการปจจุบัน หรือ 1,571 ลานบาท 120
20.0
100
ª คาดกําไรสุทธิ 4Q53 สูงขึ้น QoQ จาก 1) คาการกลั่นที่สูงขึ้น 80
18.0
16.0

ตามผลของฤดูหนาวในตางประเทศ 2) การฟนตัวอยางโดดเดน 60
14.0
12.0

ของราคาพาราไซลีนจากความตองการที่สูงขึ้นของผูผลิตปลาย 40
10.0

น้ําอยางโพลีเอสเตอร และการเปดโรงงาน PTA ในจีน 3) 20

โรงไฟฟา IPT กลับมาดําเนินงานตามปกติตั้งแตปลายเดือน 0


Dec-04 Dec-05 Dec-06 Dec-07 Dec-08 Dec-09 Dec-10 E Dec-11 E
พ.ย. และ 4) กําไรจากสตอกน้ํามันที่เพิ่มขึ้นตามราคาน้ํามันดิบ
ª ประเมินมูลคาพื้นฐานป 54 = 81 บาท (DCF, WACC 11.4%) กรอบราคาพื้นฐาน P/E 12-16 เท่า: 67.80-90.40 บาท
สแตนเลย์ การไฟฟ้า
คําแนะนํา………………………………….……………..……..……...ซื้อ งบการเงินและประมาณการ: STANLY
YE March (Btmn) 2009 2010 2011E 2012E
ราคาปิด 9 ธ.ค. 53 (บาท)…………………..…….…............………..185.00 Net profit 1,109 957 1,471 1,679
Net profit growth (%) (14.5) (13.6) 53.6 14.2
มูลค่าพื้นฐานปี 54 (บาท)…………………….....................241.00 EPS (Bt) 14.47 12.50 19.20 21.92
EPS growth (%) (14.5) (13.6) 53.6 14.2
กรอบราคาซื้อขาย……………………............……..175.30-241.12 BV (Bt) 88.20 96.18 111.48 127.39
DPS (Bt) 5.00 5.00 7.70 8.80
ª รับประโยชนมากสุดจากการเติบโตของอุตสาหกรรม STANLY P/E (X)
P/BV (X)
12.82
2.10
14.85
1.93
9.66
1.66
8.46
1.46
ถื อ เป น ผู ผลิ ต ชิ้น สว นรายใหญที่มีสว นแบ งตลาดสูง สุ ดสําหรั บ Yield (%) 2.70 2.70 4.15 4.74
ผลิ ต ภั ณ ฑ โ คมไฟยานยนต (ส ว นแบ ง ตลาด 70% ในตลาดรถ ROE (%) 17.3 13.6 18.5 18.3

ยนต และ 90% ในตลาดรถจักยานยนต) ในดานประสิทธิภาพใน


การทํากําไรสูงสุดในกลุม เนื่องจากเปนผูผลิตชิ้นสวนรายเดียวใน พีอีแบนด์: STANLY
กลุมที่มี R&D และมีคูแขงในตลาดนอยราย ซึ่งมี EBITDA Price (Bt) P/E(x)

Margin เฉลี่ย 23% สูงกวากลุมที่ 16% 280


260
12.0
11.0
240
ª คาดอีโคคารชวยหนุนการเติบโตในชวง 5ปขางหนา จากลูกคา 220
10.0

9.0
NISSAN TOYOTA HONDA SUZUKI และ MITSUBISHI ที่ 200
180 8.0

ตองผลิตใหได 1 แสนคันตอปภายในชวง 5 ปตามขอกําหนดของ 160

BOI ทั้งนี้สภาอุตสาหกรรมมีการประเมินยอดผลิตรถยนตของ 140


120
6.0

อุตสาหกรรมจะปรับเพิ่มขึ้นเปน 2.5 ลานคันในป 57 หรือเติบโต 100

เฉลี่ย (CAGR) เทากับ 12% ตอป 80


60
40
ª มีสถานะเงินสดสุทธิ บริษัทไมมีภาระหนี้สิน และมี Free Cash 20

Flow เฉลี่ยไมต่ํากวา 1 พันลานบาทตอป ซึ่งทําใหไมมีความ Mar-05 Mar-06 Mar-07 Mar-08 Mar-09 Mar-10 Mar-11 Mar-12

กังวลในเรื่องแหลงเงินทุน ปจจุบัน STANLY ซื้อขายที่ P/E ที่ กรอบราคาพื้นฐาน P/E 8-11 เท่า: 175.30-241.12 บาท
9.3 เทาต่ํากวาคาเฉลี่ยของกลุมที่ 11 เทา
แคล-คอมพ์ อิเล็คโทรนิคส์
คําแนะนํา………………………………….…….….……..ขายทํากําไร งบการเงินและประมาณการ: CCET
YE Dec (Bt mn) 2008 2009 2010E 2011E
ราคาปิด 9 ธ.ค. 53 (บาท)…………………..…….………............…………...3.46 Net profit 2,128 1,301 1,838 1,850
Net profit growth (%) (26.6) (38.8) 41.2 0.7
มูลค่าพื้นฐานปี 54 (บาท)……………………........................…3.50 EPS (Bt) 0.54 0.33 0.45 0.41
EPS growth (%) (23.8) (39.0) 36.5 (8.3)
กรอบราคาซื้อ/ขาย……………………................….….…..2.46-4.10 BV (Bt) 3.79 4.04 4.23 4.21
DPS (Bt) 0.20 0.11 0.16 0.14

ª คาดกําไร 4Q53-1Q54 จะออนตัวตอเนื่องตามปจจัยฤดูกาลคาด P/E (X)


P/BV (X)
6.4
0.9
10.5
0.9
7.7
0.8
8.4
0.8
กํ า ไรจากการดํ า เนิ น งาน 4Q53 ที่ ร ะดั บ 368 ล า นบาท ลดลง Yield (%) 5.8 3.2 4.6 4.2
24%QoQ และจะลดลงตอเนื่องใน 1Q54 ตามปจจัยฤดูกาล ROE (%) 14.3 8.2 10.6 9.8

ª คาดกํ า ไรสุ ท ธิ ป 54 ทรงตั ว คาดยอดขายสกุ ล ดอลลาร ส หรั ฐ พีอีแบนด์: CCET


เติ บ โต 10% ในป 54 จากโรงงานใหม ที่ ม าเลเซี ย และมหาชั ย
รวมถึงการขยายสายการผลิต PCBA แตทิศทางคาใชจายดาน Price (Bt)
9.0
P/E(x)

R&D มีแนวโนมเพิ่มขึ้น และกําไรตอหนวยมีแนวโนมลดลงตาม 8.0

ทิศทางของอุตสาหกรรม จะสงผลใหกําไรป 54 ทรงตัวจากปนี้ 7.0

6.0
ª คงคําแนะนํา “ขาย” ดวยมูลคาพื้นฐาน 3.5 บาท (P/E 8.5 เทา) 5.0
12.0

เนื่ อ งจากทิ ศ ทางผลการดํ า เนิ น งานทรงตั ว และต น ทุ น การ 4.0


10.0

ดําเนินงานจะเพิ่มขึ้น สงผลใหกําไรตอหนวยที่ลดลง และยังมี 3.0


8.0

ความเสี่ยงจากการแข็งคาของเงินบาท 2.0
6.0

4.0

ª ป จ จั ย เสี่ ย ง ค า เงิ น บาทที่ ยั ง คงมี ทิ ศ ทางแข็ ง ค า จะกระทบต อ 1.0 2.0

ประมาณการกําไร เราใชสมมติฐานคาเงินป 54 ที่ 30.4 บาทตอ 0.0


Dec-03 Dec-04 Dec-05 Dec-06 Dec-07 Dec-08 Dec-09 Dec-10 E Dec-11 E Dec-12 E

ดอลลารส หรั ฐ ฯ ทุ ก 1 บาทที่ แข็ ง คา กว า สมมติ ฐ านจะกระทบ


ประมาณการกําไรและมูลคาพื้นฐาน 3% กรอบราคาพื้นฐาน P/E 6-10 เท่า: 2.87-4.10 บาท
หุ้นเด่นเล่นสั้นด้วยเทคนิค
เทคนิค SET ที่ 1150 จุด..เป้าหมายที่จับต้องได้
3
1470
2.00 1261
1.618

L
กลุ่มพลังงาน ขับเคลื่อนดัชนีฯ

24000

S1 21000
S2 20000*
PTT ยังมีโอกาสทํา new high

R2 380
2.618
2.00 R1 340
1.618

S1 320-315
S2 300*
PTTEP มี upside สูงสุดในกลุ่ม
2.618
200
2.00
186-190
1.618

S1 176-170
S2 165
กลุ่มธนาคาร ไม่หวือหวา แต่ก็น่าจะมาอีกรอบ
R2 450
R1 420

S 390-370
SCB ค่อยๆขยับขึ้น
R2 130
2.618
R1 116-120
2.00
1.618
กลุ่มปิโตรฯ ชนแนวต้านพอดี
R 1875

S1 1200
S2 1000
TOP ที่ยังไม่ถึง top
R1 80
2.618
S1 72-70
2.00
1.618
KSL ยังหวานได้มากกว่านี้

R2 16.20

R1 15-15.50
S 13.40-13
CK รถไฟฟ้า(รีบๆ)มานะเธอ

R2 12.50
R1 11.50

S1 9.30-9
S2 8.60
Thank you
เอกสาร/รายงานฉบับนี้ จัดทําขึ้นโดยบริษัทหลักทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ("บริษัท") ข้อมูลที่
ปรากฏในเอกสาร/รายงานฉบับนี้จัดทําโดยอาศัยข้อมูลที่จัดหามาจากแหล่งที่เชื่อหรือควรเชื่อว่ามีความ
น่าเชื่อถือ และ/หรือถูกต้อง อย่างไรก็ตาม บริษัทไม่ยืนยันและไม่รับรองถึงความครบถ้วนสมบูรณ์หรือ
ถูกต้องของข้อมูลดังกล่าว และไม่ได้ประกันราคาหรือผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่ปรากฏข้างต้น แม้ว่า
ข้อมูลดังกล่าวจะปรากฏข้อความที่อาจเป็นหรืออาจตีความว่าเป็นเช่นนั้นได้ บริษัทจึงไม่รับผิดชอบต่อการ
นําเอาข้อมูล ข้อความ ความเห็น และหรือบทสรุปที่ปรากฏในเอกสาร/รายงานฉบับนี้ไปใช้ไม่ว่ากรณีใดๆ
บริษัทรวมทั้งบริษัทที่เกี่ยวข้อง ลูกค้า ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทต่างๆ อาจจะทําการลงทุนใน หรือ
ซื้อ หรือขายหลักทรัพย์ที่ปรากฏในเอกสาร/รายงานฉบับนี้ได้ทุกเวลา ข้อมูลและความเห็นที่ปรากฏอยู่ใน
เอกสาร/รายงานฉบับนี้ มิได้ประสงค์จะชี้ชวน เสนอแนะหรือจูงใจให้ลงทุนใน หรือซื้อ หรือขายหลักทรัพย์
ที่ปรากฏในเอกสาร/รายงานฉบับนี้ และข้อมูลอาจมีการแก้ไขเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงโดยมิต้องแจ้งให้ทราบ
ล่วงหน้า ผู้ลงทุนควรใช้ดุลยพินิจอย่างรอบคอบในการลงทุนในหรือซื้อหรือขายหลักทรัพย์

บริษัทสงวนลิขสิทธิ์ในข้อมูลที่ปรากฏในเอกสารและรายงานฉบับนี้ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้ประโยชน์ ทําซ้ํา


ดัดแปลง นําออกแสดง ทําให้ปรากฏ หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน ไม่ว่าด้วยประการใด ๆ ซึ่งข้อมูลใน
เอกสาร/รายงานฉบับนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากบริษัทเป็นการ
ล่วงหน้า การกล่าว คัด หรืออ้างอิง ข้อมูลบางส่วนตามสมควรในเอกสาร/รายงานนี้ไม่ว่าในบทความ บท
วิเคราะห์ บทวิจัย หรือในเอกสารหรือการสื่อสารอื่นใดจะต้องกระทําโดยถูกต้อง และไม่เป็นการก่อให้เกิด
การเข้าใจผิดหรือความเสียหายแก่บริษัท ต้องรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในข้อมูลของบริษัท และ
ต้องอ้างอิงถึงเอกสาร/ รายงานฉบับนี้ของบริษัทโดยชัดแจ้ง

Você também pode gostar