Você está na página 1de 16

รายงานเชิงวิชาการ 

 
การอานและพิจารณาวรรณคดีเรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท 
 
 
 
โดย 
 
นาย ธนาคม กวีวุฒิศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 4  
นางสาว สาริศา เกียรติวุฒิ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 5 
นางสาว ปทิตตา กิตติมงคลสุข ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 6 
นาย เบญจมินทร หวังเจริญวงศ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 22 
 
 
 
 
เสนอ 
 
อาจารย พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ 
 
 
 
 
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 
 
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน (Project Based Learning) 
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 
 
คํานํา 
 
รายงานเลมนี้จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่งของภาควิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เพื่อใหไดศึกษา
หาความรูในเรื่องสามัคคีเภทคําฉันท และไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเพื่อเปนประโยชนแกการเรียนของตัวนักเรียน
เอง  
  
ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานเลมนี้จะเปนประโยชนกับผูอาน นักเรียน หรือนักศึกษาที่ตองการ
จะศึกษาในเรื่องสามัคคีคําฉันท หากมีขอแนะนําหรือขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําขอนอมรับไว และ ขออภัย
มา ณ ที่น ี้
 
คณะผูจัดทํา 
21 พฤษภาคม 2561 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ก 
สารบัญ 
 
หนา 
คํานํา ก 
สารบัญ ข 
1.การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม  1 
1.1 เนื้อเรื่อง หรือเนื้อเรื่องยอ 1 
1.2 โครงเรื่อง 1 
1.3 ตัวละคร 1 
1.4 ฉากทองเรื่อง 5 
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 5 
1.6 แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง 5 
 
2. การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม  5 
2.1 การสรรคํา  5 
2.2 การเรียบเรียงคํา  7 
2.3 การใชโวหาร 9 
 
3. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม  1​ 0 
3.1 คุณคาดานอารมณ 10 
3.2 คุณคาดานวรรณศิลป 11 
3.3 คุณคาดานสังคม 12 
 
บรรณานุกรม 13 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ข 
การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม   
 
เนื้อเรื่อง หรือเนื้อเรื่องยอ 
พระเจาอชาตศัตรูแหงกรุงราชคฤหแควนมคธทรงมีที่ปรึกษาราชกิจทั่วไปคือวัสสการพราหมณผูฉลาด
และรอบรูศิลปศาสตร เมื่อพระเจาอชาตศัตรูตองการที่จะขยายอํานาจโดยการปกครองแควนวัชชี แตกษัตริย
ของแควนวัชชีนั้นมีความสามัคคีปรองดอง จึงสงพราหมณไปเปนใสศึกเพื่อทําลายความสามัคคี กอนนําทัพไปตี 
โดยการออกอุบายวาพราหมณนั้นโดนไลออกจากแควนมคธ พราหมณเดินทางไปถึงนครเวสาลี กษัตริยลิจฉวี
ทรงซักถามายๆอยาง แตก็หลงกลพราหมณ ทรงรับไวทําราชการในตําแหนงอํามาตยผูพิจารณพิพากษาคดี
และตั้งเปนครูฝกสอนศิลปวิทยาแก ราชกุมารของเหลากษัตริย จากนั้นตอมาพราหมณเฒาก็ทําที่ปฎิบัติงานใน
หนาที่จนหมูกษัตริยวางใจ พราหมณจึงออกอุบายใหบรรดาราชโอรสกษัตริยลิจฉวีระแวงกันโดยใหแตละองคไป
พบเปนการสวนตัว แลวถามปญหาธรรมดา เมื่อองคอื่นถามววาสนทนาอะไรกับอาจารยบาง ถึงราชกุมารองค
จะตอบความจริง แตก็ไมมีใครเชื่อทําใหเกิดความราวฉานในบรรดากุมาร จนเรื่องไปถึงกษัตริยลิจฉวี ทําให
ความสามัคคีคอยๆนอยลง จนกระทั่งไมเขารวมประชุมราชสภาพราหรณ จึงสงขาวไปใหพระเจาอชาตศัตรูยก
ทัพมาตีแควนวัชชีไดสําเร็จ   
 
โครงเรื่อง  
กษัตริยของเมืองหนึ่งตองการที่จะขนายอํานาจไปที่เมืองใกลเคียง แตกษัตริยของเมืองนั้น มีความ
สามัคคีปรองดองที่มั่นคง กษัตริยผูตองการขยายอํานาจจึงใชอุบายสงพราหมณไปเปนไสศึก ทําลายความ
สามัคคีของกษัตริยเมืองนั้น แลวจึงยกทัพเขาโจมตี   
 
ตัวละคร 
พระเจาอชาตศัตรู: มีเมตตาตอประชาชน ทําใหเมืองเจริญ พยายามขยายอํานาจ และ รอบคอบ  
1. ความมีเมตตาตอประชาชน  
 
แวนแควนมคธนครรา-    ชคฤหฐานบูร ี
สืบราชวัตวิธทวี    ทศธรรมจรรยา 
เลื่องหลามหาอุตตมลาภ  คุณภาพพระเมตตา 
แผเพียงชนกกรุณอา  ทรบุตรธิดาตน 
 
2. ทําใหบานเมืองเจริญ 
 
หอรบจะรับริปุผิรอ  รณทอหทัยหมาย 
มุงยุทธยอมชิวมลาย  และประลาตมิอาจทน 

พรอมพรั่งสะพรึบพหลรณ  พยุหพลทหารชาญ 
อํามาตยและราชบริวาร  วุฒิเสวกากร  
เนืองแนนขนัดอัศวพา  หนชาติกุญชร 
ชาญศึกสมรรถสุรสมร  ชยเพิกริปูภินท 
กลางวันอนันตคณนา    นรคลาคละไลเนือง 
กลางคืนมหุสสวะประเทือง  ดุริยศัพทดีดสี 
บรรสานผสมสรนินาท  พิณพาทยและเภรี 
แซโสตสดับเสนาะฤดี  อุระลํ้าระเริงใจ 
 
3. พยายามที่จะขยายอํานาจและเมืองใหใหญกวาเดิม 
 
สมัยหนึ่งจึ่งผูภูมิบาล  ทรงจินตนาการจะแผอํานาจอาณา 
ใหราบปราบเพื่อเกื้อปรากฎ  ไผทไพศาลรัฐจังหวัดวัชชี 
 
4. มีความรอบคอบ  
 
ศึกใหญใครจะพยายาม  รบเราเอาตามกําลังก็หนักนักหนา 
จําจักหักดวยปญญา  รอกอนผอนหาอุบายทําลายมูลความ 
 
วัสสการพราหมณ: รักบานเมืองของตนเอง จงรักภักดีตอพระเจาอชาตศัตรู เฉลียวฉลาดมีไหวพริบ 
รอบคอบ และมีความเพียร 
1. รักบานเมืองของตนเอง และสามารถเสียสละใหไดเพื่อชาติบานเมือง  
 
ไปเห็นกะเจ็บแสบ  ชิวแทบจะทําลาย 
มอบสัตยสมรรถหมาย  มนมั่นมิหวั่นไหว 
หวังแผนเพื่อแผนดิน  ผิถวิลสะดวกใด 
เกื้อกิจสฤษฎไป  บมิเลี่ยงละเบี่ยงเบือน 
 
2. จงรักภักดีและกตัญูตอพระเจาอชาตศัตรู 
 
โดยเต็มกตัญู  กตเวทิตาครัน 
 

ใหญยิ่งและยากอัน  นรอื่นจะอาจทน  
หยั่งชอบนิยมเชื่อ  สละเนื้อและเลือดตน 
ยอมรับทุเรศผล  ขรการณพะพานกาย 
ไปเห็นกะเจ็บแสบ  ชิวแทบจะทําลาย 
มอบสัตยสมรรถหมาย  มนมั่นมิหวั่นไหว 
 
3. เฉลียวฉลาดมีไหวพริบ 
 
เปรียบปานมหรรณพนที  ทะนุที่ประทังความ 
รอนกายกระหายอุทกยาม  นรหากประสบเห็น 
เอิบอิ่มกระหยิ่มหทยคราว  ระอุผาวก็ผอนเย็น 
ยังอุณหมุญจนะและเปน  สุขปติดีใจ 
วัชชีบวรนครสรร  พจะขันจะเขมแขง 
รี้พลสกลพิริยแรง  รณการกลาหาญ 
มาคธไผทรฐนิกร  พลออนบชํานาญ 
ทั้งสิ้นจะสูสมรราญ  ริปุนั้นไฉนไหว 
ดั่งอินทโคปกะผวา  มุหฝาณกองไฟ 
หิ่งหอยสิแขงสุริยะไหน  จะมินาชิวาลาญ 
 
4. รอบคอบ 
 
วัชชีภูมีผอง  สดับกลองกระหึมขาน 
ทุกไทไปเอาภาร  ณกิจเพื่อเสด็จไป 
ตางทรงรับสั่งวา  จะเรียกหาประชุมไย 
เราใชคนใหญใจ  ก็ขลาดกลัวบกลาหาญ 
 
5. มีความเพียรพยายาม  
 
ครั้นลวงสามปประมาณมา  สหกรณประดา 
ลิจฉวีรา  ชทั้งหลาย 

  สามัคคีธรรมทําลาย  มิตรภิทนะกระจาย   
สรรพเสื่อมหายน  ก็เปนไป 
 
กษัตริยลิจฉวี: ตั้งมั่นในธรรม7ประการ ขาดวิจารณญาณ และ มีทิฐิมากเกินไป  
1. ตั้งมั่นในธรรม7ประการ  
 
หนึ่ง เมื่อมีราชกิจใด  ปรึกษากันไปบวายบหนายชุมนุม  
สอง ยอมพรอมเลิกพรอมประชุม  พรอมพรักพรรคคุมประกอบณกิจควรทํา 
สาม นั้นถือมั่นในสัม  มาจารีตจําประพฤติมิตัดดัดแปลง 
สี่ ใครเปนใหญไดแจง  โอวาทศาสนแสดงก็ยอมและนอมบูชา 
หา นั้นอันบุตรภริยา  แหงใครไปปรารภประทุษขมเหง 
หก ที่เจดียคนเกรง  มิยํ่ายําเยงก็เซนก็สรวงบวงพลี  
เจ็ด พระอรหันตอันมี  ในรัฐวัชชีก็คุมก็ครองปองกัน 
 
2. ขาดวิจารณญาณ  
 
  ตางองคนําความมิงามทูล  พระชนกอดิศูร 
แหง ธ โดยมูล  ปวัตติ์ความ 
แตกราวกาวรายก็ปายปาม  ลุวรบิดรลาม 
ทีละนอยตาม ณเหตุผล 
 
3. มีทิฐิมากเกินไป 
 
ศัพทอุโฆษ  ประลุโสตทาว 
ลิจฉวีดาว ขณะทรงฟง 
ตางธก็เฉย  และละเลยดัง 
ไทมิอินัง  ธุระกับใคร 
ตางก็บคลา  ณสภาคาร 
แมพระทวาร  บุรทั่วไป 
รอบทิศดาน  และทวารใด 
เห็นนรไหน  สิจะปดมี 
 
 

ฉากทองเรื่อง 
แทตริงแลวสามัคคีเภทคําฉันทเปนเรื่องราวของประอินเดียในสมัยพระเจาอชาตศัตรู แตดวยความเปน
ไทยของกวี จึงทําใหมีบางสวนของบทกลอนที่ยังคงความเปนไทย เชน การพรรณนาชมบานเมือง  

อําพนพระมนทิรพระราช  สุนิวาสวโรฬาร 
อัพภันตรไพจิตรและพา  หิรภาคก็พึงชม      
เลหเลื่อนชะลอดุสิตฐา  นมหาพิมานรมย    
มารังสฤษฎพิศนิยม  ผิจะเทียบก็เทียมทัน  
สามยอดตลอดระยะระยับ  วะวะวับสลับพรรณ
ชอฟาตระการกลจะหยัน  จะเยาะยั่วทิฆัมพร  
บราลีพิลาศศุภจรูญ  นภศูลประภัสสร  
หางหงสผจงพิจิตรงอน  ดุจกวักนภาลัย 

บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 
บทนี้แสดงถึงความจงรักภัคดีของวัสสการพราหมณที่มีตอพระเจาอชาตศัตรู 
 
โดยเต็มกตัญู  กตเวทิตาครัน  
ใหญยิ่งและยากอัน  นรอื่นจะอาจทน  
หยั่งชอบนิยมเชื่อ  สละเนื้อและเลือดทน  
ยอมรับทุเรศผล  ขรแทบจะทําลาย  
ไปเห็นกะเจ็บแสบ  ชิวแทบจะทําลาย 
มอบสัตยสมรรถหมาย  มนมั่นมิหวั่นไหว 
 
แกนเรื่อง 
สามัคคีเภทคําฉันทมีแกนเรื่องเดนคือ การแตกสามัคคีสามารถทําใหเกิดหายนะในหมูคณะ  
 
 
การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
การสรรคํา 
ผูประพันธเลือกใชคําใหตรงตามความตองการ เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง คําที่
ใชสื่อความคิดและอารมณไดอยางงดงามและชัดเจน การสรรคําในเรื่องมีดังตอไปนี ้  
 
 

1. เลือกใชคําใหเหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง 
 
ราชาลิจฉวี ไปมีสักองค 
อันนึกจํานง เพื่อจักเสด็จไป 
ตางองคดํารัส เรียกนัดทําไม 
ใครเปนใหญใคร กลาหาญเห็นดี 
 
บทประพันธขางตนเปนตัวอยางของการเลือกใชคําที่มีความเหมาะสมกับฐานะของบุคคล เมื่อผูแตง
ตองการกลาวถึงพระมหากษัตริย ผูแตงจะตองหานําคําศัพทที่เหมาะสมมาใช โดยในฉันทบทนี้มีการใชคํา
ราชาศัพท 
 
2. การเลือกใชคําโดยคํานึงถึงเสียง 
2.1 การเลนเสียงสัมผัส  
ในบทประพันธมีทั้งสัมผัสนอกสัมผัสในโดยเฉพาะสัมผัสสระและพยัญชนะเพื่อใหเกิดเสียงอัน
ไพเราะ เชน คะเนกล กับ คะนึงการ และ ระวังเหือด กับ ระแวงหาย ซึ่งเปนการเลนเสียงสัมผัสสระ 
 
ทิชงคชาติฉลาดยล ​คะเนกลคะนึงการ 
กษัตริยลิจฉวีวาร ​ระวังเหือดระแวงหาย  
 
2.2 การใชคําที่เลนเสียงหนักเบา  
การใชเสียงหนักเบาทําใหผูอานรูสึกถึงทํานอง ความไพเราะของเนื้อความไดมากชึ้น เชน 
 
ดั่งนั้น ณ หมูใด ผิ บ ไรสมัครมี 
พรอมเพรียงนิพันธนี   ​รวิวาทระแวงกัน  
 
2.3 การใชคําพองเสียงและคําซํ้า 
ในบทประพันธบางครั้งผูแตงจะใชการเลนเสียงคําพอง และคําซํ้า เพื่อใหเกิดทํานอง และความ
งดงามของฉันท เชน 
 
ควรยกประโยชนยื่น  นรอื่นก็แลเหลียว 
ดูบางและกลมเกลียว มิตรภาพผดุงครอง 
 
2.4 การเลือกใชคําใหหลากหลาย 
ผูแตงเลือกใชคําหลายๆคําที่มีความหมายเหมือนกันในการแตงกลอน เชน 

ขุนคอคชคุมกุมอัง  กุสกรายทายยังขุนควาญประจําดํารี 
ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสารละตัวกําแหงแข็งขัน 
 
คําวา คช ดํารี และคชสาร ที่ใชในบทประพันธขางตน เปนคําที่มีความหมายเดียวกัน ซึ่งคํา
ทั้งหมดมีความหมายถึงชาง 
 
การเรียบเรียงคํา 
ในการเขียนบทงานบทประพันธตางๆ ผูแตงจะมีการเรียบเรียงคําและประโยคในบทประพันธเพื่อให
เขาใจงานตอผูอาน ทําใหผูอานสามารถเขาถึงอารมณที่ถูกตองและเร็วขึ้น 
 
1. สารสําคัญไวทายสุด 
ในการแตงบทประพันธ ผูแตงจะนําสาระสําคัญ หรือใจความสําคัญไวดานหลังสุดเพื่อทําใหมีความ
หนักแนนในการอธิบายวัตถุประสงคและเนื้อหา 
 
ทิชงคชาติฉลาดยล    คะเนกลคะนึงการ 
กษัตริยลิจฉวีวาร  ระวังเหือดระแวงหาย 
 
จากฉันทบทนี้ผูแตงไดประพันธฉันทบทนี้ใหมีความหนักแนน และกระชับของเนื้อหาโดยนําใจความ
สําคัญมาไวทายบท นั่นก็คือ การที่วัสสการพรามหณคิดกลอุบายเพื่อใหเกิดความระแวงในหมูกษัตริยลิจฉวีนั้น
เปนเครื่องมือที่ดีที่ทําใหเกิดการแตกแยก ขาดความสามัคคีดังเดิม เพื่อยํ้าถึงเนื้อหาและสิ่งที่ตองการจะบอกผู
อาน  
  
2. เรียงคํา วลี หรือประโยคที่มีความสําคัญเทา ๆ กัน เคียงขนานกันไป 
 
ตางทรงสําแดง    ความแขงอํานาจ 
สามัคคีขาด  แกงแยงโดยมาน 
ภูมิศลิจฉวี วัชชีรัฐบาล 
  บ ชุมนุมสมาน  แมแตสักองค 
 
ผูประพันธเรียบเรียงคําที่มีความหนักแนนอยูขางกันเชน “สามัคคีขาด” และ “แกงแยงโดยมาน” เพื่อ
ทําใหเกิดการแบงความสําคัญใหเทาๆกัน โดยสองคํานี้มีความหมายในเชิงเดียวกัน ในฉันทบทขางตน ผูแตง
ตองการใชคําเหลานี้ในการเลาถึงความทระนง และความคิดวาตนเองมีอํานาจมาก ซึ่งทําใหเกิดการทะเลาะ
เบาะแวงกันเองในเหลากษัตริยลิจฉวี แตกความสามัคคี และตางตองการเปนใหญ 
 

3. เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับดุจขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดทายที่สําคัญที่สุด 
 
เหี้ยมนั้นเพราะผันแผก  คณะแตกและตางมา 
ถือทิฐิมานสา    หสโทษพิโรธจอง 
แยกพรรคสมรรคภิน  ทนสิ้น บ ปรองดอง 
ขาดญาณพิจารณตรอง ตริมหลักประจักษเจือ 
  เชื่ออรรถยุบลเอา    รสเลาก็งายเหลือ 
  เหตุหาก ธ มากเมือ คติโมหเปนมูล   
  จึ่งดาลประการหา  ยนภาวอาดูร 
  เสียแดนไผทสูญ  ยศศักดิเสื่อมนาม 
  
ในบทประพันธขางตนเปนเรื่องของการแตกความสามัคคีในหมูกษัตริยลิจฉวีอันมาจากทิฐิของกษัตริย 
และการขาดสติในการใตรตรองขอมูลใหดีกอน โดยผูแตงไดมีการจัดเรียงลําดับเหตุการณโดยคอยๆเพิ่มความ
เขมขนของเนื้อความไปจนจบ ซึ่งในบทนี้ผูแตงไดเขียนอธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และสิ่งที่อาจเกิดขึ้นใน
อนาคตเพราะการแตกความสามัคคี 
 
4. เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับแตคลายความเขมขนลงในชวงหรือประโยค 
สุดทายอยางฉับพลัน 
 
อยาปรารถนาหวัง  สุขทั้งเจริญอัน   
มวลมาอุบัติบรร  ลุไฉนบไดม 
ปวงทุกขพิบัติสรร  พภยันตรายกลี 
แมปราศนิยมปรี  ติประสงคก็คงสม 
ควรชนประชุมเชน  คณะเปนสมา 
สามัคคิปรารม  ภนิพัทธรําพึง 
ไปมีก็ใหม ี ผิวมีก็คํานึง 
เนื่องเพื่อภิยโยจึง  จะประสบสุขาลัยฯ 
 
นอกจากผูแตงจะมีการเขียนเรียงลําดับความเขมขนใหมากขึ้น ยังมีการแตงคลายความเขมขน ของ
เรื่องในตอนทาย อยางที่เห็นในฉันทขางตน ผูแตงลดความเขมขนของการอธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดการ
แตกความสามัคคีของเหลากษัตริย โดยการพูดถึงประโยชนของความสามัคคี และสอนใหทุกคนเขาใจ และเข
ถึงความสามัคคี 
  
 

การใชโวหาร  
การใชโวหาร คือการนําภาษาที่ใชพูดและเขียนที่ใชอยูปกติมาดัดแปลง เพื่อกอใหเห็นภาพ ความรูสึก 
และอารมณตางๆ โดยการใชโวหารมีหลายลักษณะเรียกวา “ภาพพจน” ดังนี ้
 
1. อุปมาโวหาร 
อุปมาโวหาร คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่งโดยมีคํามีที่หมาถึงคําวา เหมือน มาเปน
ตัวเชื่อม เชน  
 
ปวงโอรสลิจฉวีดํา ริณวิรุธก็สํา 
คัญประดุจคํา ธ เสกสรร 
 
2. อุปลักษณโวหาร 
อุปลักษณโวหาร คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งโดยบอกเปนนัย ไมกลาวหรือเปรียบเทียบให
เห็นตรงๆ เชน   
  
หิ่งหอยสิแขงสุริยะไหน  จะมินาชิวาลาญ 
ผูอานยอมจะเขาใจไดวาหิ่งหอยนั้นหมายถึงกองทัพมคธสวนสุริยะนั้นหมายถึงกองทัพวัชชี 
 
3. บุคคลวัต หรือบุคคลสมมุต ิ
การใชโวหารรูปแบบนี้ เปนการสมมุติสิ่งตางๆ ใหมีกิริยาอาการ มีความรูสึกเหมือนมนุษย เชน 
 
วัชชีผูมีผอง    สดับกลองกระหึมขาน 
ทุกไทไปเอาภาร  ณ กิจเพื่อเสด็จไป” 
  
คําวา “ขาน” ปกติหมายถึงการกลาว เรียก หรือพูดตอบของมนุษย แตนํามาใชกับกลองที่เปนสิ่งของ 
เพื่อสรางจินตภาพใหเห็นวาเสียงของกลองเปนสิ่งที่ใชเรียกหรือพูด ใหผูฟงไดยินอยางชัดเจน 
 
4. อติพจน  
เปนการกลาวผิดไปจากที่เปนจริง เพื่อใหเรื่องที่แตงดูนาสนใจ นาติดตาม เชน 
 
ตื่นตาหนาเผือด  หมดเลือดสั่นกาย 
หลบลี้หนีตาย    วุนหวั่นพรั่นใจ 
ซุกครอกซอกครัว  ซอนตัวแตกภัย 
เขาดงพงไพร    ทิ้งยานบานตน” 

จากบทประพันธขางตน ผูแตงไดใชคําวา “ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย” เพื่อแสดงถึงความตื่น
ตระหนกของชาวบานเมื่อเกิดการรุกราน โดยวรรคนี้ทําใหรูวาตกใจและหวาดกลัวมาก ผานการใชอติพจน อีก
ทั้งยังเปนการทําใหผูอานเห็นภาพ และคิดตามไดอีกดวย 
 
5. นามนัย  
นามนัย เปนการใชชื่อสวนประกอบที่เดนของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆทั้งหมด โดยมีสวนประกอที่เกี่ยวของ
กัน เชน 
 
“แมมากผิกิ่งไม      ผิวใครจะใครลอง 
มัดกํากระนั้นปอง    พลหักก็เต็มทน 
เหลาไหนผิไมตรี      สละลี้ ณ หมูตน 
กิจใดจะขวายขวน    บ มิพรอมมิเพรียงกัน” 
 
ในประโยคที่วา “แมมากผิกิ่งไม ผิวใครจะใครลอง มัดกํากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน” กิ่งไมกิ่งเดียว
สามารถหักไดดวยมือเปลา แตหากถูกมัดเปนกํา จะไมสามารถ หักมันได แสดงใหเห็นวานายชิต บุรทัตใช
ลักษณะเดนของกําของกิ่งไมแทนความสามัคคีและเปนหนึ่งเดียวกันในหมูคณะ ซึ่งแปลไดวา เมื่อรวมมือกัน จะ
กอเกิดเปนความสามัคคีที่ปญหาหรือแรงภายนอกก็ไมสามารถที่จะทําลายความสามัคคีนี้ลงได 
 
 
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
คุณคาดานอารมณ  
จุดเดนอยางหนึ่งของสามัคคีเภทคําฉันทคือความสามารถที่ทําใหผูอื่นมีอารมณคลอยตามกับเนื้อเรื่อง
ไดดีเยี่ยมโดยการ 
 
1. ทําใหผูอานเกิดอารมณโปรงปติ คลอยตามบทประณามพจนในตอนตนเรื่อง เชน   
 
ขอนอมคุณพระคเณศวิเศษศิลปธร   
เวทางคบวร กวีเปนเจาแหงวิทยาวราภรณศรี  
สุนทรสุวาที วิธาน  
 
2. ทําใหผูอานเกิดอารมณชื่นชมยินดี เชน 
 
อําพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสนวโรฬาร  
10 
อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม  
เลหเลื่อนชะลอดุสิตฐา  นมหาพิมานรมย  
มารังสฤษฎิ์พิศนิยม ผิจะเทียบก็ทัน  
 
3. ทําใหผูอานเกิดอารมณตื่นเตน เอาถึงอารมณืของเนื้อเรื่อง เชน 
 
ตื่นตาหนาเผือด  หมดเลือดสั่นกาย 
หลบลี้หนีตาย  วุนหวั่นพรั่นใจ 
ซุกครอกซอกครัว   ซอนตัวแตกภัย 
เขาดงพงไพร  ทิ้งยางบานตน 
 
4. สรางอารมณผูอานใหเกิด หรือรูสึกถึงอารมณโกรธ เชน 
 
ศึก บ ถึงและมึงก็ยังมิเห็น 
จะนอยจะมากจะยากจะเย็น  ประการใด 
อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ 
ขยาดขยั้นมิทันอะไร  ก็หมิ่นกู 
 
5. สรางอารมณผูอานใหเกิดอารมณหวาดกลัว เชน 
 
ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศัพทสีหนาทพึง 
สยองภัย  เอออุเหมณมึงชิชางกระไร 
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน  ก็มาเปน 
 
คุณคาดานวรรณศิลป 
สามัคคีเภทคําฉันทมีการใชฉันทลักษณไดอยางงดงามและเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง เนื่องจากกวีเลือกสรร
ถอยคํา มีการเลนเสียงสัมผัสทั้งพยัญชนะและสระ จึงเกิดความไพเราะสละสลวย เชน 
 
แตกราวกราวรายก็ปายปาม ลุวรบิดรลาม 
ทีละนอยตาม ณ เหตุผล 
ฟนเฝอเชื่อนัยดนัยตน นฤวิเคราะหเสาะสน 
สืบจะหมองมล เพราะหมายใด 
 
11 
อีกทั้งยังใชคํางายๆ มีการบรรยายและพรรณนาตัวละครไดอยางกระชับ แตสรางภาพใหผูอานสามารถ
จินตนาการตามได เชน   
 
ขาวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล 
ในหมูผูคน ชาวเวสาลี 
แทบทุกถิ่นหมด ชนบทบูร ี
อกสั่นขวัญหนี หวาดกลัวทั่วไป 
ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย 
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ 
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย 
เขาดงพงไพร ทิ้งยานบานตน 
 
สามัคคีเภทคําฉันท เปนฉันททีมีความหลากหลายมาก เนื่องจกผูแตงไดเลือใฉันทแตละชนิดแตงเรื่อง
สลับกันไป เพื่อใหเห็นถึงความสวยงาม ไพเราะ โดยฉันทที่ผูแตงใชในเรื่องนี้มีทั้งหมด ๑๘ ชนิด เชน ภุชงคประ
ยาตฉันท ๑๒ มาณวกฉันท ๘ อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑๑ สัทธราฉันท ๒๑ สาลินีฉันท ๑๑ อุปฏฐิตาฉันท ๑๑ 
วิชชุมมาลาฉันท ๘ อินทรวิเชียรฉันท ๑๑ จิตรปทาฉันท ๘ และสัททุลวิกกีิตฉันท ๑๙ 
 
คุณคาดานสังคม 
สามัคคีเภทคําฉันทยังเเสดงใหเห็นถึงขอคิดเเละเตือนสติผูอานในการใชชีวิตหลายเรื่องโดยเนนสอน
เรื่องการใชชีวิต และความสามมัคคี ผูแตงตองการจะสื่อวา ในการใชชีวิต เราจะตองเจอกับผูคนมากมาย 
ทํางานดวยกัน และเพื่อที่จะใหประสบผลสําเร็จนั้น ทุกคนในกลุมควรชวยเหลือกันและกัน ทั้งทํางาน และแก
ปญหาที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการขาดความสามัคคี อาจกอใหเกิดการทะเลาะเบาะแวง และความเสียหายดาน
อื่นๆ บทประพันธบทนี้สอนใหใชสติในการแกปญหาแทนใชกําลัง การพยายามที่จะทําสิ่งตางๆ อีกทั้งยังสะทอน
ใหเห็นถึงสะภาพสังคมที่เปนอยูในปจจุบันดวย 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12 
บรรณานุกรม 
 
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สํานักงาน. หนังสือเรียนรายวิชาขั้นพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดี
จักษ พิมพครั้ง ที่ ๕. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพราว, ๒๕๕๗. ๑๖๙ หนา 
 
Roberto Jose Martinez. (2556, December 16). สามัคคีเภทคําฉันท. [เว็บบล็อก]. สืบคนจาก 
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-post_3427.html  
 
ทิพวัลย ขาวคง. (n.d.). สามัคคีเภทคําฉันท. [เว็บบล็อก]. สืบคนจาก 
https://nidkawkong.wordpress.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0
%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%
B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C/ 
 
กัลยาณี ถนอมแกว. (2010, January 21). วิจารณตัวละครเรื่องสามัคคีเภทคําฉันท. [เว็บบล็อก]. 
สืบคนจาก https://www.gotoknow.org/posts/329717 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

13

Você também pode gostar