Você está na página 1de 43

การสารวจทาแผนที่

พ.อ.ศุภฤกษ์ ชัยชนะ
E-mail:suprtsd@msn.com
www.geocities.com/sup2822911
รูปถ่ายทางอากาศ คือ รูปถ่ายต่างๆ ที่ถ่ายจากอากาศยาน เช่น เครื่องบิน เครื่องบิน
ที่ไม่มีคนขับ บอลลูน ประโยชน์ของภาพถ่ายทางอากาศนั้นมีมากมาย เช่นใช้ผลิต
แผนที่ หรือใช้ร่วมกับแผนที่เพื่อดูรายละเอียด ที่เปลี่ยนแปลงไปจากแผนที่
ชนิดของรูปถ่ายทางอากาศมี 4 ชนิดคือ
รูปถ่ายดิ่ง คือรูปถ่ายที่ใช้ประโยชน์มากที่สุด เพราะให้รายละเอียดที่ตรงความเป็น
จริงมากสุด ภาพถ่ายดิ่งแกนกล้องจะเอียงไม่เกิน +/- 3 องศา

รูปถ่ายเฉียงน้อย คือรูปถ่ายที่เอียงเกิน +/- 3 องศา แต่ไม่เห็นเส้นขอบฟ้า

รูปถ่ายเฉียงมาก คือรูปถ่ายที่ถ่ายเอียงมากและเห็นเส้นขอบฟ้า ข้อดีคือครอบคลุม


บริเวณได้กว้างกว่า รูปถ่ายดิ่ง แต่ให้รายละเอียดที่ไม่ตรงความเป็นจริง

รูปถ่ายผสม คือรูปถ่ายที่ถ่ายด้วยกล้องถ่ายภาพทางอากาศหลายตัว ให้ทั้งภาพถ่ายดิ่งและ


ภาพถ่ายเฉียง
ภาพถ่ายไม่ใช่แผนที่เพราะ
• ภาพถ่ายทางอากาศจะมีมาตราส่วนไม่เท่ากันตลอดทั้งภาพ ตรงข้ามกับ
แผนที่จะมีมาตราส่วนเท่ากันทั้งภาพ
• ภาพถ่ายทางอากาศ ไม่มีระบบแสดงพิกดั ของสิ่งที่ปรากฏบนภาพถ่ายได้
• ภาพถ่ายทางอากาศ จะแสดงทุกสิ่งที่ปรากฏบนผิวโลกโดยมีสิ่งที่ควบคุม
คือ ระยะสูงบิน มาตราส่วน และเทคนิดในการผลิต
• ภาพถ่ายทางอากาศจะแสดงทุกสิ่งที่อยู่บนพื้นผิวโลก โดยความเป็นจริง
ภาพถ่ายที่นาไปทาแผนที่เราเรียกว่า แผนทีภ่ าพถ่าย(Picto map)
ประโยชน์ของภาพถ่ายทางอากาศ
• รายละเอียดที่ปรากฏบนภาพถ่าย ช่วยให้เราเก็บข้อมูลต่างๆได้หลายชนิด
ในเวลาเดียวกัน
• ภาพถ่ายทางอากาศเป็นการบันทึกเหตุการณ์ต่างๆในเวลานั้น ให้คงอยู่
ตลอดไป
• ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศสามารถนามาเปรียบเทียบกับข้อมูลประเภท
เดียวกันในอดีตได้
รายละเอียดขอบรูปถ่าย
• หมายเลขม้วน
• หมายเลขรูป
• มาตราส่วน
• วัน เดือน ปี ที่ทาการถ่ายรูป
• ความสูงบิน
• หมายเลขหรือชื่อโครงการ
• หน่วยที่ผลิต
• รายละเอียดอื่นๆ ที่ต้องการให้ทราบ
• อื่น ๆ เช่น เวลาที่ทาการถ่ายภาพ ฟองระดับ ชนิดของเลนซ์
มาตราส่วนของภาพถ่าย
• คืออัตราส่วนระหว่างระยะในรูปถ่ายกับระยะเดียวกันในภูมิประเทศ ซึ่ง
เป็นมาตราส่วนโดยประมาณ ไม่ถูกต้องแน่นอนเหมือนแผนที่

มาตราส่วนรูปถ่าย = ระยะรูปถ่าย
ระยะในภูมิประเทศ
ฟิลม์ที่ใช้ในการถ่ายรูปทางอากาศ
• ฟิลม์ PANCHROMATIC หรือฟิลม์ขาวดา
• ฟิลม์สี
• ฟิลม์อินฟราเรด
• ฟิลม์พิสูจน์ทราบการซ่อนพราง เป็นฟิลม์พิเศษที่ให้ข่าวสารเกี่ยวกับการ
ซ่อนพลางโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะพืชพันธ์ตามธรรมชาติจะปรากฏเป็น
สีแดง ในขณะที่สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเป็นสีฟ้า
การหาทิศของรูปถ่ายทางอากาศ
• โดยอาศัยแผนที่
• อาศัยเงาของรายละเอียดบนรูปถ่าย
• อาศัยเข็มทิศ วิธีนี้ต้องใช้ภูมิประเทศประกอบ
แผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม

แผนที่ มีการฉายแสงแบบ orthoprojection


ภาพถ่ายทางอากาศมีการฉายแสงแบบ central projection
ภาพถ่ายดาวเทียมมีการฉายแสงแบบ multi central projection
Ortho projection
Central projection
Multi central projection
ข้อผิดพลาดของภาพถ่ายทางอากาศเมื่อจะนาไปทาแผนที่

1. ข้อผิดพลาดที่เกิดจากอาการเอียงของกล้องถ่ายภาพทางอากาศ
2. Relief Displacement กรณีที่พื้นที่นั้นเป็นภูเขา
ข้อผิดพลาดเนื่องจากอาการเอียงของกล้อง

จากเงื่อนไขที่ว่า ตาแหน่งของจุดเปิดถ่าย(X0,Y0,Z0) และอาการเอียง


ของเครื่องบิน (Kappa,Phi,Omega) ถ้าทราบค่า parameter เหล่านี้
จะทาให้การฉายแสง สร้างภาพเป็นภูมิประเทศจริง
ข้อผิดพลาดเนื่องจากความผิดเนื่องจากความสูง
Relief displacement
การทาแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ
• หลักการ ถ้าเราทราบอาการเอียงของ
กล้องขณะบินถ่ายภาพทางอากาศ
แล้วนามาสร้างภาพให้เหมือนกับ
ตอนบินถ่ายภาพ เราจะได้ภาพที่ฉาย
ออกมามีสภาพเหมือนภูมิประเทศจริง
ที่ย่อส่วนมาคือ แผนที่นั่นเอง
องค์ประกอบของการทาแผนทีจ่ ากภาพถ่ายทางอากาศ

การรังวัดภาพถ่ายทางอากาศ

ภาพถ่ายทางอากาศ จุดควบคุม ทางราบ หรือทัง้ ทางราบและทางดิง่ รายละเอียดทีจ่ าเป็น


Scale = ?
การเลือกภาพถ่ายทางอากาศ
• Scale มาตราส่วนภาพถ่าย scale ใหญ่ให้ราบละเอียดทีด่ ีแต่
ครอบคลุมพื้นที่ได้น้อยกว่า
• ภาพถ่ายแบบ สี หรือ ขาวดา ภาพสีให้การจาแนกทีด่ ีกว่า แต่ราคาแพง
มากกว่า
• ขึ้นอยู่กับเครื่องมือเขียนแผนที่ คืออัตราส่วนขยาย และค่า c-factor
สาหรับเขียนช่วงต่างเส้นชั้นความสูง
อัตราส่วนขยายของเครื่องมือเขียนแผนที่
ค่า c-factor

C-factor = ค่าความสูงบิน
ช่วงเส้นชัน้ ความสูง
ตารางเลือกมาตราส่วนของภาพถ่ายเพื่อทาแผนที่
สาหรับข้อพิจารณาภาพ ortho
วิธีการหาจุดควบคุมหรือ ground control
ลักษณะพึง่ ประสงค์ของจุดควบคุม

- ต้องเป็นจุดที่คมชัด เห็นเด่นชัด และชี้จาแนกได้ง่าย


- อยู่ในตาแหน่งภาพที่เหมาะสม
ข้อควรคานึงเกี่ยวกับการปรับแก้ภาพถ่ายทางอากาศ
• ระบบพิกัดที่จะใช้ ขึ้นอยู่กับ
– ขนาดพื้นที่ที่จะจัดทา ถ้าพื้นที่ไม่กว้างมากขนาดทั้งประเทศควรใช้พิกัด
กริด
– ถ้าพื้นที่กว้างมากให้ใช้พิกัด ภูมิศาสตร์
• พื้นหลักฐานที่จะใช้
– ให้ดูว่า ข้อมูลทุยติภูมิ ใช้พื้นหลักฐานอะไร
– ถ้าอ้างอิงจากแผนที่ ให้ดูว่า แผนที่ระวางนั้นใช้พื้นหลักฐานอะไร
• L7017 ใช้พื้นหลักฐาน indian 1975
• L7018 ใช้พื้นหลักฐาน WGS84
• ความผิดพลาดที่ยอมให้ได้
• ลักษณะพื้นที่ที่จะทาแผนที่ เป็นภูเขาต้องใช้การปรับแก้แบบมีระบบ เพื่อแก้
ความผิดพลาดเนื่องจากความสูง
ข้อกาหนดเรื่องความถูกต้องของแผนที่
• ทางราบ
ร้อยละ 90 ของลักษณะรายละเอียดทางราบ ต้องมีตาแหน่งในแผนที่ต่างจาก
ตาแหน่งจริงได้ไม่เกิน 0.8 มม. ในแผนที่มาตราส่วน 1: 20 000 หรือ
ใหญ่กว่าและไม่เกิน 0.5 มม. ในแผนที่ทมี่ ีมาตราส่วนเล็กกว่า 1: 20
000
• ทางดิ่ง
ร้อยละ 90 ของจุดทดสอบค่าระดับสูงจะต้องมีค่าระดับความถูกต้องอยู่ใน
เกณฑ์ครึ่งหนึ่งของช่วงเส้นชั้นความสูง
ตัวอย่าง

แผนที่ 1: 50 000 ตามมาตรฐานแล้วต้องมีเกณฑ์ความถูกต้อง


ทางราบ = 0.5 x 50 000 = 25 000 มม. หรือ 25 เมตร
ทางสูง = 1 x 20 = 10 เมตร
2
ฉะนั้นความถูกต้องของจุดควบคุมหรือ Ground control
ต้องมีความถูกต้องมากกว่า เกณฑ์ความถูกต้องมาตรฐานของแผนที่
(กรณีใช้ภาพถ่ายทางอากาศหรือภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อการทาแผนที่)

• โดยทั่วไป ทางราบ จะเท่ากับ ครึ่งหนึ่งของเกณฑ์ ความถูกต้อง


มาตรฐานของแผนที่
• โดยทั่วไป ทางดิ่ง จะเท่ากับ 1 ของช่วงเส้นชั้นความสูง
5
ความถูกต้องของเครื่องรับสัญญาณ GPS ในแบบต่างๆ

• แบบ นาหน (navigator) ทั่วๆไป = 5-20 เมตร(ทางราบ)


• แบบ นาหน ที่มีความละเอียด = 3-5 เมตร(ทางราบ)
• DGPS ต่ากว่า 1 เมตร
• แบบทาการรังวัด โดยวิธี ความต่างเฟส ในเครื่องแบบ 1 ความถี่ 2 cm +/- 2
ppm
แบบสองความถี่ 1 cm +/- 1 ppm (ทางราบ ที่มีเส้นฐานไม่เกิน 20
KM)

หมายเหตุ ความสูงจะมีความคลาดเคลื่อนเป็นสองเท่าของทางราบ
ตาแหน่งที่เหมาะสมของจุดควบคุมหรือ ground
control บนภาพถ่ายทางอากาศ (อย่างน้อย 4 จุดและ
ขึ้นอยู่กับสมการ polynomial ที่ใช้)
การ mark ตาแหน่งจุดควบคุม
การเขียน description ลงบนหลังภาพถ่ายทางอากาศ
วิธีการปรับแก้ภาพถ่ายทางอากาศ

การปรับแก้เชิงเรขาคณิต (geometric correction) นั้น


มีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดความเพี้ยนเชิงเรขาคณิตของภาพ
ซึ่งกระทาโดยการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัดภาพ
และระบบพิกัดภูมิศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลปรับเทียบของเครื่องวัด
ข้อมูลตาแหน่ง และข้อมูลการทรงตัวที่มีการวัดไว้ จุดควบคุม
ภาคพื้นดิน สภาพบรรยากาศ ฯลฯ
วิธีการปรับแก้
• แบบมีระบบ
– จาเป็นต้องทราบค่า parameter ของภาพถ่ายทางอากาศ หรือภาพถ่ายดาวเทียม
– โดยมากจะใช้งานร่วมกับข้อมูลความสูงภูมิประเทศหรือ DTM เพื่อขจัดความผิด
เนื่องจากความสูงหรือ relief displacement
– เป็นการปรับแก้สมการที่เรียกว่า collinearity
– ผลผลิตที่ได้คือ ภาพแบบ orthophoto
• แบบไม่มีระบบ
– ไม่ใช้ค่า parameter ของภาพถ่ายทางอากาศหรือ ภาพถ่ายดาวเทียม
– ส่วนมากจะใช้ค่า สมการ polynomial เป็นตัวปรับแก้ ถ้า order 1 ต้องการ จุด
ควบคุม อย่างน้อย 4 จุด order 2 ต้องการจุดควบคุมอย่างน้อย 6 จุด
– ไม่ได้แก้ขัอผิดพลาดจากความสูง ใช้บริเวณ พื้นที่ทเี่ ป็นพืน้ ราบ ผลผลิตที่ได้คือ ภาพแบบ
rectify
สมการ polynomial
Order 1

x0 = b1 + b2x1 + b3y1
y0 = a1 + a2x1 + a3y1
Order 2

x0 = b1 + b2x1 + b3y1 + b4x12 + b5x1y1 + b6y12


y0 = a1 + a2x1 + a3y1 + a4x12 + a5x1y1 + a6y12

โดยที่ x0 y0 คือพิกัดภาพถ่าย
และ x1 y1 คือพิกัดของจุดควบคุมหรือจุดบนภูมิประเทศ
สมการ collinearity
วิธี resampling หรือ การจัดข้อมูลใหม่

- nearest neighbor
- bilinear interpolation
- cubic convolution
ขั้นตอนการทาแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ
• วางแผนขั้นต้น
• บินถ่ายภาพ
• วางแผนงานสนามเพื่อหาค่าพิกัด(control point)และแปลภาพ
• ออกสนามเพื่อหาค่าพิกัดของจุด control point และแปลภาพ
• เขียนแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศโดยอาศัยข้อมูลจากงานสนาม
• ประกอบระวาง
• พิมพ์แผนที่
การพิจารณารายละเอียดรูปถ่ายหรือการแปลรูปถ่าย
ใช้หลักการดังต่อไปนี้
• ขนาด
• รูปร่าง
• เงา
• ความเข็มสี
• ความสัมพันธ์ของตาแหน่ง
การพิจารณารายละเอียดรูปถ่าย ถ้าใช้เครื่องมือ stereoscopic
จะทาให้การสามารถมองเห็นภาพทรวดทรงได้ ทาให้การพิจารณา
รายละเอียดดีขนึ้

Você também pode gostar