Você está na página 1de 220

Page 1

การฝงเข็ม – รมยา เลม 3


(การฝงเข็มรักษาอาการปวด)

กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2554
ISBN 978-616-11-0728
Page 2

การฝงเข็ม – รมยา เลม 3


(การฝงเข็มรักษาอาการปวด)

ที่ปรึกษา
แพทยหญิงวิลาวัณย จึงประเสริฐ อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
นางเย็นจิตร เตชะดํารงสิน ผูอํานวยการสถาบันการแพทยไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต
นายแพทยสมชัย โกวิทเจริญกุล นายกสมาคมแพทยฝงเข็ม และสมุนไพร
บรรณาธิการ
ทัศนีย ฮาซาไนน บัณฑิตย พรมเคียมออน สมชาย จิรพินิจวงศ
คณะทํางาน
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
เย็นจิตร เตชะดํารงสิน ทัศนีย ฮาซาไนน เบญจนีย เภาพานิชย
ยุพาวดี บุญชิด ภาวิณี เสริมสุขไมตรี วาสนา บุญธรรม
ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ
ประพันธ พงศคณิตานนท วิรัตน เตชะอาภรณกุล
โรงพยาบาลยางชุมนอย จังหวัดศรีสะเกษ
ชํานาญ สมรมิตร
โรงพยาบาลพระนั่งเกลา นนทบุรี
โกสินทร ตรีรัตนวีรพงษ
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกลา
พลโท (หญิง) พรฑิตา ชัยอํานวย
โรงพยาบาลอานันทมหิดล
พันเอกฐิติภูมิ เอื้ออํานวย
โรงพยาบาลกลาง สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร
สุทัศน ภัทรวรธรรม
ศูนยการแพทยกาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล
อัมพร กรอบทอง สุวดี วองวสุพงษา
โรงพยาบาลวิชัยยุทธ
กิตติศักดิ์ เกงสกุล
นักวิชาการอิสระ
บัณฑิตย พรมเคียมออน สิทธิชัย วงศอาภาเนาวรัตน
Page 3

ผูทรงคุณวุฒิดานการแพทยแผนจีน
สมชัย โกวิทเจริญกุล สมชาย จิรพินิจวงศ

เจาของลิขสิทธิ์
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
ออกแบบปก
ทัศนีย ฮาซาไนน
ภาพประกอบ
อัมพร กรอบทอง
พิมพครั้งที่ 1 : มิถุนายน 2554 จํานวน 1,000 เลม
พิมพที่ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย
44/16 ถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี แขวงตลาดบัวขวัญ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

ทัศนีย ฮาซาไนน บัณฑิตย พรมเคียมออน สมชาย จิรพินิจวงศ


การฝงเข็ม รมยา เลม 3 ----นนทบุรี
โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย 2554
290 หนา ภาพประกอบ
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

ISBN 978-616-11-0728
Page 4

คํานํา
ประสิทธิผลของการฝงเข็มรักษาโรคตาง ๆ เปนที่ประจักษ และยอมรับในระดับนานาชาติ หลาย
ประเทศไดใชการฝงเข็มเปนการแพทยแบบผสมผสานในการรักษาโรคตาง ๆ อยางแพรหลาย การยอมรับที่
เกิดขึ้นนี้ นอกจากจะเกิดจากประสบการณตรงของผูที่ไดรับการรักษาดวยการฝงเข็มแลว ยังเกิดจากผลการ
ศึกษาวิจัยอยางแพรหลายทั้งในสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศตาง ๆ ปจจุบัน มหาวิทยาลัยหลาย
แหงทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกามีหลักสูตรการฝงเข็ม เปนวิชาเรียนในหลักสูตรแพทยศาสตรศึกษาระดับ
ปริญญาตรี เพื่อใหแพทยที่สําเร็จการศึกษา สามารถมีวิธีการรักษาที่หลากหลายเพื่อชวยใหผลการรักษา
ผูปวยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การประยุก ตใชก ารฝงเข็มรักษาอาการปวดตาง ๆ นับวามีประสิทธิภาพสูง และเปนที่ย อมรับ
ของผูป วยอย างกวางขวาง อย างไรก็ ต าม เนื่ องจากการแพทย แผนหลัก ของประเทศไทย ยั ง คงเป น
การแพทยแผนตะวัน ตก เพื่อให ก ารฝง เข็มเปน การแพทย ผสมผสานและเป น ประโยชน ต อผูป วย กรม
พัฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อก โดยความร วมมื อ จากคณะแพทย ฝ ง เข็ ม ที่ เ ป น
คณะทํางานในการจัดทําตํารา การฝงเข็ม รมยา จึงไดจัดทําตํารา การฝงเข็มรักษาอาการปวดตาง ๆ ซึ่ง
นับเปน ตํารา การฝงเข็ม รมยา เลมที่ ๓ โดยมีวัตถุป ระสงคใ หเ ปนแนวทางในการใหบ ริก ารการรักษา
อาการปวดแบบผสมผสาน เปนการเพิ่มโอกาสในการรักษาแกผูปวย
ตํารา “การฝงเข็ม รมยา” แมจะมีวัตถุประสงคใชประกอบการฝกอบรมในหลักสูตร “การฝงเข็ม” แต
เพื่อใหผูสนใจในศาสตรการฝงเข็ม รวมทั้งนักศึกษาแพทยแผนจีนในระดับปริญญาตรีไดนําไปใชศึกษาเพื่อ
การคนควา การจัดทําเนื้อหาการรักษาอาการปวดตาง ๆ ดวยการฝงเข็มเลมนี้ ไดรวบรวมประสบการณ
การรักษาและงานวิจัย ทั้งของผูเขียนและจากตํารามานําเสนอ ซึ่งอาจมีความคิดเห็นที่หลากหลาย
การจั ดทําตํ าราเลมนี้ ไดรับ ความรวมมือเปน อยางดียิ่ง จากคณะทํางาน ซึ่งได สละเวลาช วยกั น
จัดทําจนเนื้อหาเสร็จสมบูรณ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกจึง ใครขอขอบคุ ณ
คณะทํางานที่ไดทุมเทเสียสละ รวมมือรวมใจกันจัดทําหนังสือเลมนี้ จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี โดยเฉพาะ
อยางยิ่ง นายแพทยบัณฑิตย พรมเคียมออน อาจารยสมชาย จิรพินิจวงศ ที่ชวยตรวจสอบความถูกตอง
ของเนื้ อ หาและภาพประกอบ แพทย ห ญิ ง อั ม พร กรอบทอง จากศู น ย ก ารแพทย ก าญจนาภิ เ ษก
มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ไดกรุณาวาดภาพประกอบทั้งหมดในหนังสือนี้ จึงหวังเปนอยางยิ่งวา ตํารา “การ
ฝงเข็ม รมยา” เลมนี้ จะเปนประโยชนแกแพทยฝงเข็ม แพทยจีน นักศึกษาในหลักสูตรการแพทยแผนจีน
ตลอดจนผูสนใจในศาสตรนี้ เพื่อพัฒนาศาสตรการฝงเข็มในระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ให มี
ความมั่นคงและยั่งยืนสืบไป

(แพทยหญิงวิลาวัณย จึงประเสริฐ)
อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
Page 5

คําแนะนําการใชหนังสือ
การฝงเข็ม รมยา เลม 3
การฝงเข็มรักษาอาการปวด
การจัดทําหนังสือ การฝงเข็ม รมยา เลม 3 (การฝงเข็มรักษาอาการปวด ) มีวัตถุประสงคใหผูอาน
เขาใจถึ ง ขั้น ตอนการรักษาอาการปวดต าง ๆ ด วยการฝงเข็ม การรักษาและการเลือกจุ ดฝงเข็มที่ ใช ใ น
หนังสือเลมนี้ เปนการเรียบเรียงขึ้นทั้งจากประสบการณตรงของคณะผูเรียบเรียง และจากทั้งเอกสารทาง
วิช าการที่ จัด ทํ าโดยสถาบั นการศึ กษาที่ มีชื่อเสีย งของสาธารณรัฐประชาชนจี น และนั กวิช าการ ได แก
มหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเซี่ยงไฮ มหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนปกกิ่ง มหาวิทยาลัยการแพทยแผน
จีนนานจิง เปนตน ทั้งนี้เพื่อใหผลการรักษามีประสิทธิภาพเชนเดียวกับการรักษาในประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน และเปนแนวทางในการศึกษาวิจัย ผลการรักษาโรคดวยการฝงเข็ม เพื่อพัฒนาองคความรู
และทักษะใหกาวหนาตอไป
การฝงเข็มเปนเวชกรรมการรักษาโรคของจีนที่มีประวัติการคนควาและแพรหลายมาหลายพันป
การฝงเข็มเป นวิธีการรักษาโรค ฟน ฟูสุขภาพ สรางเสริมสุขภาพและปองกัน โรค โดยการใชเ ข็มป กตาม
ตําแหนงจุดเฉพาะตาง ๆ ของรางกาย มีวัตถุประสงคเพื่อปรับสมดุลรางกาย ชวยปรับใหอวัยวะและระบบ
การทํางานตาง ๆ ของรางกายกลับทํางานไดเปนปกติ โดยเฉพาะที่โดดเดนในการระงับอาการเจ็บปวด จึง
นําไปใชในการรักษาโรคปวดตาง ๆ ไดดี
หนังสือ การฝงเข็ม รมยา เลม 3 นี้ ประกอบดวยเนื้อหาตาง ๆ ดังนี้
การรักษาอาการปวดตาง ๆ ดวยการฝงเข็ม กลาวถึงโรค/กลุมอาการ ที่พบบอยและรักษาได
ดวยการฝงเข็ม โดยมีลําดับรายละเอียดตาง ๆ ในแตละโรค/กลุมอาการ ดังนี้
1) ชื่ อ โรค/กลุมอาการ ใช ชื่ อ เป น ภาษาไทย และกํ ากั บ ในวงเล็บ ด วยภาษาอัง กฤษตามศั พ ท
การแพทยแผนตะวันตก สําหรับโรคที่ไมมีศัพทบัญญัติภาษาไทย จะทับศัพทตามชื่อโรคของการแพทยแผน
ตะวันตก
2) บทนํา เปนการกลาวบรรยายถึงความหมาย คําจํากัดความ ลักษณะเดนและการดําเนินโรค
ของโรค/กลุมอาการ ตลอดจนแสดงความสัมพันธในแตละมุมมองของการแพทยแตละแผน
3) สาเหตุและกลไกลการเกิดโรค กลาวถึง สาเหตุและกลไกการเกิดโรคตามแนวคิดของศาสตร
การแพทยแผนจีน และการแพทยแผนปจจุบันในบางอาการโรค
4) การวินิจฉัยแยกกลุมโรค เปนการบรรยายสรุปการวินิจฉัยตามกลุมโรค โดยการวิเคราะหโรค
ตามกลุมอาการทั้ง ในแบบแผนของทฤษฎีการแพทยจีน และการแพทยแผนปจจุบัน
5) การรั ก ษา เน น การรั ก ษาด ว ยการฝ ง เข็ ม ระบบเสน ลมปราณ โดยกลา วถึ ง หลั ก การหรื อ
วัตถุประสงคในการรักษาโรค หลักการเลือกจุดฝงเข็มและกระตุนเข็ม ตํารับจุดหลักและจุดเสริมตามอาการ
Page 6

รวมถึงอรรถาธิบายสรรพคุณและเหตุผลในการเลือกใชจุดดังกลาว การเรียกชื่อจุดในบทนี้ใชการเรียกชื่อ
ตามระบบพิน อิน และรหัสจุด ตามมาตรฐานขององค การอนามัย โลก สวนคําอานภาษาไทยและชื่ อจุ ด
ภาษาจีนไดจัดรวบรวมไวในตารางภาคผนวกที่ 1
บางโรค/กลุมอาการ จะมีการเพิ่มการรักษาโรคดวยวิธีอื่นนอกเหนือจากการฝงเข็มดวย ไดแก การ
ฝงเข็มหู การครอบกระปุก การรักษาดวยเข็มผิวหนัง ฯ
6) ภาพประกอบ เปนภาพแสดงตํารับจุดฝงเข็มที่ใชรักษาในแตละกลุมโรค โดยเปนรูปแสดงสวน
ของรางกายและตําแหนงจุด และมีรหัสจุดกํากับอยู

ภาคผนวก หนังสือ การฝงเข็ม - รมยา เลม 3 มีภาคผนวก 1 เรื่อง ไดแก


ภาคผนวกที่ 1 ดัชนีจุดฝงเข็มตามระบบเสนลมปราณ
บรรณานุกรม จะอยูทายสุดของหนังสือ
Page 7

สารบัญ

หนา
คํานํา ก-ข
คําแนะนําการใชตํารา การฝงเข็ม รมยา เลม 3 ค-ง
สารบัญ จ-ช
สารบัญรูป ซ-ญ
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาการปวด 1
1. กลุมอาการทางปวดระบบประสาท
- ปวดศีรษะ (Headache : 头痛) 6
- ปลายประสาทเสื่อมจากโรคเบาหวาน 13
(Diabetic Peripheral Neuropathy : 糖尿病末梢神经病变)
- ปวดประสาทใบหนา (Trigeminal Neuralgia : 面痛) 17
21
- ปวดประสาทจากเชื้องูสวัด
(Herpetic Neuralgia : 带状疱疹后遗神经痛) 29
- ปวดฟน (Dental Pain : 牙痛)
2. กลุมอาการปวดจากพังผืดกลามเนื้อ 35
(Myofacial pain syndrome : 肌筋膜炎综合症 )
3. เจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ (Angina Pectosis : 胸痛) 42
4. กลุมอาการปวดบริเวณตนคอ และลําตัวสวนบน (Neck and upper)
- เจ็บคอ (Sore Throat : 喉咙痛 ) 51
- กระดูกคอเสื่อม (Cervical spondylosis : 颈椎病) 54

สารบัญ (ตอ)
หนา
5. อาการปวดบริเวณลําแขน (Upper Extremitries)
- ไหลติด (Frozen Shoulder : 冻结肩) 57
- ปวดขอศอก (Tennis Elbow :网球肘) 62
- พังผืดกดทับเสนประสาทในโพรงขอมือ 65
(Carpal tunnel syndrome : 腕管综合症)
6. อาการปวดบริเวณลําตัวสวนลางและขา
- ปวดหลัง (Back pain : 腰痛) 68
82
- ปวดประสาทไซแอทติค (Sciatic pain : 坐骨神经痛)
94
- ปวดหลังจากภาวะกระดูกบางหรือพรุน
Page 8

(Back Pain due to Primary Osteoporosis: 骨质疏松腰痛)


- ปวดหลังจากขอสันหลังเสื่อม 96
(Back Pain due to Hypertrophic Spondylosis : 退化性腰痛 )
- ขอเขาเสื่อม (Knee Osteoarthritis : 退化性膝关节炎) 100

- ปวดขอสะโพก (Hip joint pain : 髋关节痛) 119


- ปลายประสาทใตผิวหนังตนขาอักเสบ 124
(Latero – Femoral Cutaneous Neuritis : 股外侧皮神经炎)
7. โรคขออักเสบรูมาตอยด (Rheumatoid Arthritis : 类风湿性关节炎) 127
8. โรคเกาต (Gouty Arthritis : 痛风) 136
9. กลุมอาการปวดชองทอง (Abdomen pain)
- ปวดบริเวณลิ้นป (Epigastric pain/Gastralgia : 胃脘痛) 141
- ทองอืดแนน (Abdominal Distention : 腹胀) 147

สารบัญ (ตอ)
หนา
- ปสสาวะตกคาง (Urinary retention : 尿潴留) 153
- แผลกระเพาะอาหาร (Peptic ulcer : 胃溃疡) 162
175
- กรดไหลยอน (Acute Regurgitation : 胃反酸)
182
- ถุงน้ําดีอักเสบ (Cholecystitis : 胆囊炎)
191
- นิ่วในถุงน้ําดีและถุงน้ําดีอักเสบ
(Gall Stone and Cholecystitis : 胆结石和胆囊炎)
197
- พยาธิไสเดือนในทางเดินน้ําดี (Biliary Ascariasis : 胆道回虫症) 203
- ภาวะลําไสอุดตันเฉียบพลัน
(Acute intestinal obstruction : 急性肠梗阻) 209
- ภาวะไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน
(Acute Appendicitis : 急性阑尾炎) 218

- นิ่วในไต (Renal colic and Stone : 肾结石) 228


234
- ปวดปสสาวะ และปสสาวะผิดปกติ (Stranguria : 淋症 ) -
ภาวะปวดทองอยางรุนแรง
(Acute Catastrophic abdominal pain : 急性腹绞痛)
9. กลุมอาการของโรคทางสูติ - นรีเวช
- เตานมอักเสบเฉียบพลัน (Acute Mastitis : 急性乳腺炎) 237
241
- ปวดประจําเดือน (Dysmenorrhea : 痛经)
10. กลุม
 อาการบาดเจ็บจากกีฬา (Sport injury : 运动性损伤) 248

ภาคผนวกที่ 1 ดัชนีจุดฝงเข็มตามระบบเสนลมปราณ
บรรณานุกรม
Page 9

สารบัญรูป
หนา
รูปที่ 1 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาอาการปวดศีรษะ รูปที่ 2 11
แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปลายประสาทเสื่อมจาก 16
โรคเบาหวาน
รูปที่ 3 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดประสาทใบหนา 20
รูปที่ 4 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดประสาทจากเชื้องูสวัด 22
รูปที่ 5 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดฟน 34
41
รูปที่ 6 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษา Myofacial pain syndrome
50
รูปที่ 7 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาอาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ
53
รูปที่ 8 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาเจ็บคอ 56
รูปที่ 9 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษากระดูกคอเสื่อม 61
รูปที่ 10 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาไหลติด 64
รูปที่ 11 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาอาการปวดขอศอก 67
รูปที่ 12 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษานิ้วล็อค 81
รูปที่ 13 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดหลัง 93
รูปที่ 14 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดประสาทไซแอทติค 99
รูปที่ 15 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดหลังจากขอสันหลังเสื่อม 110
123
รูปที่ 16 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาขอเขาเสื่อม
126
รูปที่ 17 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดขอสะโพก
รูปที่ 18 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาอาการปลายประสาท 135
ผิวหนังตนขาอักเสบ 140
รูปที่ 19 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาโรคขออักเสบรูมาตอยด
รูปที่ 20 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาโรคเกาต
สารบัญรูป (ตอ)
หนา
รูปที่ 21 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดบริเวณลิ้นป 146
รูปที่ 22 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาอาการทองอืดแนน 152
รูปที่ 23 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปสสาวะตกคาง 161
รูปที่ 24 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหาร 170
จากชี่กระเพาะ และตับติดขัด
รูปที่ 25 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหารจากชี่และเลือดคั่ง 171
รูปที่ 26 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหารจากกระเพาะรอน 172
Page 10

รูปที่ 27 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหารจากอินกระเพาะพรอง 173


รูปที่ 28 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหารจากเย็นพรอง 174
รูปที่ 29 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษากรดไหลยอนจากไฟตับ 181
รูปที่ 30 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษากรดไหลยอนจากมาม 181
และกระเพาะเย็นพรอง
รูปที่ 31 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาถุงน้ําดีอักเสบจากรอนพรอง 189
รูปที่ 32 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาถุงน้ําดีอักเสบจากชี่ติดขัด 190
รูปที่ 33 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษานิ่วในถุงน้ําดี และถุงน้ําดีอักเสบ 196
รูปที่ 34 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาโรคพยาธิไสเดือนในทางเดินน้ําดี 207
รูปที่ 35 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาภาวะลําไสอุดตัน 208
รูปที่ 36 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาภาวะไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน 217
รูปที่ 37 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษานิ่วในไต 227
รูปที่ 38 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาอาการปวดปสสาวะและปสสาวะผิดปกติ 237
รูปที่ 39 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาเตานมอักเสบเฉียบพลัน 240
รูปที่ 40 แสดงตําแหนงจุดฝงเข็มรักษาปวดประจําเดือน 247
Page 11

ความรูทั่วไปเกีย่ วกับอาการปวด
อาการปวดเปนอาการที่ใชการฝงเข็มเปนวิธีการรักษามากที่สุด ไมวาจะเปนการปวดคอ ปวดขอ
ปวดกลามเนื้อ อวัยวะภายใน ในการรักษาอาการปวดอักเสบไมมียาแกปวด แกอักเสบ ในศาสตร
การแพทยแผนจีน หลักคิดในการรักษาคือ การระบาย สาเหตุของอาการปวดเกิดจาก การติดขัดของการ
ไหลเวียนของชี่หรือลมปราณ หรือจากการทีช่ ี่และเลือดไปหลอเลี้ยงไมเพียงพอ การฝงเข็มจะทําหนาที่
ทะลวงเสนลมปราณ ปรับใหการหมุนเวียนของชี่และเลือด เมื่อการไหลเวียนดีขึ้นอาการปวดจะทุเลาหรือ
หายไป
ปจจัยที่ทําใหเกิดการปวดมี 3 เหตุ คือ ลม (风), ความเย็น (风), ความชื้น (湿), และเลือดคั่ง (瘀
血) ทําใหเกิดอาการปวดในตําแหนงที่เกี่ยวกับรางกายทั้งหา คือ ผิวหนัง เสนเอ็น เนื้อเยื่อ โครงกระดูก และ
หลอดเลือด
1. ลม (เปนการอักเสบไมคงที)่ มีอาการปวดทีเ่ คลื่อนที่ โดยทั่วไปลมมักไมเปนเหตุใหเกิดอาการ
ปวด แตมักจะชักนําเสียชี่ (邪气) อื่น ๆ เชน ลมเย็น , ลมชื้น แลวทําใหเกิดการติดขัด มีอาการปวด
ขึ้นมา
2. ความเย็น มักมีอาการปวดเฉพาะที่ อาการมักรุนแรง และเปนมากในเวลากลางคืน กลางวัน
จะดีขึ้น การแพทยแผนจีนจึงแบงกลางวัน และ กลางคืน หยางจะเพิ่มมากในเวลากลางวัน จะทําใหรูสึกวา
อาการปวดดีขึ้น ไดรับความอบอุนจากดวงอาทิตย การปวดเนื่องจากความเย็น เมื่อประคบรอนจะดีขนึ้
ตรงกันขามเมื่ออากาศเย็นจะปวดมากขึ้น
3. จากความชื้น จะปวดเฉพาะที่และหนักเมื่อย แบงเปนรอนเย็น และเย็นชืน้ โดยเฉพาะหลัง
ฝนตก เมื่อมีความชื้นสูงในอากาศ เมื่อรางกายกระทบกับอากาศแบบนี้จะมีอาการเมื่อยขี้เกียจ อยาก
นอน ลักษณะปวดจะปวดอยูก ับที่และปวดหนัก ไมสามารถขับความชื้นไดทัน ทําใหมีบวมน้ําในตําแหนง
ปวดได
4. เลือดคั่ง การคั่งของเลือดมีปจจัยการเกิดไดหลายสาเหตุ เชน
4.1 เกิดจากเสียชี่ที่ไดรับ สะสมไวนานไมไดถกู กําจัดออก จึงเกิดการคั่ง
เชน ความชื้น, ความเย็น, เสมหะ, หยางชี่พรอง, จินเยไมไหลเวียน เปนตน
4.2 จากไดรับการกระทบกระแทก ทําใหเกิดเลือดคั่ง
สาเหตุการเกิดอาการปวดทั้งสามสาเหตุ ในการแพทยแผนจีนมีวิธกี ารรักษา ดังนี้
1. สาเหตุจากลม ใชวิธีขับลม โดยที่อาการคือ ปวดไมแนนอน ดังนั้นจึงตองหาจุดปวดและเสน
ลมปราณที่ผานจุดที่สามารถขับลมได การฝงเข็มจะปกเข็มตามเสนลมปราณที่ปวด และ จุดฝงเข็มที่
พบวามักใชในการขับลมบริเวณหนา ศีรษะ ทั้งดานหนาและหลัง คือ จุด FengChi (GV 16) ถาเปนบริเวณ
ดานหลังใชจุด FengMen (BL 12)
Page 12

ในระยะเรื้อรังตองใชจุดฝงเข็มอื่นรวมดวย เนื่องจากระบบเลือดไหลเวียนไมดี จึงตองปรับระบบ


เลือด ถารูสึกเหมือนปวดไปทั้งรางกายใหใชจุด WaiGuan (TE 5) กับ จุด ZuLinQi (GB 41). ในทาง
การแพทยแผนจีน ถาใชวิธีการขับลมแลวไมดีขึ้น ตองเสริมปรับเลือด และขับลม จุดฝงเข็มที่ใชคือ XueHai
(SP 10) GeShu (BL 17) PiShu (BL 20) GanShu (BL 18) SanYinJiao (SP 6) แตอาจใชเพียงสองจุด
คือ PiShu (BL 20) และ XueHai (SP 10) ถายังมีอาการปวดเล็ก ๆ นอย ๆ ใหฝงเข็มบํารุงเลือดและขับลม
บาง จุดที่มีอาการปวดไมตองฝงเข็มก็ได
2. สาเหตุจากความเย็น ใชวิธีใหความอบอุนเพิ่มความรอน หรือเพิ่มหยาง เพื่อบรรเทาอาการ
ปวด ตองคาเข็มนานและรมยา ฝงเข็มในเสนลมปราณหยาง โดยเฉพาะเสนตูมายเปนเสนลมปราณที่มีห
ยางมากที่สุด จุด DaZhui )GV 14) มีเสนลมปราณหยาง 7 เสนมาพบกัน (เสนลมปราณหยางจากมือ 3
เสน และจากเทา 3 เสน และเสนตูมาย) รวมกับ MingMen (GV 4) และ YaoYangGuan GV 3) (L4
midline ตรงกับ DaChangShu (BL 25)) แลวฝงเข็มตามตําแหนงปวด
3. อาการปวดจากความชื้น ใชวิธีขับชื้นก็สามารถบรรเทาอาการปวดได จุดฝงเข็มที่ใชคือ
SanYinJiao (SP 6) , YinLingQuan (SP 9) และจุดที่ปวดรวมดวย
4. ปวดเพราะรอน สาเหตุมี 2 ปจจัย โดยที่ตามทฤษฎีการแพทยแผนจีน ถาอาการปวดเปนนาน
อาการตอไปจะเกิดเปนอาการอักเสบรอนขึน้ มาได เปนเหตุสะสมของอาการปวด โดยจะมีลักษณะแดง
ปวด รอน อาการปวดแบบรอน ถาประคบรอน หรือใช infrared จะทําใหอาการแยลง ตองระบายความ
รอน พิษรอน เชน ไขขออักเสบเฉียบพลันในผูปวยโรคเกาท จะกลัวรอนมาก ตองใชความเย็นประคบ เวลา
ปวดจะปวดเวลากลางวัน เวลากลางคืนจะดีชื้น การรักษาตองใชวิธีระบายพิษรอน จุดฝงเข็มที่ใชคือ
DaZhui (GV 14) ใชวิธีระบาย รวมกับจุด QuChi (LI 11), NeiTing (ST 44) เวลาฝงเข็มกระตุนเข็มเร็ว
ๆ แลวเอาเข็มออกทันที ในวิธีการฝงเข็มตามทฤษฎีการแพทยแผนจีน อาการเย็นใหคาเข็มทิ้งไว ถาอาการ
รอนใหดึงเข็มออกเลย
5. ปวดจากมีเลือดคั่ง การรักษานอกจากฝงเข็มทะลวงเสนลมปราณทีเ่ กีย่ วของแลว สามารถใช
จุกเฉพาะที่ และการปลอยเลือด หรือใชวิธีรมยา จุดทีม่ ีสรรพคุณสลายเลือดคั่งทั้งระบบ เชน GeShu
(BL 17) , XueHai (SP 10), SanYinJiao (SP 6)
อาการปวดบางครั้งจะปนเปกัน จากสาเหตุที่กลาวทั้งสามรวมกัน ตองแยกสาเหตุจึงจะรักษาได
เชน สาเหตุจากลมและความเย็น วิธีการรักษาตองขับลมและเสริมหยาง
อาการปวดตามรางกาย แบงตามตําแหนงที่มีอาการปวดจะมี 5 ตําแหนง ไดแก ผิวหนัง,
กลามเนื้อ, เอ็น, กระดูก และชีพจร ในการรักษาตองทราบวาสาเกตุจะเกีย่ วกับอวัยวะจางอะไร เชน
ผิวหนัง  ปอด
กลามเนื้อ  มาม
เอ็น  ตับ
Page 13

ชีพจร  หัวใจ
โครงกระดูก  ไต
1. ปวดบริเวณผิวหนัง ก็เปนการปวดชนิดหนึ่ง ถือวาเกิดจากระบบปอด ผูปวยบางรายมีอาการ
ปวดตามหัวไหล ตึงปวดแตไมลึกลงขางใน เปนตําแหนงบริเวณผิวหนัง การฝงเข็มถาตําแหนงที่ปวดอยู
บริเวณผิว โรคอยูไมลึกก็ฝงเข็มตื้นๆ ถาโรคอยูในระดับไหนก็ฝงเข็มในระดับนั้น ถาถึงโครงกระดูกก็ใหปก
เข็มลึกถึงกระดูก ไมควรฝงเข็มลึกเกินไป พิจารณาตามความรุนแรงของโรค ถาเปนเฉพาะผิวหนัง
บางครั้งเปนบริเวณกวางมาก ไมสามารถระบุตําแหนงเสนลมปราณไดชัดเจน ใหใชเข็ม 7 ดาวตี หรือปก
เข็มตื้น ๆ จิ้ม ๆ เอาก็ได ความยาวเข็มประมาณ 0.5 นิ้ว เวลาจับใหจับตรงบริเวณใกล ๆ ปลายเข็ม โผลมา
สั้น ๆ ใชมือการดเข็มไวไมใหงอ และความยาวของเข็มเสมอกับนิ้วของผูรักษา จะไดไมคดเวลาปกและไม
ลึกจนเกินไป ในการรักษาระยะหนึ่ง ควรใชจุดฝงเข็มเกี่ยวกับปอด โดยใชจุดฝงเข็ม LieQue (LU 7)
TaiYuan (LU 9) และ QiChi (ST 11) รวมรักษาได
2. ปวดกลามเนื้อ การปวดบางครั้งปวดจากเมื่อยลา ทําใหกลามเนื้อปวดเมื่อย ในการรักษาก็
ตองฝงเข็มใหลึกถึงกลามเนื้อเชนกัน แตใชวิธีการฝงเข็มเปนกลุมไมใชปกเลมเดียว เชนการปวดสะโพก
ไมไดปวดตามเสนลมปราณเสนใดเสนหนึ่ง แตการปวดไมเคลื่อนยายที่ อาการปวดมีตําแหนงแนนอน
หรือการปวดหัวไหล การปกก็ตองปกขึ้นกับขนาดมัดกลามเนื้อ ปกเรียงสาม ถามัดเล็ก ถามัดใหญกเ็ รียง
สามหลายชุด เปนสี่เหลี่ยมคางหมู เปนการปกเฉพาะที่เทานั้น แตเนื่องจากกลามเนื้อเกีย่ วกับมาม ดังนั้นจึง
ตองเสริมที่มามโดยใชจุด ZuSanLi (ST 36) หรือ SanYinJiao (SP 6) มามกับกระเพาะเปนเปยวหลีก่ ัน
ใชแทนกันได เราฝงเข็มลึกตามความหนาของกลามเนื้อเชนกัน
3. ปวดเอ็น เสนเอ็นรวมถึงเยื่อหุมไขขอตาง ๆ ดวย ถาอาการปวดเกี่ยวกับเอ็น ทําใหการยืดหด
ของแขนขาไมสะดวก การรักษาอาการปวดตองฝงเข็มลึกถึงเอ็นดวย ตามไขขอตองปกเข็มถึงเอ็นจึงจะ
ไดผล เชน การปวดขอหรือปวดขอมือ เชน De Qurvain เวลายืดจะตึง โดยมากการปวดเอ็นจะปวดเวลายืด
มากกวา เสนเอ็นเกี่ยวกับตับ ตองหาจุดเสริมทีต่ ับมาชวย เชน ใช GanShu (BL 18), YanLinQuan (GB
34)
4. ชีพจร เสนเลือด เสนประสาท เนื่องจากการปวดหลังราวไปถึงขางลางได เชน LBP ใน
การแพทยจีนถือวาเปนการปวดในเสนเลือดหรือ ชีพจร โดยปกติการไหลเวียนของเลือดจากบนลงลางหรือ
กลับกันในการปวดหลัง เนื่องจากการไหลเวียนติดขัด แพทยแผนปจจุบันเปน nerve > bl vv เราตอง
ฝงเข็มใหถึงเสนเลือดชีพจร หมายถึงเสนที่ปวด คือใหมกี ารปกลงตามเสน เนื่องจากการปวดจะเกี่ยงของ
กับหัวใจ ใชทั้งจุดฝงเข็มบนเสนลมปราณมือเจวีย๋ อินเยื่อหุมหัวใจ และเสนมือเสาอินหัวใจ NeiGuan (PC
6) หรือ DaLing (PC 7) ไดทั้งสิ้น
5. โครงกระดูก จะยืดไดหดไมได ในการแพทยแผนจีน เชน การปลูกขอกระดูกจนเปลี่ยนแปลง
บวม ถาปวดที่ไขขอตองปกถึงกระดูกที่ปวดเลย ปวดที่ไหนปกถึงที่นนั่ เชน ขอเขา ผูปวย จะปวดมากเวลา
Page 14

เดิน เราตองหาจุดอาซือ ปกถึงขอดวย กระดูกเกี่ยวกับไต ดังนั้นถาตอง การใหไดผลดี ตองเสริมที่จดุ ไตดวย


คือตองบํารุงหรือเสริมไตดวย หรือบํารุงไขกระดูก เชน Shenshu (BL 23), TaiXi (KI 3), XuanZhong (GB
39)

ปวดศีรษะ
( Headache : 头痛)
ปวดศีรษะ เปนอาการที่พบไดบอย และเปนเหตุทําใหผปู ว ยมาพบแพทย มีคํากลาววา ในชวงชีวิต
ของคนเราตองประสบอาการปวดศีรษะอยางนอยหนึง่ ครั้ง สาเหตุทกี่ อใหเกิดอาการปวดศีรษะมี
หลากหลาย ทั้งจากความผิดปกติของรางกาย จิตใจ และสิ่งแวดลอม อาการปวดศีรษะมักพบอาการ
ผิดปกติอื่น ๆ รวมดวยเสมอ ในทางคลินกิ แบงอาการปวดศีรษะเปน 2 ประเภท ไดแก
1) ปวดศีรษะแบบปฐมภูมิ (primary or functional headache) หมายถึง การปวดศีรษะที่ไมพบ
ความผิดปกติทเี่ ปนสาเหตุของอาการปวดศีรษะ โรคทีพ่ บบอย ไดแก ปวดศีรษะไมเกรน (migraine) และ
Page 15

ปวดศีรษะแบบตึงเครียด (tension-type headache) สวนโรคที่พบคอนขางนอย ไดแก ปวดศีรษะเปน


ระลอก (cluster headache) และ ปวดศีรษะครึ่งซีกแบบปะทุ (paroxymal hemicrania)
2) ปวดศีรษะแบบทุติยภูมิ (secondary or organic headache) หมายถึง การปวดศีรษะที่มี
สาเหตุใหเกิดอาการปวดศีรษะ โดยแบงสาเหตุตามตําแหนงของการเกิดโรคเปน 2 กลุม ไดแก สาเหตุ
ภายในกะโหลกศีรษะ (intracranial causes) เชน เลือดออกในสมอง เนื้องอกสมองหรือเนื้องอกที่กระจาย
มาสมอง เสนเลือดโปงพอง การติดเชื้อ ฯ และสาเหตุภายนอกกะโหลกศีรษะ เชน เสนเลือดแดงอักเสบ
ไซนัสอักเสบ ตอหิน การติดเชื้อ ความดันโลหิตสูง โรคของกระดูกคอ ฯลฯ
การแพทยแผนจีน แบงสาเหตุของการปวดศีรษะ เปน 2 ประเภท ไดแก
1) การรุกรานจากปจจัยกอโรคนอกรางกาย ปจจัยสําคัญ คือ ลม เขากระทําตอเสนลมปราณ
สวนบนของรางกาย ทําใหชี่และเลือดไหลเวียนไมคลอง
2) ความผิดปกติภายในรางกาย แบงเปน 2 กลุม ไดแก กลุมแกรง เชน หยางตับเกินจากชี่คั่ง
หรืออารมณโกรธ และ กลุมพรอง เชน ชี่และเลือดพรอง
การวิเคราะหและการรักษาอาการปวดศีรษะ ตามศาสตรการแพทยแผนจีนไดกลาวไวโดยละเอียด
แลว ในตําราการฝงเข็ม รมยา เลม 2 ในที่นจี้ ะกลาวถึง มุมมองการวินิจฉัยแยกโรคของอาการปวดศีรษะ
แบบการแพทยแผนตะวันตก รวมกับการวินจิ ฉัยแยกโรคตามศาสตรการแพทยแผนจีน โดยเนนเฉพาะปวด
ศีรษะที่พบบอยในเวชปฏิบัติ ดังนี้

1. ปวดศีรษะแบบปฐมภูมิ
ไดแก ปวดศีรษะแบบตึงเครียด ปวดศีรษะไมเกรน และ ปวดศีรษะเปนระลอก ซึ่งทั้งสามโรค
รวมกัน พบไดมากกวารอยละ 90 ของโรคปวดศีรษะแบบปฐมภูมิทั้งหมด
1.1 ปวดศีรษะแบบตึงเครียด (Tension-type headache)
สวนใหญเกิดจากกลามเนื้อเครียดหรือตึงตัว (muscle strain) บริเวณหลังคอ โดยมีผลทําใหหลอด
เลือดบริเวณตนคอหดตัว ทําใหขาดเลือดไปเลี้ยง จึงเกิดอาการปวด โดยสัมพันธกับอารมณ วิตกกังวล แต
ไมมีประวัติทางกรรมพันธุ
อาการปวดเริ่มจากบริเวณตนคอ แลวกระจายไปทั่วศีรษะ ปวดเหมือนมีอะไรรัดไว อาจมีอาการอื่น
รวมดวย เชน นอนไมหลับ ออนเพลีย ซึมเศรา ชวงที่ปวดมาก อาจรูสึกปวดตึงขมับ และอาจมีอาการชารวม
ดวย อาการปวดอาจเปนเดือนละหลายครั้ง แตละครัง้ อาจปวดนานไมกนี่ าที หรือปวดทั้งวัน หลายวัน
ติดตอกันก็ได สวนมากอาการหายไดเอง ถาความเครียดลดลงและนอนหลับพักผอนไดเพียงพอ ซึง่ ตางจาก
สาเหตุอื่น ๆ การฝงเข็มรักษามักไดผลดี
1.2 ปวดศีรษะไมเกรน (Migraine)
Page 16

อาการปวดศีรษะไมเกรน พบมีประวัตทิ างพันธุกรรมประมาณรอยละ 80 มีลักษณะ ปวดได 3 แบบ


คือ ปวดศีรษะขางเดียว ปวดทั้งสองขาง และปวดสลับขางไปมา ตําแหนงปวดเปนไดทั้งทีห่ นาผาก ขมับ
หรือทายทอย อาการเริ่มแรกมักปวดรุนแรงและเฉียบพลัน นานเปนนาที จนถึงเปนวัน เวลาเกิดอาการไม
แนนอน ชวงทีม่ ีอาการ หากมีการเคลื่อนไหวศีรษะจะทําใหปวดมากขึ้น อาการรวมสําคัญที่ใชแยกอาการ
ปวดศีรษะจากสาเหตุอื่น คือ คลื่นไส อาเจียน กลัวแสง เสียง หรือกลิน่ โดยอาการกลัวแสงจะพบไดบอย
กวา หลังจากหายปวด ผูปวยอาจมีอาการออนลา การฝงเข็มรักษาไดผลดี แตไมหายขาด
1.3 ปวดศีรษะเปนระลอก (Cluster headache)
เปนอาการปวดศีรษะขางเดียวอยางรุนแรงแบบเปนระลอกหรือเปนชุด มีลักษณะการปวดตุบ ๆ
บริเวณขมับ รอบตา หรือกระบอกตาขางใดขางหนึง่ อาการปวดจะเกิดเปนชวง ๆ แตละชวงนาน 15 – 180
นาที โดยอาการอาจเกิดทุกวันหรือเวนวัน สวนใหญเกิดวันละ 1 – 2 ครั้ง แตบางรายอาจเกิดบอยถึงวันละ
8 ครั้ง การปวดแตละชุด อาจใชเวลาหลายวันถึงหลายสัปดาห และมีชวงเวลาที่หายจากอาการปวดเปน
เดือนหรือเปนป อาการที่อาจพบรวมดวย ไดแก น้ําตาไหล คัดจมูก น้ํามูกไหล เหงื่อออกหนาผาก ใบหนา
ขางที่มีอาการปวด อาจพบอาการบวมทีเ่ ปลือกตา หนังตาตก (ptosis) รูมานตาหด (miosis) การปวด
ศีรษะเปนระลอกพบในเพศชายมากกวาเพศหญิง 5 – 6 เทา และพบนอยกวาปวดศีรษะไมเกรน 10 – 50
เทา ประมาณรอยละ 10 พบมีประวัติโรคในครอบครัว เปนโรคที่รักษายาก อาจใชวิธีฝงเข็มรวมกับรมยา
ศาสตรการแพทยแผนจีน วิเคราะหอาการปวดศีรษะแบบปฐมภูมิ มีสาเหตุมาจากความผิดปกติ
ภายในรางกาย โดยมีสาเหตุและกลไกการเกิดโรคแตกตางกัน ไดแก
1) เกิดจากลม ความเย็น และความชืน้ อุดกั้นเสนลมปราณ ทําใหเลือดและชี่ไหล เวียนไมคลองจึง
เกิดอาการปวด
2) จากอารมณแปรปรวน โดยเฉพาะอารมณโกรธ ทําใหเสนลมปราณตับและถุงน้ําดีติดขัดเกิดชี่คั่ง
ชี่ที่ติดขัดนานวันจะแปรสภาพเปนไฟ ไปรบกวนทวารสมอง
3) จากความชื้นสะสมจนแปรสภาพเปนเสมหะ ไปอุดกั้นเสนลมปราณ ทําใหเลือดและชี่ไหลเวียน
ไมคลอง
4) จากรางกายที่ไมสมบูรณแตกําเนิด สมองและไขกระดูกวางเปลา สวนใหญมักพบปวดศีรษะ
สัมพันธกับการมีประวัติโรคในครอบครัว
5) จากมีเลือดคั่ง ทําใหการไหลเวียนของชี่ไมคลอง
6) เกิดจากชี่และเลือดพรอง เนื่องจากไดรับสารอาหารไมเพียงพอ ทํางานหนักหรือเครียดเกิน
สุขภาพทรุดโทรมจากโรคเรื้อรัง หรือมีภาวะพรองมาแตกําเนิด

การฝงเข็มรักษาปวดศีรษะแบบปฐมภูมิ
หลักการรักษา: เปดทวารสมอง ทะลวงเสนลมปราณ
Page 17

จุดหลัก: ระบาย ZhongWan (CV 12), FengFu (GV 16), FengChi (GB 20), WanGu (GB 12),
TaiYang (EX-HN 5)
จุดรอง: ระบาย HeGu (LI 4) และ TaiChong (LR 3)
จุดเสริม: เพิ่มจุดตามการวินิจฉัยโรค ดังนี้
1) ปวดศีรษะแบบตึงเครียด: เสริมจุด
- ปกซอยเข็ม NeiGuan (PC 6)
- ปกแบบนกกระจอกจิก RenZhong (GV 26)
- บํารุง YinTang (EX-HN 3), SiShenCong (EX-HN 1), ShenMen (HT 7)
2) ปวดศีรษะไมเกรน: เสริมจุด
- ระบาย WaiGuan (TE 5), ZuLinQi (GB 41)
- บํารุง TouWei (ST 8), JiaoSun (TE 20), ShuaiGu (GB 8)
3) ปวดศีรษะเปนระลอก: เสริมจุด
- ระบาย ZhongFeng (LR 4) และ YangFu (GB 38)
- รมยาคั่นกระเทียม YangBai (GB 14)
ระยะเวลาฝงเข็ม: ฝงเข็มทุกวันจนอาการดีขนึ้ จึงเปลี่ยนเปนวันเวนวัน เมื่ออาการหายดีสามารถ
หยุดฝงเข็มได เมื่อมีอาการปวดจึงเริ่มการฝงเข็มใหม การฝงเข็มไมสามารถปองกันการกลับเปนซ้ํา
2. ปวดศีรษะแบบทุติยภูมิ
2.1 ปวดศีรษะจากเนื้องอกสมอง
เกิดจากพยาธิสภาพในสมอง เชน มีการอักเสบ หรือมีเนื้องอก ซึ่งตองแยกใหชัดเจนทาง
หองปฏิบัติการกอนวา เปนจากสมองอักเสบ เนื้องอก หรือมะเร็งสมอง โดยทั่วไป สมองอักเสบ มักมีอาการ
ปวดศีรษะเหมือนจะระเบิด สวนเนื้องอกหรือมะเร็งสมองมักมีอาการกดทับสมองและเสนประสาท ทําใหมี
อาการจากการกดทับรวมดวย เชน ประสาทตา ทําใหปวดลูกตา รวมกับมีการมองเห็นผิดปกติแบบตาง ๆ
ตามตําแหนงการกดทับ
การฝงเข็มบริเวณศีรษะ ไมเปนเหตุใหมะเร็งสมองแพรกระจาย หากผูปวยเกิดความวิตกกังวล
ดังกลาว อาจเลือกใชจุดไกลกอน โดยเลือกใชจุดตามแนวเสนลมปราณที่ผานบริเวณที่มีอาการปวดศีรษะ
แลวจึงเพิ่มจุดใกลหากอาการไมทเุ ลา ดังแสดงตัวอยางในตาราง
การฝงเข็มระงับปวดจากเนื้องอกหรือมะเร็งสมอง ในระยะแรกมักไดผลดี แตนานไปรางกายผูปวย
สามารถปรับตัวได ทําใหเกิดการดื้อตอการฝงเข็ม จึงใชไมไดผล และที่สําคัญตองรักษามะเร็ง หรือเนื้องอก
สมอง ตามการแพทยตะวันตกรวมดวย

ตาราง แสดงตัวอยางการเลือกจุดใกล-ไกล รักษาอาการปวดศีรษะ


Page 18

ตําแหนงที่ปวด เสนลมปราณที่ผาน จุดไกล จุดใกล


หนาผาก เสนหยางหมิง NeiTing (ST 44) TouWei (ST 8)
ขมับ เสนเสาหยาง YangFu (GB 38) ShuaiGu (GB 8)
TaiYang (EX-HN 5)
ทายทอย เสนไทหยาง FeiYang (BL 58) FengChi (GB 20)
กระหมอม เสนเจวี๋ยอิน TaiChong (LR 3) BaiHui (DU 20)

2.2 ปวดศีรษะจากความดันโลหิตสูง
อาจมีอาการปวดศีรษะขางขมับ หรือกลางศีรษะ สาเหตุของโรค ตามศาสตรการ แพทยแผนจีน
ไดแก
1) หยางตับแกรง เริ่มตนจากผูป วยมีภาวะอินตับและไตพรอง อยางคอยเปนคอยไปมากอน จน
เกิดภาวะหยางตับมีมากขึน้
จุดฝงเข็ม: TaiChong (LR 3), YangLingQuan (GB 34)
2) ไฟตับกําเริบ พบในผูปวยที่มีอารมณรอน โมโหงาย อาการคอนขางเฉียบพลัน ใชแยกจาก
ภาวะหยางตับแกรง
จุดฝงเข็ม: XingJian (LR 2), YangLingQuan (GB 34)

2.3 ปวดศีรษะในสตรี
1) เกิดจากความเครียดในการทํางาน มีงานมาก ขาดการพักผอน ผูปวยจะมีความกดดัน นอนไม
หลับหรือหลับไดไมดี รวมกับออนเพลีย
จุดฝงเข็ม: เลือกใชจุดใกล-ไกล ดังแสดงไวในตารางขางตน และเพิม่ จุด ZuSanLi (ST 36), จุด
กึ่งกลางระหวางจุด SanJian (LI 3) และจุด HeGu (LI 4) (จุดประสบการณ), ShenMen (HT 7) และ DiJi
(SP 8)
2) ปวดเหมือนเข็มทิ่มแทง หรือปวดเตนตามจังหวะชีพจร (vascular headache) สวนใหญมักมี
อาการปวดสัมพันธกับรอบเดือน ทั้งกอนหรือหลังมีประจําเดือน
จุดฝงเข็ม: เลือกใชจดุ ใกล-ไกล ดังแสดงไวในตารางขางตน และเพิ่มจุด DiJi (SP 8) และ
SanYinJiao (SP 6)
2.4 ปวดศีรษะจาก Mastoid Process อักเสบ หรือ Tonsillar Nerve อักเสบ
จุดฝงเข็ม: FengChi (GB 20), WanGu (GB 12) หรือจุดกึ่งกลางระหวาง
FengChi (GB 20) และ WanGu (GB 12) ( จุดประสบการณ )
Page 19

รูปที่ 1 แสดงจุดฝงเข็มแสดงการรักษาโรคปวดศีรษะ
Page 20

ปลายประสาทเสื่อมจากเบาหวาน
( Diabetic Peripheral Neuropathy : 糖尿病末梢神经病变)
ภาวะเสนประสาทสวนปลายเสื่อม เปนอาการแทรกซอนจากโรคเบาหวานที่พบบอย โดยสวนใหญ
มักเกิดอาการหลังจากเปนโรคเบาหวานนานมากกวา 10 ป แตอาจเกิดชาหรือเร็วกวานั้น ขึน้ กับการดูแล
รักษาสุขภาพของผูปวยโรคเบาหวานแตละราย
เซลประสาท (neurons) ในผูปวยที่เปโนเบาหวานจะมีเมตาบอลิสมที่ผิดปกติ ทําใหเกิดการเสื่อม
ของเซลเสนประสาท โดยสวนหางของเซลประสาท (axon) จะเกิดการเสื่อม สภาพ ในลักษณะจากปลาย
สุดมาสูตัวเซลประสาท (dying back) ดังนั้น เสนประสาทสวนที่อยูปลายทางสุด จึงกระทบกระเทือนและ
เกิดอาการกอน เสนประสาทใดยาวสุดก็จะมีอาการชัดเจนกอน ดวยเหตุนี้ปลายเทาจึงชากอนปลายมือ
และชาไลเพิ่มขึ้นมาเรื่อย ๆ จากปลายนิ้วเทา มาขอเทา มาขาทอนลาง จนถึงใตเขา ขอบเขตของอาการจึงมี
ลักษณะเหมือนคนใสถุงเทา หากอาการรุนแรงขึ้น จะมีอาการชาจนปวด (painful neuropathy) หรือหาก
เสนประสาทขนาดใหญที่มีปลอกหุม (myelinated nerve fiber) เสื่อมมาก จะทําใหเสียการทรงตัว หรือการ
เดินและยืนเซ จากการเสียการรับความรูสึกทีใ่ ชควบคุมการเคลื่อนไหว หรือชาจนเดินเซ เรียกวา sensory
ataxia อาจรุนแรงจนลมเกิดอุบัตเิ หตุบอย หรือเปนมากจนยืนและเดินไมได
อาการชาจนปวดมีไดหลายลักษณะ ที่พบบอย คือ ชาเหมือนไฟลวก หรือเอาพริกทา ชาเจ็บแปล็บ
ๆ เหมือนไฟชอต หรือเข็มทิ่มแทง สวนอาการที่เปนนอยกวาและมักพบในระยะกอนอาการชาจนปวด คือ
ชาเหมือนไมรูสึก ชาเหมือนมีแมลงไตใตผิวหนัง

การรักษา
การรักษาอาการดังกลาวทั้งหมด มักไมประสบผลสําเร็จ แพทยทั่วไปรวมทั้งแพทยระบบประสาท
มักใหไวตามิน โดยเฉพาะ B1-6-12 เมื่อมีอาการชา และใหกลุมยากันชักบางชนิดทีม่ ีผลตออาการปวด เชน
Gabapentin จากประสบการณพบวา ไวตามิน B1-6-12 มักไดผลเฉพาะในรายที่เริ่มมีอาการใหม ๆ หรือ
รับประทานเพื่อปองกัน ซึ่งตองรับประทานตั้งแตยังไมมีอาการ หากมีอาการชัดเจนแลว มักจะไมชวยให
หายชาได
ยาในกลุม ยากันชักไดผลดีในคนไขบางราย แตมีราคาแพงและตองใชไปตลอด เนื่อง จากเปนยา
รักษาอาการ ไมไดทําใหเสนประสาททีเ่ สื่อมดีขึ้น ผูปวยมักมีอาการมากขึ้นเมื่อเสนประสาทเสื่อมมากขึ้น
จึงตองใชยาขนาดสูงขึ้น ทําใหเกิดอาการไมพึงประสงคของยาอยูเสมอ จนผูปวยทนไมไหว เชน อาการงวง
ซึม สมองสับสน วิงเวียนศีรษะ เดินเซ
ดังนั้น ปจจุบันยังไมมีคําตอบที่ดใี นการรักษาตามแบบฉบับของแพทยแผนตะวันตก
Page 21

การรักษาดวยการฝงเข็มกระตุน ไฟฟา รวมกับการใช ไวตามิน B1-6-12 ฉีดเขาจุดฝงเข็ม เปนวิธี


รักษาที่ใหผลดีมาก มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกวาการรักษาขางตนอยางเห็นไดชัดเจน
จากประสบการณการรักษาผูปวยทีม่ ีอาการชาดังกลาวมากกวา 50 รายพบวา ผู ปวย สวนใหญที่
มีอาการชาไมนาน มักหายชาไดสนิท และหากทําการฝงเข็มเปนระยะ เชน เดือนละครั้ง จะสามารถปองกัน
การเกิดซ้ําได สําหรับผูปวยที่เปนมานาน หรือมีอาการรุนแรงในระดับ ชาจนปวด (painful neuropathy)
อาการปวดจะดีขึ้นทุกราย จนสามารถลดการใชยากันชัก หรือหยุดยาได เพียงแตอาการจะหายหมดหรือไม
จะสัมพันธกับความรุนแรงของโรคกอนที่เริ่มรักษาดวยการฝงเข็ม
อาการที่รักษายากที่สุดคือ sensory ataxia มักจะเปนในระยะที่เสนประสาทเสื่อมอยางรุนแรงที่สุด
และเกิดกับเสนประสาทขนาดใหญ แตการรักษาดวยการฝงเข็ม หากทําติดตอกันนานพอ ผูปวยมักกลับมา
ยืนและเดินไดอีกครั้ง โดยหายในระดับที่แตกตางกัน เชน จากยืนไมไดมาเปนยืนไดและเดินได โดยตองใช
เครื่องมือชวย เชน ไมเทาหรือมีคนจูงเดิน หรือจากยืนได แตเดินไมได มาเปนเดินไดโดยไมตองมีคนหรือ
อุปกรณชวยเหลือ บางรายตอบสนองตอการรักษาดีมาก จนสามารถเดินตอเทาได (Tandem walk) ซึ่งถือ
วาหายในระดับที่ดที ี่สุดก็มี

การเลือกจุดฝงเข็มและวิธีการฝงเข็ม
เลือกใชจุดฝงเข็มที่อยูใตระดับเขาลงมา
จุดหลัก: ZuSanLi (ST 36), TaiChong (LR 3), TaiXi (KI 3), SanYinJiao (SP 6)
จุดเสริม: JieXi (ST 41), XuanZhong (GB 36), GongSun (SP 4)
- หากมีภาวะการไหลเวียนเลือดของขาไมดี เชน หลอดเลือดสวนปลายของขาและเทาอุดตัน เพิ่ม
จุด XueHai (SP 10)
- อาการชาอยางรุนแรงทีป่ ลายนิ้วเทา เพิม่ จุด BaFeng (EX-LE 10) ทั้ง 8 จุด
ขอสังเกตจากประสบการณ การใชเข็มน้ํา โดยใชไวตามิน B12 ฉีดเขาจุด ZuSanLi (ST 36) พบวา
ทําใหโอกาสประสบความสําเร็จในการรักษาเพิ่มมากขึ้น โดยใช ไวตามิน B12 ครั้งละ 0.5 - 1 มล. ฉีดขาง
ใดขางหนึง่ เพียงขางเดียวตอครั้ง ฉีดทุกครั้งทีท่ ําฝงเข็ม

การใชเครื่องกระตุนไฟฟา
การกระตุนดวยไฟฟา จัดเปนการกระตุน เข็มแบบบํารุง โดยใชการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟาไปตาม
ทิศทางของเสนลมปราณ เชน ติดขั้วลบที่ ZuSanLi (ST 36) และขั้วบวกที่ TaiChong (LR 3) หรือ/และ
JieXi (ST 41); ติดขั้วลบที่ TaiXi (KI 3) และขั้วบวกที่ SanYinJiao (SP 6); หรือขั้วลบที่ SanYinJiao (SP 6)
หรือ/และ TaiXi (KI 3) และขั้วบวกที่ XueHai (SP 10) เลือกคลื่นแบบตอเนื่อง (continuous wave) ความถี่
100 - 200 Hz เปดไฟกระตุน เบา ๆ ไมตองรูสึก นาน 30 นาที ทําการฝงเข็ม 10 ครั้งนับเปน 1 รอบการ
Page 22

รักษา (course) รอบการรักษาที่ 1 ฝงเข็มสัปดาหละ 3 ครั้ง, รอบการรักษาที่ 2 ฝงเข็มสัปดาหละ 2 ครั้ง,


รอบการรักษาที่ 3 ฝงเข็มสัปดาหละ 1 ครั้ง ตอเนื่องกัน หลังจากนั้นรักษาสภาพที่ดีที่สดุ ที่ไดมาดวยการให
การรักษา 1 ครั้ง ทุก 3 - 4 สัปดาห เปนการรักษาเพื่อคงสภาพที่ดีไว (mantainance phase)

ผลการรักษา
ผูปวยเกือบทุกรายจะมีอาการดีขึ้น แตตองเนนเรื่องการรักษาควบคุมโรคทีเ่ ปนอยูซ ึ่ง
เปนสาเหตุที่แทจริง จําเปนตองควบคุมโรคใหไดดี เชน คุมระดับน้ําตาลทั้ง fasting blood
sugar และคาน้ําตาลเฉลีย่ ในเลือด HbA1C ใหอยูในเกณฑปกติดวย พบวาผูปวยที่มีอาการชาทัง้ ปลายมือ
และปลายเทา การฝงเข็มที่ขาทั้งสองขางดังกลาวมาขางตนเพียงอยางเดียว สามารถรักษาอาการชาที่
ปลายมือไดดวย โดยไมตองมาฝงเข็มที่แขนหรือมือเลย
ผูปวยที่มีอาการชาจนปวด จะคอยทุเลาลงหลังใหการรักษาประมาณ 15 ครั้ง และคอย ๆ ลดยาแก
ปวดที่มีฤทธิ์และอาจหยุดยาไดหมดในอนาคต คงไวแต ไวตามิน B1-6-12 รับประทานเพียงอยางเดียว เพื่อ
เปนวัตถุดิบใหเซลประสาทเอาไปใชซอมแซมตัวเอง
ผูปวยที่มีอาการชาจนเดินเซ หลายรายกลับมายืนและเดินไดโดยไมเซ หรือเซลดลง ทําใหโอกาส
เกิดอุบัตเิ หตุนอยลงดวย

รูปที่ 2 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปลายประสาทเสื่อม
จากเบาหวาน

ปวดประสาทใบหนา
Page 23

( Trigeminal Neuralgia : 面痛)


อาการปวดประสาทสมองเสนที่ 5 (Trigeminal nerve) มีลักษณะการปวดที่รนุ แรงคลายเข็มแทง
เปนพัก ๆ (paroxysmal attack of severe, short, sharp, stabbing pain) อาการปวด เกิดไปตามสวนของ
ใบหนาบริเวณที่แขนงของเสนประสาท Trigeminal มาเลี้ยงอาจจะเปนแขนงที่ 1, 2 หรือ 3 (V1 V2 V3)
หรือเปนมากกวาหนึง่ แขนงก็ได โดยสถิติแขนงที่ 2 และ 3 มีโอกาสเกิดอาการปวดมากกวาแขนงที่ 1 อาการ
ปวดอาจกําเริบรุนแรงเปนพัก ๆ วันละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละหลายวันถึงหลายเดือนหรือเปนตลอดไปก็ได
การเคี้ยวอาหาร การพูด การลางหนา การแปรงฟน การกระทบลมเย็นหรือการแตะสัมผัสบริเวณ
เฉพาะ (trigger spot) โดยเฉพาะบริเวณริมฝปากบนและเหงือก อาจจะกระตุนใหอาการปวดรุนแรงขึ้นมา
ทันที

สาเหตุและพยาธิสภาพของโรค
1. การกดทับรากประสาท (root or root entry zone compression) เกิดจากการมีวงของหลอด
เลือดที่ผิดปกติวางพาดหรืออยูช ิดกระทบรากประสาท Trigeminal ตรงบริเวณที่รากประสาทเพิ่งออกจาก
กานสมองสวน pons
2. การติดเชื้อไวรัสบางชนิดทีเ่ สนประสาท Trigeminal โดยตรง เชน เชื้อไวรัสเริม
เชื้อไวรัสงูสวัด
3. การอักเสบของอวัยวะขางเคียง ที่เสนประสาท Trigeminal พาดผาน เชน หูหรือ
โพรงจมูกเปนหนองอักเสบ
4. การเสื่อมของเยื่อหุมประสาท (demyelination) บริเวณ pons มักเกิดในคนอายุนอย กลุมนี้จะ
ไมมี trigger spot และไมคอยตอบสนองตอการรักษา
5. กลุมไมทราบสาเหตุมีอีกเปนจํานวนมาก และมักจะเปนยาวนานตอเนื่อง
การรักษา
รักษาดวยยาตองใชกลุมยากันชัก เชน Carbamazepine, Gabapentin, Pregabalin, Phenytoin,
Lamotrigine นอกจากนี้บางรายอาจตอบสนองตอยา Baclofen
การรักษาดวยยาดังกลาว มักไดผลไมดี เนื่องจากเปนการรักษาอาการปวดเทานั้น ยาเหลานี้มี
ราคาแพง และมักมีอาการแทรกซอนจากยาในระหวางการรักษา เชน อาการงวงซึม วิงเวียนศีรษะ เดินเซ
หรือการกดไขกระดูกทําใหไขกระดูกสรางเม็ดเลือดไมได (aplastic anemia) หรือแพยา จนเกิดอาการทาง
ผิวหนังอยางรุนแรง (Steven Johnson’s syndrome)
การรักษาโรคนี้ดวยการฝงเข็ม เปนทีย่ อมรับจากองคการอนามัยโลก (WHO) วาไดผลดี และจาก
ประสบการณในการรักษาผูปวยพบวา เมื่อรักษาดวยการฝงเข็ม ผูปวยสวนใหญความรุนแรงของอาการ
Page 24

ปวดจะลดลง จํานวนครั้งที่ปวดตอวันจะลดลง และระยะเวลาในการปวดแตละครั้งจะสัน้ ลง อาการจะดีขึ้น


เรื่อย ๆ ในระหวางที่ทําการรักษา ทําใหสามารถลดขนาดยาที่ใชใหนอยลง เปนการลดอาการแทรกซอนจาก
ยาไดอยางมาก ในที่สุดผูปวยจํานวนหนึ่งสามารถหยุดยาตาง ๆ ไดหมด ผูปวยสวนใหญเมื่ออาการทุเลา
มากแลว จําเปนตองใหการฝงเข็มตอเนื่องเปนระยะ ประมาณ 3 - 4 สัปดาหตอครั้ง เพื่อรักษาสภาพอาการ
ที่ดีไว โดยใหยาในขนาดต่ํา ๆ ซึ่งชวยลดอาการอันไมพึงประสงคจากยาลงได

การเลือกจุดฝงเข็มและวิธีการฝงเข็ม
จุดใกล: 1. XiaGuan (ST 7), 2. YiFeng (TE 17), 3. FengChi (GB 20),
4. YangBai (GB 14), 5. SiBai (ST 2), 6. TongZhiLiao (GB 1),
7. YingXiang (LI 20), 8. DiCang (ST 4), 9. JiaChe (ST 6)
ฝงเข็มขางเดียวกับอาการปวด โดยจุดที่ 1, 2, 3 เลือกใชทั้ง 3 จุด จุดที่ 4 ถึง 9 เลือกใชจุดที่อยูใน
บริเวณที่ปวดตามแขนงของเสนประสาทที่มีปญ  หา โดย แขนงประสาทที่ 1 (V1) เลือกใชจุดที่ 4, 5 และ 6 ;
แขนงประสาทที่ 2 (V2) เลือกใชจุดที่ 6 และ 7 ; แขนงประสาทที่ 3 (V3) เลือกใชจุดที่ 8 และ 9
จุดไกล: NeiTing (ST 44), HeGu (LI 4)
เลือกใชตามแขนงเสนประสาทที่มีปญ  หาเชนกัน โดย แขนง V3 เลือกใช HeGu (LI 4) ขาง
เดียวกัน ; แขนง V1 หรือ/และ V2 เลือก HeGu (LI 4) ดานตรงขาม
ขอสังเกตจากประสบการณ มีประเด็นสําคัญ 2 ประการ ไดแก
1) ตองพยายามหาและปกจุด Ashi ซึ่งมักซอนอยูใ ตโหนกแกม ในกรณีที่เปนจากแขนง V2 และ
ซอนอยูบริเวณปลายคางหรือใตคาง ในกรณีที่เปนจากแขนง V3 ซึ่งหากจุด Ashi ถูกฝงเข็มดวย
ประสิทธิผลของการรักษาจะดีขึ้นมาก จึงตองพยายามสํารวจหาใหพบกอนฝงเข็ม
2) การกระตุนเข็มดวยไฟฟาที่ไดผลดี ควรใชความถี่สูง 200 เฮิรซ โดยติดขั้วลบ (สีดํา) ที่จุดที่ 4 -
11 หรือจุด Ashi และติดขั้วบวก (สีแดง) ทีจ่ ุดที่ 2 หรือ 3 กระตุนนาน 30 นาที เปดไฟกระตุน เบา ๆ ไมตอง
รูสึกหรือแคเกือบรูสกึ พบวาสามารถลดความเจ็บปวดไดดที ี่สุด
การฝงเข็ม 10 ครั้งนับเปน 1 รอบการรักษา (course) รอบการรักษาที่ 1 ฝงเข็มสัปดาหละ 3 ครั้ง,
รอบการรักษาที่ 2 ฝงเข็มสัปดาหละ 2 ครั้ง, รอบการรักษาที่ 3 ฝงเข็มสัปดาหละ 1ครั้ง, บางรายอาจเสริม
รอบการรักษาที่ 4 ฝงเข็มเดือนละ 2 ครั้ง จากนัน้ ฝงเข็มตอเนื่อง ทุก 3 - 4 สัปดาห เพื่อรักษาสภาพที่ดีที่สุด
ไว โดยทําไปเรื่อย ๆ หรืออยางนอยประมาณ 10 เดือน
Page 25

รูปที่ 3 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดประสาทใบหนา

ปวดประสาทจากเชื้องูสวัด
Page 26

( Herpetic Neuralgia : 带状疱疹后遗神经痛)


อาการปวดประสาทจากโรคติดเชื้อไวรัส งูสวัด (Herpes Zoster) เปนหนึ่งในกลุมอาการปวดที่
รักษาใหหายไดยาก มีการรักษาหลายวิธีการ แตก็มักจะไดผลไมดี ทําใหผูปวยจํานวนหนึง่ ไมสามารถทุเลา
จากอาการปวดได แมจะไดรับการรักษาอยางเต็มที่แลว ผูปวยหลายรายตองมีอาการปวดอยางรุนแรงติด
ตัวไปตลอดชีวิต
ความเขาใจผิดของผูปวยที่คดิ วาโรคงูสวัดนั้นเปนโรคผิวหนัง ทําใหผูปวยสวนใหญคดิ วาไมเปนไร
มาก และมักหาซื้อยามาใชเองหรือใชการรักษาแบบพืน้ บานตามความเชื่อของแตละถิ่น เมื่อมีอาการปวด
รุนแรงมากจึงมาพบแพทยเฉพาะทาง ซึ่งมักชาไป ทําใหการรักษายาก บางรายไดรับยาตานเชื้อไวรัสใน
ขนาดนอยเกินไป คือใหยาเพียงหนึง่ ในสี่ เชน Acyclovir 200 mg ตอครั้ง หรือเพียงครึ่งเดียวของขนาดที่
ควรจะได เชน Acyclovir 400 mg ตอครั้ง วันละ 5 ครั้ง ขนาดของยาดังกลาวจะเพียงพอสําหรับการรักษา
เชื้อเริม (Herpes Simplex) เทานัน้ แตไมเพียงพอสําหรับการกําจัดเชื้องูสวัด ทําใหการรักษาในภายหลัง
ไดผลไมดี เพราะการใชยาจะไดผลดี เมื่อไดรับในขนาดที่เพียงพอ และไดรับในระยะแรก ๆ ของโรค ซึ่งเปน
ชวงที่เชื้อไวรัสกําลังเพิ่มจํานวนอยางรวดเร็วเทานัน้

สาเหตุและพยาธิสภาพของโรค
โรคติดเชื้องูสวัด มิใชโรคผิวหนัง แตเปนโรคระบบประสาท อาการที่ผิวหนังเปนสวนหนึ่งของโรค
เทานัน้ เมื่อผูปวยติดเชื้อไวรัสงูสวัดครั้งแรก (primary infection) ซึ่งมักเปนในวัยเด็กเล็ก อาการแสดงของ
โรคจะปรากฏใหเห็นเปนออกสุกใส ซึ่งมีอาการแสดงเฉพาะผิวหนังจริง ๆ เมื่ออาการทางผิวหนังหายแลว
รางกายจะไมสามารถกําจัดเชื้อนี้ไดหมด เนื่องจากไวรัสงูสวัดสามารถที่จะไปแอบซอนตัวในปมประสาทรับ
ความรูสึก และเม็ดเลือดขาวบางชนิด การอยูอยางซอนเรนในเซลประสาทรับความรูสึกของรางกายนี้ ทําให
กลไกกําจัดเชื้อตามธรรมชาติของรางกายไมสามารถตรวจพบและกําจัดเชื้อออกไปได เชื้อเหลานี้จะยังคง
อยูตลอดไปและรอเวลา เมื่อรางกายมีภูมิตานทานต่ําลง เชน มีการเจ็บปวยรุนแรง ระหวางฟนไขหรือ
ระหวางฟนตัวหลังผาตัด อดนอนตรากตรํางานมาก หรือไดยากดภูมิตานทานของรางกาย เชื้อที่ซอนอยูจะ
เริ่มกําเริบเพราะภูมิตานทานของรางกายไมแข็งแกรงเพียงพอที่จะกําราบเชื้อได เชื้อทีซ่ อนตัวไวจะมีการ
แบงตัวเพิ่มจํานวนอยางรวดเร็ว (reactivation) จนมีจํานวนเชื้อมากพอถึงระดับทีจ่ ะแสดงอาการของโรค
เชื้อจะเดินทางไปตามเสนประสาทที่ออกจากปมประสาทบริเวณใบหนาและ 2 ขางของกระดูกสันหลัง วิ่ง
ออมไปทางเสนประสาทที่อยูรอบตัว หรือประสาทที่ออกไปเลี้ยงแขนขา หรือไปตามเสนประสาทรับรู
ความรูสึกบนใบ หนา เมื่อเชื้อมาถึงผิวหนังจะทําใหเกิดพุขึ้นเปนผื่นแดง ตอมาเปนตุมคลายคนเปนสุกใส
นั่นเอง ดังนัน้ ผื่นจึงมักจะเรียงตัวไปตามแนวรากและเสนประสาทนั้น ๆ หากเราสังเกตตุม ใหดี จะเปนตุมใส
Page 27

วางอยูบนผื่นแดง และตรงกลางยอดของตุมใสจะมีบุมลงไปคลายสะดือ ซึ่งเปนลักษณะที่คอนขางเฉพาะ


ของผื่นผิวหนังจากงูสวัด
เนื่องจากการลุกลามหลังการติดเชื้อครั้งแรก จะแพรกระจายมาตามเสนประสาทรับความรูสึก
(sensory nerve and sensory root) จึงทําใหเกิดการอักเสบของเสนประสาทรวมดวยเสมอ ไมมากก็นอย
เพียงแตจะเกิดชั่วคราวหรือจะเกิดรุนแรงจนเปนถาวร
อาการปวดประสาทอยางรุนแรง กับความรุนแรงของแผลของผิวหนัง มีความสัมพันธกนั อยาง
ใกลชดิ กลาวคือ หากผูปวยมีแผลรุนแรง เปนบริเวณกวางและลึกมาก อาการเหลานีจ้ ะพอทํานายไดวาจะ
ตามมาดวยอาการปวดที่รุนแรง อีกประการหนึ่ง หากผูปวยไดรับยาฆาเชื้อไวรัส ในขนาดที่พอเพียงและเร็ว
พอ แผลมักจะไมรุนแรง บางทีขนึ้ มาเปนผื่นแดง ๆ พอเปนตุมเล็ก ๆ ก็ยุบไป ไมกลายเปนตุมพองขยายวง
กวาง และมีอาการปวดในภายหลังนอยกวา จากรายงานในวารสาร American Academy Dermatology
พบวา ในคนสูงอายุเกิน 60 ป หากเปนงูสวัด มากกวารอยละ 50 หรือครึ่งหนึ่งของผูปวยจะมีอาการปวด
จากงูสวัดตามมา และพบวา การใหยาสเตียรอยด ในระยะสั้น ๆ ประมาณ 2 สัปดาหในผูปวยกลุมนีต้ ั้งแต
แรก โอกาสเกิดอาการปวดจากเสนประสาทอักเสบจากเชือ้ งูสวัดจะนอยลง

กลาวโดยสรุปเกีย่ วกับงูสวัดในปจจุบัน ดังนี้


1. เชื้องูสวัดที่เปน ไมไดติดมาจากใคร แตเปนเชื้อเดียวกับโรคสุกใสทีเ่ คยเปนมากอนหนา ซึ่งสวน
ใหญเปนมาแตเด็ก เชื้อไวรัสบางสวนอาศัยแอบซอนอยูในปมประสาท และถูกกระตุนปลุกขึ้นมาใหม
(reactivation) เมื่อมีปจจัยทีเ่ หมาะสม
2. งูสวัดเปนโรคระบบประสาท โดยอาการทางผิวหนังเปนเพียงอาการแสดงสวนหนึ่งของโรค
3. อาการปวดประสาทจากงูสวัด มีความหลากหลาย อาจเปนอาการถาวร ที่รักษาไมหาย และ
อาจปวดรุนแรงมาก จนถึงกับไมอยากมีชีวิตอยูตอไป หรืออาการอาจเปนชั่วคราวและหายเองได
4. หากไดรับยาตานไวรัส ในขนาดที่เหมาะสมและรวดเร็วเพียงพอ จะสามารถลดภาวะแทรกซอน
จากโรคลงได ทั้งอาการปวดประสาท และความรุนแรงของผื่นผิวหนังและแผลเปน
5. การใชยาสเตียรอยดในชวง 2 - 3 สัปดาหแรกหลังการเกิดผื่น ชวยทําใหอาการปวดประสาท
ลดลง และควรใชในผูปวยงูสวัดทุกคนที่มีอายุมากกวา 60 ป
ความทุกขทรมานของอาการปวดประสาทจากงูสวัด เปนการยากที่จะอธิบายใหคนที่ไมเคยเปน
เขาใจได เพียงแคเสื้อผาสัมผัสกับผิวหนังบริเวณที่เปน (ซึ่งแผลหายแลว) ยังปวดมากจนตองรองไห เมื่อเชื้อ
งูสวัดเพิ่มจํานวนออกมาจากปมประสาทจะทําใหเกิดการอักเสบไปตามรากประสาท เสนประสาทไปถึงไหน
อาการปวดก็ติดตามไปทุกที่ ตัวอยาง รากประสาทบริเวณเอวจะไปเลี้ยงกลามเนื้อและผิวหนังของรอบเอว
อาการปวดก็จะเกิดรอบ ๆ เอว จากผิวหนังลึกลงไปถึงกลามเนื้อชัน้ ใน อาการปวดอาจเปนไดหลายแบบ
เชน รอนแสบเหมือนไฟลวก หรือเหมือนเอาพริกทา หรือปวดแปลบแบบไฟช็อต วิ่งไปตามรากประสาทหรือ
Page 28

ปวดเหมือนถูกเข็มแทงทีละหลาย ๆ เลม ระยะแรก อาการปวดเกิดเฉพาะบริเวณที่รากประสาทนั้นเลี้ยงอยู


ตอมาอาจปวดในบริเวณขางเคียง ทั้งดานบนและลางตอรากประสาทที่รับผิดชอบอีก 2 - 3 ราก รวมกัน
เปนบริเวณปวดเปนแถบกวางขึ้นและรุนแรงขึน้ ดวย เมื่อมีอาการปวดตอเนื่องเปนเวลานาน อาการปวดจะ
ถูกบันทึกไวอยางถาวร ในระบบประสาทสวน กลางระดับไขสันหลังและสมอง ซึ่งเปนระยะที่การรักษาใด ๆ
ก็มักจะไมไดผล และอาการปวดจะเปนไปตลอด แมจะฉีดยาระงับความรูสึกทีเ่ สนประสาท หรือตัด
เสนประสาทที่มีปญ  หาออกอาการปวดก็ไมหาย
เนื่องจากอาการปวดรุนแรง การใชยาแกปวดธรรมดามักไมไดผล แพทยมักตองใชยาแกปวดอยาง
แรง ซึ่งอาจเสพติดได เชน Morphine, Pethidine และอาจตองใหยากันชักบางอยางซึ่งมีฤทธิ์แกปวด
ประสาทได เชน Gabapentin, Carbamazepine, Pregabalin, Oxcarbamazepine ยาเหลานี้ เพียงชวย
บรรเทาอาการชั่วคราวแตโรคไมหาย มีราคาแพงและมีฤทธิ์แทรกซอนที่สําคัญ คือ กดการทํางานของสมอง
ทําใหงวงซึมทํางานไมได แตผูปวยก็จําเปนตองใชยา เพราะงวงก็ยังดีกวาปวด รวมทั้งยาบางชนิด เชน
Carbamazepine ยังอาจทําใหเกิดอาการผื่นแพยาอยางรุนแรงในผูใ ชบางรายดวย ผูป วยบางรายอาจ
จําเปน ตองใชยาในขนาดสูงจนกดการทํางานของไขกระดูก จนไมสามารถสรางเม็ดเลือดได ทําใหเกิดโรค
เลือด
การฝงเข็มชวยรักษาอาการปวดจากงูสวัดไดดี แตตอ งทําภายใน 4 สัปดาหหลังจากมีผื่น
ขึ้นที่ผิวหนัง คือตองทํากอนที่รางกายผูปวยจะบันทึกความเจ็บปวดอยางถาวร ไวในระบบประสาท
สวนกลาง เพราะผูปวยที่มารับการรักษาในระยะทีช่ าไปจะเกิดอาการปวดภายในระบบประสาทไดดวยตัว
ของมันเอง โดยไมตองมีการกระตุน จากสิ่งอืน่ จะนั่งจะนอนอยูเฉย ๆ ก็มีอาการปวดขึ้นเอง เหมือนระบบ
ประสาทเปดเลนเทปที่บนั ทึกอาการปวดไวออกมาเอง
จากประสบการณ การรักษาผูปวยที่ปวดจากงูสวัดประมาณ 80 ราย พบวา ไดผลดีโดยการฝงเข็ม
บริเวณรอบ ๆ รอยผืน่ และตุมที่ผิวหนัง (แตไมไดแทงเข็มตรงบริเวณที่เปนแผล) การฝงเข็มบริเวณจุดขาง ๆ
กระดูกสันหลังที่มีรากประสาทที่สง เสนประสาทมาเลี้ยงผิวหนังทีบ่ ริเวณที่เปนแผลประมาณ 4 - 5 จุด
จากนัน้ กระตุน เข็มดวยไฟฟา ในความถี่สูง ประมาณ 200 เฮิรซ พบวา อาการปวดมักจะลดลงตั้งแตการ
ฝงเข็มครั้งแรก บางครั้งลดลงรอยละ 20 – 30 จากอาการเดิม ซึ่งหากเปนเชนนัน้ สามารถทํานายไดวาจะ
ประสบความสําเร็จในการรักษาในที่สุด
อาการปวดจากโรคงูสวัด เปนอาการที่รักษายาก จึงจําเปนตองใชเวลานานทําการรักษาหลายครั้ง
จึงจะสําเร็จ โดยทั่วไปแนะนําใหทําฝงเข็มครั้งละ 30 นาที โดยแบงระยะการรักษาเปน 3 รอบการรักษา
รอบละ 10 ครั้ง โดยรอบการรักษาแรก ฝงเข็มสัปดาหละ 3 ครั้ง, รอบการรักษาที่ 2 ฝงเข็มสัปดาหละ 2 ครั้ง
และรอบการรักษาที่ 3 ฝงเข็มสัปดาหละ 1 ครั้ง จากประสบการณ หากผูป วยมารับการรักษาภายใน 4
สัปดาห (1 เดือน) นับจากเริ่มเกิดผื่น พบวา ผูปวยทุกรายหายเปนปกติ คือสามารถคอย ๆ ถอนการใชยา
รับประทานที่เคยใชอยูไดหมด นับวาเปนการรักษาที่ดีที่สดุ ในการจัดการกับอาการปวดประสาทจากงูสวัด
Page 29

อยางไรก็ตาม สําหรับผูปวยที่มีอาการปวดประสาทมานานหลายเดือน หรือเปนป การรักษาจะ


ไดผลไมดี และไมแนะนําใหทําการรักษาดวยการฝงเข็ม ดังนั้นการเปนงูสวัดและมีอาการปวด ควรนึกถึง
แพทยฝงเข็มและมารับการรักษาโดยเร็วที่สดุ
นอกจากนี้ ผูเขียนยังพบวา การฝงเข็มรักษาผูปวยงูสวัดในระยะเฉียบพลัน ทีเ่ ริ่มมีผื่นหรือตุมใสจะ
ไดผลดียิ่งขึ้น โดยผื่น ตุมพอง และแผลอักเสบตาง ๆ กลับแหงและหายเร็วขึ้นมาก ผูปวยที่เริ่มเปนงูสวัดไม
จําเปนตองรอใหมีอาการปวดกอนแลวจึงมาฝงเข็ม สามารถใหการฝงเข็มไดเลย แผลจะหายเร็วและไมมี
อาการปวดติดตามมา และอาจไมตองทําการรักษาถึง 30 ครั้ง

ตัวอยางผูปวย
ผูปวยรายแรก หญิงไทย อายุ 29 ป มีอาการแทรกซอนจากงูสวัด ที่เรียกวา Ramsay-Hunt
syndrome คือ เปนงูสวัดบริเวณหูแลวเขาทําลายเสนประสาทสมองเสนที่ 5, 7 และ 8 โดยมีอาการปวด
ใบหนา ปากเบีย้ ว และสูญเสียการไดยิน (หูดับ) หลังใหการรักษาดวยการฝงเข็ม 10 ครั้ง อาการหายเปน
ปกติ
ผูปวยรายทีส่ อง วิสัญญีแพทยชาย อายุ 65 ป นอกจากมีอาการ Ramsay-Hunt syndrome คือ
ปวดใบหนา อัมพฤกษที่ใบหนา และหูดบั แลว ยังทําใหสมองนอยอักเสบ (cerebellitis) มีอาการมึนศีรษะ
เดินเซ เสียการทรงตัว หลังใหการรักษาดวยการฝงเข็ม 9 ครั้ง พบวาอาการปวดใบหนาหายไป ปากเบี้ยว
นอยลง อาการเดินเซยังมีเล็กนอย ผลตรวจ
การไดยิน (audiogram) เปรียบเทียบกับกอนการรักษาดีขนึ้ จนเกือบปกติ
ผูปวยรายทีส่ าม นักศึกษาแพทยชาย อายุ 23 ป เปนผืน่ งูสวัดที่หนาผาก 4 วัน และเริ่มมีอาการ
ปวด หลังใหการรักษาดวยการฝงเข็ม 4 ครั้ง อาการปวดหายไป และ แผลแหงตกสะเก็ดอยางรวดเร็ว
ผูปวยรายทีส่ ี่ พยาบาลหญิง อายุ 28 ป เปนงูสวัดทีเ่ ทา 6 วัน จึงเริ่มมีอาการปวด หลังใหการ
รักษาดวยการฝงเข็ม 2 วัน แผลดีขึ้นอยางรวดเร็วและอาการปวดหายไป และไมเกิดขึน้ อีก
ผลการรักษาในผูปวยรายที่สามและสี่ แสดงใหเห็นวา ผูป วยงูสวัดที่ไดรับรักษาดวยการฝงเข็มใน
ระยะเฉียบพลัน จะไดผลในการรักษาทีด่ ีขึ้น คือ ทําใหแผลหายเร็วขึ้น มีแผลเปนนอย ลดความเสี่ยงในการ
เกิดอาการปวดประสาทถาวร และใชจํานวนการฝงเข็มนอยลง

การฝงเข็มสามารถรักษางูสวัดไดอยางไร
จากการศึกษา พบวา การฝงเข็มชวยลดการอักเสบไดเชนเดียวกับการใชยาตานอัก เสบกลุมที่
ไมใชสเตียรอยด (NSAIDs) รวมทั้งการฝงเข็มยังกระตุน ใหรางกายหลั่งสารสเตียรอยด นอกจากนี้การ
ฝงเข็มยังมีผลยับยั้งการหลั่งสารทีก่ ระตุนการอักเสบ ไดแก ไซโตคายนชนิดตาง ๆ
Page 30

การฝงเข็มยังเพิ่มการไหลเวียนในบริเวณที่มีปญ
 หา ทําใหเรงกระบวนการดูดซับของเสียและสาร
สื่อความเจ็บปวด (pain mediators) อาการปวดจึงลดลง และทําใหเกิดการซอมแซมเนื้อเยื่ออยางรวดเร็ว
ผื่นและตุมพองจะยุบฝอลง แผลจึงหายไดดีกวาและรวดเร็วขึ้น
เสนประสาทที่อักเสบและบวมอยูจ ะยุบบวมลงอยางรวดเร็ว ทําใหอาการปวดทุเลา การฝงเข็ม
รวมกับเครื่องกระตุนเข็มไฟฟา โดยใชความถี่สูง ทําใหลดความไวตอการกระตุน ของระบบประสาทรับ
ความรูสึก (hypersensitivity) และกระตุนการหลั่ง encephalin ซึ่งเปน endorphine ที่รางกายสรางขึ้น
เพื่อระงับความเจ็บปวดในระบบประสาท ทั้งในระดับรากประสาท ไขสันหลัง และในสมอง การฝงเข็มจึงมี
ผลระงับความเจ็บปวดที่มีประสิทธิภาพสูง เพราะมีผลระงับปวดที่ระบบประสาททุกระดับ
การเลือกใชจุดฝงเข็มและการกระตุน
1. จุดใกล ใชจดุ รอบ ๆ รอยผื่นหรือตุมบนผิวหนัง (ปกลอมรอยโรค)
2. จุดไกล ใชจดุ ที่อยูใ กลตน กําเนิดของรากประสาทมากทีส่ ุด ที่สามารถฝงเข็มไดสะดวก เชน หาก
เปนที่ใบหนาอาจใชจุด XiaGuan (ST 7), YiFeng (TE 17) หากเปนที่ลําตัวหรือแขนขา ใชจดุ JiaJi (EX-B
2) ที่อยูตรงกับระดับของรากประสาทขางเดียวกับทีเ่ ปนโรค และฝงเข็มอีก 2 - 3 ระดับเหนือจากรอยโรค
ขณะเดียวกันปกจุด JiaJi (EX-B 2) ในระดับไขสันหลังบนสุดที่ดานตรงขามดวย กระตุน ดวยไฟฟาความถี่
200 เฮิรซ โดยใหขั้วลบอยูท ี่จดุ ใกล ขั้วบวกอยูทจี่ ุดไกล กระตุนไฟระดับเบา นาน 30 นาที จุด JiaJi (EX–B
2) ดานตรงขามไมตองกระตุน
พบวาไดผลดี ขอบเขตที่ปวดจะแคบลงเรื่อย ๆ ในการฝงเข็มครั้งตอไปตองหาขอบ เขตทีป่ วดใหม
ทุกครั้ง และขยับเข็มที่ปก ลอมรอยโรคแคบลงเรื่อย ๆ จนกระทั่งอาการหาย โดยทั่วไปมักจะตองทํา
ประมาณ 3 รอบการรักษา รอบละ 10 ครั้ง โดยรอบการรักษาแรก ฝงเข็มสัปดาหละ 3 ครั้ง, รอบการรักษาที่
2 ฝงเข็มสัปดาหละ 2 ครั้ง และรอบการรักษาที่ 3 ฝงเข็มสัปดาหละ 1 ครั้ง
ผูปวยที่มารับการรักษาภายใน 4 สัปดาหหลังเกิดผื่น เกือบทั้งหมดสามารถหายไดดวยวิธนี ี้ สวน
ผูปวยที่ไดรับการรักษาเร็ว กลาวคือพอเริ่มมีอาการผื่นก็ฝงเข็มทันที อาจจะหายทั้งผืน่ และอาการปวด
ภายในการรักษาเพียง 10 ครั้ง และแผลก็จะสวยแทบจะไมมีแผลเปน ดังนั้นผูปวยที่เปนงูสวัดบนใบหนา ไม
ควรลังเลทีจ่ ะฝงเข็มโดยเร็ว แมจะไมมีอาการปวดก็ตาม
สําหรับจุดฝงเข็มอื่น ๆ อาจใชเสริม เชน ZhiGou (TE 6) ในการปวดประสาท Intercostal หรือ
HeGu (LI 4) ซึ่งใชไดทั่วไปไมวาปวดที่ใด ๆ ก็อาจมาปกเปนจุดเสริมได
Page 31

รูปที่ 4 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดประสาทจากเชื้องูสวัด

ปวดฟน
(Toothache : 牙痛)
ปวดฟน เปนปญหาที่พบไดบอยในโรคของเหงือกและฟน เชนเดียวกับ ฟนผุ เหงือกอักเสบ และ
เหงือกรน อาการปวดจะเพิ่มขึ้นเมื่อไดรับการกระตุน จากความรอน ความเย็น กรด และความหวาน
Page 32

อาการปวดฟน เกิดไดจากหลายสาเหตุภายในชองปาก ไดแก ฟนผุหรือหักราวจนถึงโพรงประสาท


ฟน, ฟนผุที่มีสิ่งแปลกปลอมอุดตันอยู, โรคปริทนั ต (periodontal disease), การสบฟนผิดปกติ
(malocclusion) เปนตน นอกจากนี้ อาการปวดฟนอาจเกิดจากสาเหตุอื่นที่ไมใชปญหาของเหงือกและฟน
ได เชน โรคปวดประสาทใบหนา (trigeminal neuralgia)
เมื่อเกิดอาการปวดฟน อาจรับประทานยาแกปวดเพื่อบรรเทาปวดชั่วคราว จากนั้นควรพบทันต
แพทยเพื่อตรวจหาสาเหตุและแกไขตอไป ไมควรนํายาแกปวดทุกชนิดไปแปะหรืออุดไวตรงฟนหรือบริเวณที่
ปวด เพราะอาจทําใหเกิดอักเสบหรือเปนแผลพุพองได และไมควรปลอยทิ้งไว แมวาจะหายปวดไปแลวก็
ตาม เพราะผลการรักษาจะดีกวาเมื่อใหการรักษาตั้งแตระยะเริ่มตน
การแพทยแผนจีน เรียกปญหาปวดฟนวา Ya Tong (牙痛) โดยมีสาเหตุจาก
1) ลมรอน: ลมรอนจากภายนอกเขารุกรานและสะสมในเสนลมปราณหยางหมิงมือและเทา ซึง่
เปนเสนลมปราณที่ไหลเวียนครอบคลุมทั้งกรามบนและกรามลาง
2) ไฟกระเพาะอาหาร: ไฟที่แปรสภาพมาจากความรอนที่สะสมในกระเพาะอาหารและลําไส
ใหญ ลุกลามไปตามเสนลมปราณหยางหมิง
3) รอนพรองจากอินไตพรอง: ไตดูแลกระดูก ซึ่งฟนนับเปนสวนหนึ่งของกระดูก เมื่อไตอินพรอง
ทําใหเกิดภาวะรอนพรอง (รอนเพราะอินพรอง) ความรอนกระจายขึ้นสวนบนเกิดอาการปวดฟน

การรักษา
การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
1. ปวดฟนจากลมรอนเขารุกราน
อาการ: ปวดฟนรุนแรงอยางเฉียบพลัน เหงือกบวมและแดง รวมกับมีไข หนาวสั่น อาการปวดมาก
ขึ้นเมื่อกระทบรอน และทุเลาดวยความเย็น
ลิ้น: ลิ้นแดง ฝาบาง-เหลือง
ชีพจร: ชีพจรลอย-เร็ว (Fu-ShuMai)
หลักการรักษา: ระบายลม สยบความรอน ลดอาการบวม และระงับปวด
จุดหลัก: กระตุนระบาย FengChi (GB 20), HeGu (LI 4)
จุดเสริม: - ปวดฟนบน กระตุนระบาย XiaGuan (ST 7)
- ปวดฟนลาง กระตุน ระบาย JiaChe (ST 6)
- มีไข กระตุนระบาย DaZhui (GV 14)
Page 33

วิธีการ: จุดหลัก กระตุนระบาย 1 - 3 นาที คาเข็ม 30 นาที หากอาการปวดยังไมทุเลา ใหใชจดุ


ฝงเข็มเสริม ปวดฟนบน XiaGuan (ST 7), ปวดฟนลาง JiaChe (ST 6), ขณะกระตุน สองจุดนี้แบบระบาย
แนะนําใหผูปวยกัดฟนไปพรอมกันจนอาการปวดฟนลดลง
อธิบาย: FengChi (GB 20) เปนจุดสําคัญใชในการระบายลมและไฟ; HeGu (LI 4) เปนจุดสําคัญ
ในการลดอาการปวดฟน ทะลวงเสนลมปราณ และใชระบายลมและความรอน
2. ปวดฟนจากไฟกระเพาะอาหาร
อาการ: อาการปวดฟนอยางรุนแรง รวมกับเหงือกบวมแดง กําเริบโดยความรอน ทุเลาโดยความ
เย็น กระหายน้ํา มีกลิ่นปาก ทองผูก ปสสาวะสีเขม
ลิ้น: ลิ้นแดง ฝาเหลือง
ชีพจร: ชีพจรเร็ว (ShuMai)
หลักการรักษา: ขจัดไฟจากกระเพาะอาหาร ลดบวม บรรเทาปวด
จุดหลัก: ระบาย HeGu (LI 4), NeiTing (ST 44), JiaChe (ST 6), XiaGuan (ST 7)
จุดเสริม: ทองผูก กระตุนระบาย ZhiGou (TE 6), ChengShan (BL 57)
อธิบาย: HeGu (LI 4) อยูบนเสนลมปราณกระเพาะอาหาร ใชระบายความรอนออกจากเสน
ลมปราณ หยางหมิง ทะลวงเสนลมปราณและลดอาการปวดฟน; NeiTing (ST 44) ระบายความรอนออก
จากกระเพาะอาหาร; XiaGuan (ST 7) และ JiaChe (ST 6) เปนจุดบนเสนหยางหมิงใกลบริเวณที่ปวด ชวย
ทะลวงการเดินของชี่ และกระตุนเสนลมปราณเพื่อลดอาการปวด
3. ปวดฟนจากอินไตพรอง
อาการ: ปวดฟน แบบตื้อ ๆ เปน ๆ หาย ๆ เหงือกรน ฟนโยก ปวดเอว เขาออน
ลิ้น: ลิ้นแดง ฝาบาง
ชีพจร: ชีพจรเล็ก-เร็ว (Xi-ShuMai)
หลักการรักษา: บํารุงอิน บํารุงไต ลดไฟ บรรเทาปวด
จุดหลัก: - กระตุนระบาย HeGu (LI 4), JiaChe (ST 6)
- กระตุนบํารุง TaiXi (KI 3), RanGu (KI 2)
จุดเสริม:- ปวดเอว กระตุนบํารุง ShenShu (BL 23), ZhiShi (BL 52)
- เสียงอื้อในหู หรือ มึนศีรษะ, บํารุง ShenShu (BL 23), BaiHui (GV 20)
Page 34

อธิบาย: HeGu (LI 4) อยูบนเสนลมปราณกระเพาะอาหาร ใชระบายความรอนออกจากเสน


ลมปราณหยางหมิง ทะลวงเสนลมปราณและลดอาการปวดฟน; JiaChe (ST 6) เปนจุดบนเสนหยางหมิง
ใกลบริเวณทีป่ วด จะชวยทะลวงการเดินของชี่ และกระตุน เสนลมปราณเพื่อลดอาการปวด; TaiXi (KI 3)
จุดหยวนของเสนลมปราณไต บํารุงไต หลอเลีย้ งอิน; RanGu (KI 2) จุดอิ๋งของเสนลมปราณไต บํารุงไต
ขจัดไฟพรอง

การฝงเข็มจุดเฉพาะ
1. YeMen (TE 2)
ขอบงใช: ปวดฟนในหลายลักษณะ
จุดที่ใช: YeMen (TE 2) ขางที่ปวด
วิธีการ: ใชเข็ม 1.5 ชุน ที่จุด YeMen (TE 2) ปกเฉียงขึน้ ลึก 0.5 – 1 ชุนระหวางกระดูกมือที่ 4
และ 5 กระตุนเข็มจนไดชี่ และมีความรูสึกกระจายไปปลายนิ้ว หรือไปที่แขนหรือศอก คาเข็ม 20 – 60 นาที
หากอาการปวดไมทุเลาลงอยางมากใน 15 นาที ใหฝงจุด YeMen (TE 2) ของมืออีกขางและกระตุน
เชนเดียวกัน โดยทั่วไปอาการปวดจะหายไดในการรักษาหนึ่งครั้ง
2. YaTong (EX-UE 22)
ขอบงใช: ปวดฟนในหลายลักษณะ
จุดที่ใช: YaTong (EX-UE 22) ขางที่ปวด
วิธีการ: จุด YaTong(EX-UE 22) อยูบนนิ้วหัวแมมือดานหลังมือ ตรงกึง่ กลางขอตอกระดูกนิ้วมือ
และกระดูกฝามือ (1st metacarpophalangeal joint) ใชเข็ม 1 ชุน ปกแนวราบใหเฉียงขึน้ บนลึก 0.5 ชุน
แลวกระตุนใหไดชี่ และมีความรูสึกไปถึงเหงือก คาเข็มไว 30 นาที โดยทั่วไปอาการปวดจะหายไดในการ
รักษาหนึ่งครั้ง
3. YaTongLing (EX-UE 18)
ขอบงใช: ปวดฟนในหลายลักษณะ
จุดที่ใช: YaTongLing (EX-UE 18) ขางที่ปวด
วิธีการ: จุด YaTongLing(EX-UE 18) อยูดานฝามือ ระหวางขอตอกระดูกนิ้วมือและ
กระดูกฝามือ ของนิ้วกลางและนิ้วนาง (3rd & 4th metacarpophalangeal joints) ใชเข็ม 1 ชุนปกตรงลึก
0.3 – 0.4 ชุน แลวกระตุน แบบระบายใหไดชี่ คาเข็มไวจนอาการปวดฟนหายไป โดยปกติฝงเข็มรักษา 1 – 2
ครั้ง ก็ไดผลดี

การฝงเข็มหู
Page 35

จุดหลัก: ShenMen, Cheek, Apex of Antitragus, YaTongDing


จุดเสริม:- เหตุจากลมรอน Inner ear, Ear Apex
- เหตุจากไฟกระเพาะอาหาร Stomach, Large intestine
- เหตุจากไตอินพรอง Kidney
Page 36

รูปที่ 5 แสดงจุดฝงเข็มรักษาอาการปวดฟน

- กลุมอาการปวดจากพังผืดกลามเนื้อ
(Myofascial Pain Syndrome : 肌筋膜炎综合症)
กลุมอาการปวดจากพังผืดกลามเนื้อ เปนกลุมอาการที่มีลกั ษณะปวดอันเนื่องจากมี “จุดกดเจ็บ
เฉพาะ” (Trigger point ; TrP) ในกลามเนื้อ

ลักษณะของโรค
1. อาการและอาการแสดงทางคลินิก
- มีจุดกดเจ็บเฉพาะ
- ลักษณะปวด เปนแบบหนักตื้อ (dull pain) ปวดลา (soreness) และตําแหนงอยูลึก
- ความรุนแรงของการปวด มีตั้งแตเล็กนอยจนถึงปวดมาก หรือปวดมากจนอยากฆาตัวตาย
- อาการปวดขณะพักหรือออกกําลังกาย
- ตําแหนงที่ปวด ไมจําเปนตองพบทั้งสองขางของรางกาย (non symmetry)
2. การตรวจรางกาย
- ดานกําลังของกลามเนื้อ (motor) อาจพบมีกลามเนื้อออนแรง กลามเนื้อหดสั้น
แข็งเกร็ง ทําใหรางกายเคลื่อนไหวไดนอยลง
Page 37

- ดานความรูสึก (sensory) อาจพบชาตามบริเวณทีเ่ กิดโรค ดานประสาทอัตโนมัติ (ANS) เชน มี


เหงื่อออกผิดปกติ น้ําตาไหล น้ํามูกไหล น้ําลายไหลมากผิดปกติ มึนงง เสียงดังในหู เปนตน
- จากความปวดทําใหผูปวยเกิดปญหาการนอนหลับตามมาได

สาเหตุของโรค
แบงเปน 3 ปจจัยที่ทําใหเกิดโรค ดังนี้
1. ปจจัยจากกลไกทางกระดูก กลามเนื้อ เสนเอ็น (mechanical factors) จาก
การที่รางกายไมสมดุลแตกําเนิด การไดรับการบาดเจ็บ หรือ อิริยาบถในชีวิตประจําวัน เชน ทานั่ง ทายืน ทา
ของการทํางานที่ไมถูกตอง เปนตน ทําใหกลามเนื้อใชงานในทาไมถูกตอง ใชงานไมสมดุล หรือ ใชงานมาก
เกินไป ขาดการพักผอน (bone length, muscle tension, posture, overuse)
2. ปจจัยทั่วไปทางรางกาย (systemic factors) จากการไดรับสารอาหาร การทํางานของตอมไร
ตอมและเมตาบอลิสมของรางกายที่ไมสมดุล หรือใชงานนานเกินไปขาดการพักผอน (nutrition,
neuroendocrine, metabolism)
3. ปจจัยทางจิตใจ (psychological factors) จากภาวะซึมเศราวิตกกังวล การใชชีวติ ที่เรงรีบ

จุดเดนของโรคนี้
1. คลําพบ จุดกดเจ็บเฉพาะ
2. ปวดราวไปบริเวณอื่น (referred pain) ซึ่งมีบริเวณที่ราวกระจายโดยเฉพาะ คลําตามเสนใย
กลามเนื้ออาจพบ “แถบกลามเนื้อ” (taut band)
3. เมื่อออกแรงกด (snapping palpation) ทีจ่ ุดเจ็บเฉพาะ อาจพบการกระตุกของ กลามเนื้อ
เฉพาะที่ (local twitch response ; LTR)
4. เมื่อกดถูกจุดเจ็บเฉพาะ ผูปวยอาจรูสึกปวดมากจนทําใหผูปวยเคลื่อนหนี (jump sign)
การแยกระหวาง จุดกดเจ็บเฉพาะ (trigger point) และ จุดกดเจ็บ (tender point)
คือ จุดกดเจ็บเฉพาะ มีลักษณะ เมื่อกดถูกจุดที่เจ็บผูป วยจะรูสึกอาการเจ็บนั้นราวกระจายไปที่อื่น อาจมี
การกระตุกของกลามเนื้อเฉพาะที่ ขณะที่จุดกดเจ็บ ผูป วยจะรูสึกเจ็บบริเวณที่ถกู กด แตไมราวกระจายไป
ที่อื่น
จุดกดเจ็บเฉพาะ แบงเปน 2 ประเภท คือ
1) จุดกดเจ็บเฉพาะ ทีม่ ีอาการ (activc TrP) ซึ่งเปนเหตุใหผูปวยมาพบแพทยดวย อาการปวด
ตั้งแตเล็กนอยจดถึงปวดอยางรุนแรง
2) จุดกดเจ็บเฉพาะแฝง (latent TrP) ผูปวยไมมีอาการปวดชัดเจน แตรูสึกฝดขัดเมื่อเคลื่อนไหว
รางกาย กําลังกลามเนื้อลดลง เมื่อกดถูกจุดผูปวยจะรูสกึ ปวดราวกระจายไปบริเวณ อื่น ดังนั้นจุดกดเจ็บ
Page 38

เฉพาะแฝงจึงพบไดในคนทั่วไป จุดเหลานีจ้ ะเปลีย่ นเปนจุดกดเจ็บเฉพาะที่มีอาการ ในภาวะที่มีปจจัย


กระตุน เชน
- ไดรับแรงกดกระแทกอยางฉับพลัน (acute stress)
- ใชงานมากเกินไป (overuse)
- รางกายออนเพลีย (fatigue)
- ไดรับความเย็นจากภายนอก (cold)
- จิตใจไดรับความกดดัน (emotional stress)

การตรวจทางหองปฏิบัติการและการตรวจภาพรังสี
การตรวจทางหองปฏิบัติการ หรือภาพรังสี ไมพบลักษณะเฉพาะในการวินจิ ฉัยโรค ปจจัยเสริมที่
อาจตรวจพบรวมดวย ไดแก ภาวะตอมไธรอยดทํางานนอย (hypothyroidism) น้ําตาลในเลือดต่ํา
(hypoglycemia) และการขาดวิตามิน

การวินิจฉัย
การวินิจฉัย อาศัยอาการทางคลินิก ซึ่งประกอบดวยเกณฑหลัก 5 ขอ (major criteria) และเกณฑ
ยอย (minor criteria) อยางนอย 1 ใน 3 ดังนี้
เกณฑหลัก 5 ขอ ไดแก
1. มีอาการปวดเฉพาะบริเวณ (Regional pain complaint)
2. มีอาการปวดหรืออาการอื่นที่ราวกระจายมาจากจุดกดเจ็บเฉพาะ (pain complaint or altered
sensation in the expected distribution of referred pain from a myofascial TrP)
3. คลําพบลํากลามเนื้อ ในกลามเนื้อทีเ่ ปนตนเหตุ (Taut band palpable in an accessible
muscle)
4. ตรวจพบจุดกดเจ็บชัดเจนสุด 1 จุด ในลํากลามเนื้อ (Exquisite spot tenderness at 1 point
along the length of the taut band)
5. ตรวจพบการจํากัดพิสยั ของการเคลื่อนไหว (Some degree of restricted range of motion,
when measureable)
เกณฑยอย 3 ขอ ไดแก
1. เกิดอาการปวด เมื่อกดถูกจุดกดเจ็บ (Pain complaint reproduced by pressure on the
tender spot)
2. มีการกระตุกของกลามเนื้อเฉพาะที่ เมื่อถูกกระตุน (A local twitch response)
3. อาการปวดลดลงเมื่อยืดกลามเนื้อหรือฉีดยาเขาจุด (Relief of the pain by stretching or
injecting)
Page 39

นอกจากนี้การวัดความไวของการเจ็บปวดตอแรงกด (pressure pain sensitivity)


โดยใชเครื่องวัดระดับความปวด (Dolorimeter) เปนวิธีหนึ่ง ซึ่งยืนยันจุดกดเจ็บที่ผดิ ปกติ รวม ทั้งทีใ่ ช
เปรียบเทียบผล กอนและหลังรักษา ซึ่งถาการรักษาไดผล ความทนทานตอแรงกด (pressure threshold)
จะเพิ่มขึน้ 3 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร การวัดโดยวิธนี ยี้ ังไมไดถูกนํามาใชทางเวชปฏิบัติ

การรักษา
1. การรักษาแบบการแพทยแผนปจจุบัน
- การฉีดยาจุดกดเจ็บเฉพาะ (TrP injections) ยาทีใ่ ช เชน Bupivacaine,
Etidocaine, Lidocaine, Saline, Sterile water, Steroids, Botulinum toxin เปนตน
- การแทงเข็ม (dry needling)
- การรักษาทางเวชศาสตรฟนฟู โดยกายภาพบําบัด เชน ใชคลืน่ เสียงความถี่
สูงรักษาทีจ่ ุด ตามดวยการยืดกลามเนื้อ เปนตน

2. การรักษาแบบการแพทยแผนจีน โดยการฝงเข็ม
ในทางทฤษฎี เปรียบเทียบการรักษาโดยการแทงเข็มแบบการแพทยแผนปจจุบันและการฝงเข็ม จะ
เห็นวา หลักการของการแทงเข็ม คือ ใชปลายเข็มไปทําลายหรือกระตุน จุดกดเจ็บ ทําใหเกิดปฏิกิริยา
เปลี่ยนแปลงจากระบบประสาทสวนกลาง จากนั้นกลามเนื้อจะเกิดการผอนคลาย สุดทายผูปวยจะรูสกึ
ปวดลดลง
จากทฤษฎีการแพทยแผนจีน อาศัยหลักวา “ไมโลงจะปวด โลงจะไมปวด” ดังนั้นการ
ใชเข็มกระตุน ที่จดุ กดเจ็บ หรือจีนเรียกวา จุดอาซื่อ ทําใหเลือดและชี่ไหลเวียนไดคลอง ผูปวยก็จะรูสึกปวด
ลดลง ในตําราหลิงซู : กวนเจิน (灵枢:官针) ไดกลาวถึงการฝงเข็ม 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 การฝงเข็มบริเวณที่มีการอุดตันของชี่หรือเลือด จะเปนการรักษาโรคของเสนลมปราณ
แบบที่ 2 การฝงเข็มบริเวณกลามเนื้อ จะเปนการรักษากลามเนื้อที่ลีบ หรือ ไดรับบาดเจ็บเรื้อรัง
ดังนั้น จึงใชเทียบเคียงกับกลุมอาการปวดจากพังผืดกลามเนื้อได นอกจากนี้ ในการฝงเข็ม
นอกจากการกระตุนจุดอาซื่อแลว ยังอาศัยการรักษาโดยใชหลักการของจุดใกล (จุดที่อยูรอบบริเวณรอย
โรค) และจุดไกล (จุดที่อยูในแนวเสนลมปราณที่ไหลเวียนผานรอยโรค) รวมทั้งใชจุดฝงเข็มเพื่อรักษาสาเหตุ
ตามหลักทฤษฎีการแพทยจนี ที่ทําใหเลือดและลมปราณไหลเวียนไมคลองจนเกิดอาการปวดและกลามเนื้อ
หดเกร็ง เนื่องจากอาการปวดจากพังฝดกลามเนื้อเปนเพียงอาการแสดงสวนหนึ่งของความผิดปกติที่มี
สาเหตุตาง ๆ กัน การฝงเข็มจึงไมเพียงมุงเนนการบรรเทาปวดเฉพาะทีเ่ ทานั้น แตยงั มุงหวังถึงการรักษา
สาเหตุดวย

ตัวอยางผูปวย
Page 40

ผูปวยรายที่ 1 ผูปวยหญิงไทยโสดอายุ 33 ป ทํางานเปนลูกจางมีอาการปวดสะบักซายหลายเดือน ใช


คอมพิวเตอรตั้งแต 9.00 น.-18.00 น. สะพายกระเปาหนักไปและกลับ จากที่ทํางานเปนประจํา ตรวจ
รางกายพบจุดกดเจ็บเฉพาะและคลําพบลํากลามเนื้อที่กลามเนื้อ Upper และ Lower Trapezius มีจุดกด
เจ็บที่กลามเนื้อ Supraspinatus และ Infraspinatus ขางซาย เมื่อใชเข็มปกกระตุน ตรงจุดที่กดเจ็บเฉพาะ
พบการกระตุกของกลามเนื้อดังกลาว และราวลงแขนซาย ซึ่งเปนไปตามบริเวณที่ราวกระจายโดยเฉพาะ
ผูปวยรายนีเ้ ปนกลุมอาการที่พบบอยในโรคเขตเมืองทีเ่ รียกกันวา “ออฟฟซ ซินโดรม” (Office
Syndrome) การรักษาสามารถใชหลักของการแทงเข็มแบบการแพทยแผนปจจุบนั หรือการฝงเข็มแบบ
การแพทยแผนจีน ก็ไดผลทั้งสองวิธี รวมกับการปรับเปลี่ยนวิถีการทํางานที่เหมาะสม
ผูปวยรายที่ 2 ผูปวยชายไทยคู อายุ 43 ป นักธุรกิจ ปวดสะโพกขวาราวลงขาขวาถึงเขา เปนเวลาหลายป
ขับรถ และนั่งทํางานวันละหลายชั่วโมง ไดรับการรักษามาหลายแหงโดยการรับประทานยา ฉีดยา
กายภาพบําบัด และนวดแผนโบราณ แตอาการไมดีขึ้น ตรวจรางกาย พบจุดกดเจ็บเฉพาะลึก บริเวณ
สะโพก สามารถจับยกขาขวาในทานอนไดสูง 70 องศา (negative stright leg raising test) เมื่อใชเข็มปก
กระตุนทีจ่ ุดกดเจ็บ พบการกระตุกของกลามเนื้อเฉพาะที่ และราวลงขาขวา ตามบริเวณที่ราวกระจาย
โดยเฉพาะ
ผูปวยรายนีเ้ ปนกลุมอาการที่เกิดจากกลามเนื้อ Pyriformis (Pyriformis
syndrome) ซึ่งเปนกลามเนื้อที่อยูลึกและติดกับเสนประสาทไซแอติก ทําใหมีอาการคลายโรคหมอนรอง
กระดูกทับเสนประสาท การใชฝงเข็มเปนวิธีที่ไดผลดีมาก แตตองระวังอันตรายตอเสนประสาทไซแอติก

ขอสังเกตและคําแนะนํา
1. สามารถใชการฝงเข็มเพียงอยางเดียว หรือผสมผสานการรักษารวมกับการรักษาอื่น ๆ ใน
การแพทยแผนปจจุบัน เชน ยา กายภาพบําบัด เปนตน
2. ไมควรกระตุนเข็มรุนแรงหรือหลายครั้งเกินไป เพราะอาจทําใหมีอาการปวดระบมหลังจากการ
รักษาได
3. การรักษาที่ตนเหตุ ควรหลีกเลี่ยงการทํางานในทาใดทาหนึ่งนานๆ เชน นั่งทําคอม พิวเตอรเปน
ระยะเวลานาน ๆ โดยไมพัก การขับรถนาน ๆ หรือหลีกเลีย่ งการใชอิริยาบถที่ไมเหมาะสม เชน การเอี้ยวคอ
หรือหนุนหมอนทากึ่งนั่งกึ่งนอนดูโทรทัศนเปนระยะเวลานาน ๆ เปนตน ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงอิริยาบถที่ไม
เหมาะสมรวมกับการออกกําลังแบบยืดกลามเนื้อ (Stretching exercise) ของกลามเนื้อมัดนัน้ จะปองกัน
การเกิดซ้ําได
4. การคนหาสาเหตุและการใหคําแนะนําการปฏิบัติตัวทีถ่ กู ตองเปนสิ่งสําคัญในการรักษากลุม
อาการปวดจากพังผืดกลามเนื้อ
Page 41

รูปที่ 6 แสดงตําแหนงอาการ myofascial pain syndrome

เจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ
( Angina Pectoris : 胸痛)
Angina pectoris เปนคําที่มีรากศัพทจากภาษากรีกและละติน โดย angina ในภาษาละตินแปลวา
คออักเสบติดเชื้อ ภาษากรีก แปลวา การบีบรัดคอ การบีบเคน สวน pectoris มาจาก pectus ซึ่งแปลวา
อก ในภาษาละติน เมื่อนํามารวมกันจึงหมายถึง ความรูสกึ บีบเคนในอก (a strangling feeling in chest)
ในเวชปฏิบัติ angina pectoris หมายถึง อาการเจ็บอก จากการขาดออกซิเจนของกลามเนื้อหัวใจ
อันเกิดจากความไมสมดุลระหวางความตองการใชออกซิเจนของกลามเนื้อหัวใจ และการสนับสนุน
ออกซิเจนจากระบบหลอเลี้ยงหัวใจ ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุมาจากพยาธิสภาพของหลอดเลือดหัวใจ ในทีน่ ี้ใช
ศัพทวา “อาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ” หมายถึง angina pectoris
Page 42

อาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ มักเปนอาการอึดอัด แนน ไมสบายในอก มากกวาอาการเจ็บปวด


โดยผูปวยอาจบอกเลาอาการไมสบายในอกตางกันไป เชน รูสึกหนัก, แนน อึดอัดเหมือนถูกรัด หรือถูกบีบ
เคน, แสบรอน, เจ็บขึ้นมาเปนหวง ๆ ในอกบริเวณหัวใจ หรือหลังตอกระดูกหนาอก หรือบริเวณลิ้นปใน
ผูปวยบางราย รวมทั้งอาจพบมีอาการปวดราวไปยังผิวหนังทีถ่ ูกเลีย้ งโดยเสนประสาทไขสันหลังระดับ
เดียวกัน ไดแก แขนดานใน ไหล คอถึงกราม และหลัง
โดยทั่วไป อาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ แบงเปน 2 ประเภท ที่ตองใหเวชบําบัดทีเ่ รงดวนตางกัน
ไดแก เจ็บอกแบบเสถียร (stable angina) และ เจ็บอกแบบไมเสถียร (unstable angina)
เจ็บอกแบบเสถียร พบในผูปวยที่มหี ลอดเลือดหัวใจตีบในระดับความรุนแรงคงที่ ที่สามารถ
สนับสนุนเลือดไปหลอเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจไดในระดับหนึง่ แตไมเพียงพอเมื่อกลามเนื้อหัวใจมีกิจกรรม
เพิ่มขึ้น ผูปวยจะไมมีอาการในขณะพัก หรือดําเนินกิจกรรมที่ไมใชกําลัง อาการเจ็บอกจะเกิดขึน้ เมื่อมี
ปจจัยกระตุน ใหกลามเนื้อหัวใจตองมีกจิ กรรมเพิ่มขึ้น เชน การออกกําลังกาย สภาพจิตใจและอารมณตาง
ๆ อาการมักดีขึ้นไดเองเมื่อพักหรือไดรับยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
เจ็บอกแบบไมเสถียร พบในผูปวยหลอดเลือดหัวใจตีบที่กําลังมีระดับความรุนแรงเพิ่มขึ้น โดยมี
อาการเจ็บอกเกิดขึน้ ในลักษณะดังนี้ 1) เจ็บอกขณะนอนหลับ หรือขณะพัก หรือออกแรงเพียงเล็กนอย 2)
อาการเจ็บอกที่เกิดขึ้นใหมและรุนแรง 3) อาการเจ็บอกเดิมที่มีลักษณะรุนแรงขึน้ ไดแก เจ็บมากขึ้น เปน
นานขึ้น เกิดบอยขึ้น ผูป วยกลุมนี้มีความเสีย่ งสูงทีจ่ ะเกิดกลามเนื้อหัวใจตายหรือเสียชีวิตจากกลามเนื้อ
หัวใจลมเหลว ซึ่งตองไดรับการตรวจวินิจฉัยและบําบัดรักษาที่เหมาะสมและเรงดวน
การแพทยแผนจีน จัดอาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจและโรคหลอดเลือดหัวใจอันเปนสาเหตุของ
การเจ็บอก ไวในกลุมอาการแนนหนาอก (XiongBi) เจ็บหนาอก (JueXinTong) และเจ็บหัวใจ
(ZhenXinTong) เนื้อหาเกี่ยวกับการวินิจฉัยแยกกลุมโรคตามแนวทางการแพทยแผนจีนและการรักษาดวย
การฝงเข็ม ไดกลาวไวโดยละเอียดแลวในตําราการฝงเข็ม รมยา เลม 2 เรื่องโรคหลอดเลือดหัวใจ ในที่นจี้ ะ
กลาวถึงการนําการรักษาดวยการฝงเข็มมาเปนการเสริมเติมกับการแพทยหลัก ตามความเห็นและ
ประสบการณของผูเ ขียน
ปจจุบัน วิทยาการทางการแพทย เกีย่ วกับโรคหลอดเลือดหัวใจและอาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ
มีความกาวหนาและครอบคลุมทั้งการวินจิ ฉัยที่รวดเร็วแมนยํา และการรักษาทั้งการใชยาและการผาตัด
ตลอดจนการติดตามผูปวยที่เปนแนวทางมาตรฐาน ที่แพทยจะตองศึกษาใหเขาใจและปฏิบัติไดอยาง
ถูกตองเหมาะสม ไมควรใชการฝงเข็มเปนการรักษาหลัก จนอาจเปนเหตุใหผูปวยเสียโอกาสทีจ่ ะไดรับการ
รักษาทางการแพทยทเี่ หมาะสม แมแตในสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเปนตนแบบของการแพทยจีน หาก
ผูปวยมาพบแพทยจนี ดวยอาการเจ็บอก ยังตองสงผูปวยไปตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจกอนเสมอ

ควรประยุกตใชการรักษาดวยการฝงเข็มเมื่อไร?
Page 43

เมื่อผูปวยมีลักษณะทางคลินกิ ที่สงสัยวาอาจเปนโรคหลอดเลือดหัวใจ แตยังไมเคยไดรับการตรวจ


วินิจฉัยที่แนนอน ควรแนะนําใหผูปวยเขารับการตรวจวินิจฉัยโรค ตรวจหาปจจัยเสี่ยง และรับการรักษาตาม
มาตรฐานการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยผูเชีย่ วชาญ หรือสถานพยาบาลที่มีศักยภาพในการติดตาม
ดูแลรักษาผูปวย
เมื่อผูปวยไดรับการรักษาตามมาตรฐานอยางเต็มที่แลว แตยังคงมีปญ  หาที่แกไขไมได อาจทดลองให
การรักษาเสริมดวยการฝงเข็มตามความสมัครใจของผูปวย พึงระลึกวา การฝงเข็มใชเปนการรักษาเสริม
เติมกับการรักษาเดิม ไมคาดหวังผลในการทดแทนการรักษาหลัก และการฝงเข็มไมมีผลกระทบตอการ
รักษาที่ไดรับอยู จึงไมจําเปนตองหยุดการรักษาเดิมเพื่อมารับการฝงเข็ม
จากประสบการณของผูเขียน ซึ่งเคยใหการรักษาดวยการฝงเข็มผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจจํานวน
หนึ่ง ทั้งผูป วยหนักในหอผูปวยวิกฤติ (ICU) และผูปวยนอก พบวาการรักษาเสริมเติมดวยการฝงเข็ม ชวย
แกไขปญหาหลายอยาง โดยเฉพาะปญหาที่การแพทยหลักมักมองขามไป เชน รูสึกอึดอัดแนนหนาอกหรือ
ใจสั่น (แมวาคลืน่ ไฟฟาหัวใจเปนปกติ) หายใจไมอิ่ม หายใจไมโลง หายใจไมไหวหลังการผาตัด ออนเพลีย
เบื่ออาหาร ความดันโลหิตต่ํา ขาบวม มีขอบงชี้ในการผาตัดหรือทําหัตถการแตไมสามารถทําได ฯลฯ

การเลือกใชจุดฝงเข็มตามอาการ
การเลือกใชจดุ ฝงเข็ม ตามการวินจิ ฉัยแบบการแพทยแผนจีน ไดกลาวโดยละเอียดไวในตําราฝงเข็ม
รมยา เลม 2 ในทีน่ ี้จึงกลาวถึงการเลือกจุดรักษาอาการ จากประสบการณผเู ขียนและรายงานผูป วยตาง ๆ

- อาการเจ็บอก
- กระตุน บํารุงหรือรมยา: XinShu (BL 15) และ JuQue (CV 14) เปนการใชจุดรวมอวัยวะหลังและ
หนา (Shu-Mu) ของหัวใจ เพื่อเสริมบํารุงหยางหัวใจและกระตุนการไหลเวียนเลือดของหัวใจ บรรเทาอาการ
เจ็บจากกลามเนื้อหัวใจ
- กระตุน บํารุงระบายเทากัน: NeiGuan (PC 6) เปนจุดลั่ว (Luo) ของเสนลมปราณเยื่อหุมหัวใจ ใช
เสริมการไหลเวียนชีใ่ นเสนลมปราณหัวใจและเยื่อหุมหัวใจ และมีขอบงชีใ้ นการรักษาอาการเจ็บอกจาก
หัวใจ นอกจากนี้ สามารถใชจุด NeiGuan (PC 6) ซึ่งเปนจุดเชื่อมโยงเสนลมปราณวิสามัญอินเอวย
(YinWeiMai) รวมกับจุด GongSun (SP 4) ซึ่งเปนจุดเชือ่ มโยงเสนลมปราณวิสามัญชง (ChongMai) เปน
การใชจุดคูทคี่ รอบคลุมการรักษาอาการของทรวงอก หัวใจและกระเพาะอาหาร
- กระตุน ระบาย: YinXi (HT 6) และ/หรือ XiMen (PC 4) เปนจุดซี (Xi) ของเสนลมปราณหัวใจและ
เยื่อหุมหัวใจตามลําดับ จุดซีมีสรรพคุณในการรักษาอาการเฉียบพลันหรืออาการรุนแรง ใชเปนจุดเสริมใน
การรักษาอาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ ที่มีอาการเฉียบพลันหรือรุนแรง

- อาการเสมหะมาก รูสึกอึดอัดแนนในอก
Page 44

- เกิดจากเสลดขนปดกั้นการไหลเวียนของชี่และเลือด ตรวจลิ้นมีฝาขาว หนาและเหนียว ชีพจรตึง-


ลื่น
- กระตุนระบาย: DanZhong (CV 17) เปนจุดอิทธิพลตอชี่ ใชกระตุนการไหลเวียนของชี่ บรรเทา
อาการอึดอัดแนนในอก และอาการเจ็บอก
- กระตุน บํารุงหรือรมยาจุด ZuSanLi (ST 36) รวมกับกระตุนระบายจุด FongLong (ST 40) จุดลั่ว
ของเสนลมปราณกระเพาะอาหาร เพื่อเสริมบํารุงการทํางานของมามและกระเพาะอาหาร และแปรรูปเสลด
ขน

- อาการออนเพลีย เบื่ออาหาร
- อาจพบรวมกับอาการเจ็บตื้อ ๆ บริเวณหัวใจ ใจสั่น หายใจตืน้ เซื่องซึมหรือเฉยเมย เกิดจากหัวใจ
และมามพรอง ซึ่งมักตรวจพบ ลิ้นซีด ชีพจรจม-เล็ก (Chen-XiMai) หรือ ชีพจร
ชาสลับหยุดไมแนนอน (JieMai) หรือ ชีพจรสลับหยุดสม่ําเสมอ (DaiMai)
- กระตุนบํารุงหรือรมยา: XinShu (BL 15), JueYinShu (BL 14), PiShu (BL 20), GeShu (BL 17)
และ ZuSanLi (ST 36) จุดอวัยวะหลัง ของหัวใจ เยื่อหุมหัวใจ มาม จุดอิทธิพลตอเลือด และจุดเหอ-ทะเล
ของกระเพาะอาหารตามลําดับ ใชเพื่อเสริมบํารุงหัวใจ มามและกระเพาะอาหาร และเลือด
- กระตุนบํารุงหรือรมยา: ZhongWan (CV 12) จุดอวัยวะหนาของกระเพาะอาหารและจุดอิทธิพล
ตออวัยวะกลวง สําหรับรักษาอาการเบื่ออาหาร
- กระตุนบํารุงระบายเทากัน: DanZhong (CV 17) และ NeiGuan (PC 6) สําหรับอาการแนนและ
เจ็บอก
- กระตุนบํารุงระบายเทากัน: ShenMen (HT 7) จุดซู-ลําธาร และจุดเหยวียน (Yuan) ของเสน
ลมปราณหัวใจ ใชสําหรับอาการใจสั่น หรือ ชีพจรไมสม่ําเสมอ

- อาการมากขึ้นเมื่อออกแรง
- เกิดจากหยางหัวใจและหยางไตพรอง ซึ่งพบรวมกับอาการขยาดหนาว แขนขาเย็น เอวและเขามี
อาการปวดเมื่อยหรือออนแรง และอาจมีอาการขาบวม ลิน้ ซีด ชีพจรเล็ก-จมออน (Xi-RuoMai) หรือ ชีพจร
ชาสลับหยุดสม่ําเสมอ (DaiMai)
- กระตุนบํารุงหรือรมยา: XinShu (BL 15), GuanYuan (CV 4), QiHai (CV 6), ShenShu (BL
23), ZuSanLi (ST 36)
- กระตุนระบาย: NeiGuan (PC 6)
- หากมีอาการขาบวม เพิ่มเข็มอุน หรือรมยาจุด YinLingQuan (SP 9)

- อาการหัวใจลมเหลวซ้ําซาก
Page 45

มักพบในระยะทายของโรค ซึ่งกลามเนื้อหัวใจเสื่อมสภาพ ขยายโตขึ้นแตไมมีแรงบีบ


ตัวสูบฉีดโลหิตไปหลอเลี้ยงรางกายไดเพียงพอ จึงเกิดอาการหอบเหนื่อย เปน ๆ หาย ๆ เมื่อออกแรงเพียง
เล็กนอย หรือแมในขณะพัก หรือกินอาหารมากเกิน หรือตื่นเตนมากเกิน มักเกิดอาการขาบวม น้ําทวมปอด
เขา ๆ ออก ๆ โรงพยาบาลอยูเสมอ บางรายอาจหายใจไมไหว ความดันโลหิตต่ํา จนตองเขาหออภิบาล
ผูปวยวิกฤติ ผูปวยกลุมนีม้ ักไมสามารถใหการรักษาอื่นใดได นอกจากใหยาประคับประคองรักษาไปตาม
อาการ หรือรอการปลูกถายเปลี่ยนหัวใจ
ในมุมมองของการแพทยแผนจีน มีสาเหตุจากหยางหัวใจและหยางไตพรองอยางมาก ในรายที่รุนแรง
จะเกิดชี่และหยางหลุด และเสียชีวิต มักพบอาการรวมอื่น ไดแก ใจสั่น หายใจตื้น แขนขาเย็น ขาบวม ลิ้น
ซีด ชีพจรเล็ก-จมออน (Xi-RuoMai) หรือเตนผิดจังหวะรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
ในรายที่รนุ แรงจนชี่และหยางหลุด จะพบเหงื่อแตก แขนขาเย็น สีหนาหมองคล้ํา ริมฝปากมวงคล้ํา
หรือหมดสติ หายใจไมไหว ลิ้นสีมวงคล้ํา ชีพจรจม-แผว (Chen-WeiMai) หรือผิดจังหวะรูปแบบตาง ๆ
ผูปวยมักถูกอภิบาลอยางใกลชิดในหอผูปวยวิกฤติ และมีอุปกรณประคับประคองชีวิตมากมาย ทําใหการ
รักษาดวยการฝงเข็มเปนไปไดยาก ทั้งจากปญหาดานสถานที่ และการยอมรับของบุคลากรทางการแพทย
แตหากสามารถทําได จากประสบการณของผูเ ขียน พบวา การฝงเข็มเสริมเติมกับการรักษาฉุกเฉินและ
ประคับประคองอื่นของการแพทยหลัก ไดผลในการกูช ีวิตและฟนฟูสุขภาพองครวมดีมาก ผูปวยมักฟน ตัว
ไดอยางรวดเร็วกวาไมฝงเข็ม โดยควรทําการฝงเข็มในทันทีที่สามารถทําไดในระยะตน ๆ ที่เกิดปญหา ไมใช
พิจารณาทําตอนใกลตาย ซึ่งไมวาการรักษาใด ๆ ก็ไมไดผล มีแตเสียกับเสีย (ผูปวยเสียชีวิตแพทยก็เสียชื่อ)
จุดหลัก:- บํารุง JueYinShu (BL 14), XinShu (BL 15), ShenShu (BL 23), ZuSanLi (ST 36),
ShenQue (CV 8), GuanYuan (CV 4), QiHai (CV 6), BaiHui (GV 20)
- ระบาย NeiGuan (PC 6)
จุดเสริม:- หมดสติ ShuiGou (GV 26)
- หายใจไมไหว หายใจรวยริน SuLiao (GV 25)
วิธีการ:
- จุดทีใ่ ชบํารุง ถาสามารถทําได ใหใชเข็มอุน หรือรมยา
- ShenQue (CV 8) ใชการคั่นเกลือเผาโกฐจุฬาลัมพาปน คอยเปลี่ยนโกฐ ฯ เมื่อรอน นาน 20 – 30
นาที
- จุดหนาทองทีเ่ หลือใชการคัน่ ขิงเผาโกฐฯ โดยสลับยายจุด เมื่อจุดที่เผารอนพอดี รวมเวลา 20 – 30
นาที
- NeiGuan (PC 6) ใชการกระตุนระบาย ไดผลดีสําหรับอาการเจ็บหนาอกและหัวใจเตนผิดจังหวะ
- ShuiGou (GV 26) ปกซอยเข็มแบบนกจิก สําหรับอาการหมดสติ กระตุน จนน้ําตาซึม จะไดผลดี
Page 46

ขอสังเกตและคําแนะนําในการฝงเข็มผูปวยหนัก จากประสบการณผูเขียน
- การรมยา (เผาโกฐฯ) เปนเวลานาน ในโรงพยาบาล เปนไปไดยาก ยกเวนมีแผนกฝงเข็มของตนเอง
การรมยาในตึกผูปวยใน โดยเฉพาะหอผูปวยวิกฤติ ยิง่ ไมสามารถทําได อยางไรก็ตาม หากเปนผูปวยหนัก
ควรใหการฝงเข็มทีเ่ ตียงผู ซึ่งมีอุปกรณติดตามและกูชีวิตพรอม ไมควรยายผูปวยออกฝงเข็มที่อนื่
- การฝงเข็มในหอผูปวยหนัก ตองพูดคุยทําความเขาใจกับผูปวย ญาติ และบุคลกรทางการแพทยให
เขาใจกอน ทั้งวิธกี าร โอกาสและความเสี่ยง โดยเฉพาะแพทยเจาของไข อยาแอบทําโดยพลการ พึงระลึกวา
เข็มเปนเพียงการรักษาเสริมเติม ไมใชของวิเศษ หากเกิดสิ่งไมคาดหมาย แมวาเราไมไดทํา แตก็ยากจะ
ปฏิเสธ เทาทีเ่ คยพบมาผูปวยและญาติมักมาขอรองใหฝง เข็ม แตคนที่มปี ญหามากที่สุดคือแพทยดวยกัน
เอง คงอีกนานกวาแพทยแผนปจจุบันจะเขาใจวา การฝงเข็มรักษาโรคเปนสวนหนึ่งของการประกอบวิชาชีพ
เวชกรรม ของแพทยแผนปจจุบัน ตามพ.ร.บ. การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
- การรมยาในหอผูปวยเปนเรื่องเปนไปไดยากดังกลาว รวมทั้งความหวาดกลัวเรื่องการระเบิดระหวาง
ไฟกับออกซิเจน โดยสวนตัวจะประยุกตใชเข็มน้ํา ฉีดเขาจุดบํารุงอวัยวะดานหลัง โดยใช วิตามิน B1, B12,
หรือ B1-6-12 ชนิดฉีด จุดละ 1 – 2 มล. เพราะผูปวยมักตองอยูในทานอนหงาย การฝงเข็มคาเข็มดานหลัง
เปนไปไดยากและมีความเสีย่ ง อยางไรก็ตาม การฉีดจุดดวยเข็มน้ํา ตองระมัดระวังอยางมากและมั่นใจวา
จะไมทําใหเกิดอันตรายตอปอดและอวัยวะภายในอื่น ถาไมมั่นใจอยาทํา (do no harm) อีกปญหาที่ตอง
ระวัง คือ เลือดหยุดยาก ซึ่งผูปวยมักไดรับยาตานการแข็งตัวของเลือดในรูปแบบตาง ๆ การฉีดจุดมีโอกาส
เสี่ยงเลือดออกมากกวาการฝงเข็ม เพราะเข็มใหญกวากันมาก
- จุดบํารุงดานหนา ยกเวน ShenQue (CV 8) ผูเขียนใชการฝงเข็มกระตุนบํารุงดวยกระบวนทาเผาภู
ผา (รายละเอียดในตําราฝงเข็ม รมยาเลม 2) คาเข็มไว 30 นาที โดยกระตุนซ้ําทุก 5 – 10 นาที หรือใช
เครื่องกระตุน ไฟฟา ใชความถี่สลับแบบตอเนื่อง 15 – 20 นาที
- การวินิฉัยโดยการจับชีพจรแบบจีน: ผูปวยกลุมโรคหัวใจและหลอดเลือด เชน โรคหลอดเลือดหัวใจ
ความดันโลหิตสูง ฯ รวมทั้งผูปวยโรคปอด โรคไต (ผูปวยโรคเรื้อรังเกือบทุกโรค) มักไดรับยาที่มีผลตอการ
เตนและการบีบตัวของหัวใจ ไมทางตรงก็ทางออม ทําใหการจับตรวจชีพจรมีความคลาดเคลื่อน ผิดแผก
จากที่คาดหมายหรือในตําราอยูเ นือง ๆ การวินจิ ฉัยแบบแพทยแผนจีน จึงตองอาศัยองคประกอบอื่นในการ
สนับสนุนการวินิจฉัยแยกกลุมโรค
- ปจจัยที่มีผลตอการรักษา: จากประสบการณทดลองฝงเข็มผูปวยหนัก เพียง 18 ราย พอประเมินได
วา
- สภาพรางกายพื้นฐานของผูปวย: ผูที่สภาพพื้นฐานแข็งแรง มักตอบตอการฝงเข็มดีกวา ฟน ตัวได
เร็วกวาผูที่รางกายออนแอทรุดโทรม ในผูที่รางกายทรุดโทรมมาก อาจเนนเข็มน้ําทีเ่ ปนวิตามิน หรือยาบํารุง
ชนิดฉีดตาง ๆ ตามความเหมาะสม หรือบางรายอาจตองใหสารอาหารตาง ๆ เสริมอยางแผนปจจุบนั หรือ
อาจตองเสริมดวยยาจีน ถาจําเปน
Page 47

- การตัดสินใจฝงเข็มเร็วหรือชา ยิ่งตัดสินใจฝงเข็มเร็วดูเหมือนวา จะไดผลดีกวาปลอยใหปวยหนัก


อยูนานวัน ไมแนะนําใหฝงเข็มในรายที่สนิ้ หวังหรือใกลเสียชีวิต เพราะทํา
ใหเสียกําลังใจในการฝกฝนเปนแพทยฝงเข็ม
- โรคที่เปนสาเหตุ ภาวะแทรกซอน และยาที่ผูปวยไดรับ: กอนทําการฝงเข็ม ควรใหเวลาศึกษา
ประวัติผูปวยใหละเอียด ทุกอยางที่ผปู วยไดรับลวนมีผลกระทบตอการรักษาทั้งสิ้น อยาฝงเข็มเพลิน จนลืม
ไป วาเราก็เปนแพทยแผนปจจุบนั ชั้น ๑ ดวยคนหนึ่งเหมือนกัน เราอาจแกปญหาใหผปู วยได โดยไมตอง
แกะเข็มออกจากซองเลยก็ได

รูปที่ 7 แสดงจุดฝงเข็มรักษาอาการเจ็บอกจากกลามเนื้อหัวใจ

เจ็บคอ
Page 48

( Sore Throat : 喉咙痛)


เจ็บคอ หรือ “HouBi” หมายถึง คอเจ็บ หรือมีอาการรูสึกคอไมโลงสบาย มีอาการบวมแดง หรือตุม
ตอมที่ผนังดานหลังคอนูนโตขึ้น ในแผนปจจุบนั ครอบคลุมถึงโรคคออักเสบ ตอมทอนซิลอักเสบ ทั้งที่เปน
แบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
ในคัมภีร ซูเ วิ่น กลาวถึง HouBi วา “เปนภาวะที่อินและหยางเกาะเกี่ยวกัน ทําใหเกิดภาวะ HouBi”
คําวา Bi หมายถึง ไมสะดวก ไมโลง ในคัมภีร จูปงเหวียนโฮวลุน กลาววา “HouBi เกิดจากการที่คอมี
อาการบวม ไมโลง ไหลเวียนไมสะดวก ทําใหเกิดอาการเจ็บ ปวดตนคอ เพราะสารเหลวที่ดีไมสามารถ
เขาถึงบริเวณนัน้ ได” ในคัมภีร ตันซีซินฝา กลาววา “HouBi สวนใหญพบไดในภาวะ เสลดรอน”

การวินิจฉัยแยกกลุมโรคและการรักษาดวยการฝงเข็ม
การแพทยแผนจีน วินจิ ฉัยแยกกลุมโรค ของเจ็บคอ เปน 4 แบบ คือ
1. การรุกรานจากภายนอก: สวนใหญเกิดจากลมรอนภายนอกเขารุกราน
อาการ: เจ็บคอมาก กลืนลําบาก เวลากลืนจะเจ็บคอเพิ่มขึ้น มีไข ปวดหัว ไมชอบโดนลม เหงื่อ
ออก ไอ เสมหะเหลืองขนเหนียว
ลิ้น: ลิ้นแดง ฝาบางเหลือง ; ชีพจร: ชีพจรลอย-เร็ว (Fu-ShuMai)
จุดหลัก:- กระตุนระบาย TianRong (SI 17), LieQue (LU 7), HeGu (LI 4)
- กระตุนบํารุง ZhaoHai ( KI 6)
จุดเสริม:- คอแหงเจ็บมาก ใหระบายลมรอนและเพิ่มน้ําโดยปก ChiZe (LU 5),
WaiGuan (TE 5) และปลอยเลือดจุด ShaoShang (LU 11)
2. ปอดและกระเพาะอาหารรอน
อาการ: อาการเจ็บคอคอนขางรุนแรง กลืนลําบาก มีไข กระหายน้ําเพราะคอแหง มีกลิน่ ปาก
ทองผูก อุจจาระแหงแข็ง ปสสาวะทีละนอยสีเขม
ลิ้น: ลิ้นแดง ฝาเหลือง ; ชีพจร: ชีพจรเร็ว-แรง (Shu-ShiMai)
จุดหลัก:- กระตุนระบาย TianRong (SI 17), LieQue (LU 7), HeGu (LI 4)
- กระตุนบํารุง ZhaoHai ( KI 6)
จุดเสริม:- ถามีอาการของกระเพาะรอน ระบาย NeiTing (ST 44), QuChi (LI 11)
- อาการคอแหงเจ็บมาก TianTu (CV 22)
- เสียงแหบ FuLiu (KI 7)
- ทองผูก QuChi (LI 11), ZhiGou (TE 6)
3. อินปอดและไตพรอง
Page 49

อาการ: คอแหง เจ็บคอแบบแสบ ๆ รอน ๆ มีอาการมากในชวงบาย ไอแหง ๆ ไมคอยมีเสมหะ หรือ


เสมหะเหนียวมาก หรือเสมหะมีเลือดปน รอนใน รอนกลางฝามือและเทา
ลิ้น: ลิ้นแดง ฝาเหนียว ; ชีพจร: ชีพจรเล็ก-เร็ว (Xi-ShuMai)
จุดหลัก: TianTu (CV 22), LieQue (LU 7), YuJi (LU 10), TaiXi (KI 3)
และ ZhaoHai (KI 6)
จุดเสริม:- อินปอดพรองมาก เจ็บคอมาก TaiYuan (LU 9) และ JingQu (LU 8)
4. เสลดรอนเลือดคั่ง
อาการ: รูสึกเหมือนมีกอนในลําคอ หรือเสมหะติดคางในลําคอ เจ็บคอไมมาก ขากเสมหะออก
ลําบาก คอแหงแตไมชอบดื่มน้ํา แนนอกหรือคลื่นไส
ลิ้น: ลิ้นแดงคล้ําหรือมีจดุ จ้ําเลือด ฝาขาวหรือเหลืองออน
ชีพจร: ชีพจรลืน่ -ตึง (Hua-XianMai)
จุดหลัก: TianTu (CV 22), LieQue (LU 7), YuJi (LU 10), ZhaoHai (KI 6), TaiXi (KI 3),
FengLong (ST 40), TaiChong (LR 3), SanYinJiao (SP6)
Page 50

รูปที่ 8 แสดงจุดฝงเข็มแสดงการรักษาอาการเจ็บคอ

กระดูกคอเสื่อม
( Cervical Spondylosis : 颈椎病)
โรคกระดูกคอเสื่อม เปนกลุมอาการของโรคทีเ่ กิดจากการเสื่อมสลายของกระดูกสันหลังสวนคอ
แลวรางกายมีขบวนการซอมแซมจนเกิดเปนการงอกของกระดูกคอ ซึ่งจะไปทําอันตรายตอเนื้อเยื่อโดยรอบ
ทําใหเกิดการอักเสบของกลามเนื้อ เสนเอ็น และรากประสาทสันหลังสวนคอ ทําใหผูปวยเกิดอาการปวด
บริเวณศีรษะ คอ ไหล แขน และหนาอก

สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
เกิดจาก ลม ความเย็น ความชื้นภายนอก มากระทําตอรางกาย ทําใหเสนลมปราณอุดตัน ชี่และ
เลือดไหลเวียนไมคลอง หรือเกิดจากการออนแรงของตับและไตตามวัย ทําใหซี่และเลือดพรอง สงผลใหเสน
เอ็นไดรับสารอาหารหลอเลี้ยงไมเพียงพอ หรือเกิดจากความเสื่อมของเสนเอ็นและเสนเลือด เนื่องจากไดรับ
บาดเจ็บตึงรั้งติดตอกันเปนเวลานาน

การวินิจฉัยแยกกลุมอาการโรค
1. ลม ความเย็นจากภายนอกเขารุกราน
อาการ: ปวดคอ คอแข็ง อาจมีอาการของไหลและแขนรวมดวย ไดแก แขนเย็น ชามือ หรือรูสึก
หนัก ๆ อาการจะมากขึน้ เมื่อกระทบกับลมหรือความเย็น
ลิ้นมีฝาบางและขาว ; ชีพจรลอย-ตึง (Fu-XianMai)
2. ชี่และเลือดติดขัด
อาการ: ปวดตึง ๆ หรือปวดแปลบคลายเข็มแทง บริเวณคอ ไหล และแขน หรือ ปวดราวลงแขน
รวมกับอาการมึนงง ปวดศีรษะ จิตใจซึมเศรา และอาจมีอาการแนนและปวดหนาอกรวมดวย
Page 51

ลิ้นหนา ฝาบางและขาว ; ชีพจร ไมสม่ําเสมอ หรือลึก

3. ตับและไตพรอง
อาการ: ชาและปวด บริเวณคอ ไหล และแผนหลังอยางชา ๆ รวมกับ อาการมึนงง ตาพรา เสียงดัง
ในหู หูอื้อ ปวดหรือออนแรงเขาและขา อาการรุนแรงขึ้นเมือ่ ทํางานตรากตรํา
ลิ้น: ปวดลิ้น ฝาบาง ; ชีพจร ลึก บางและออนแรง

การรักษา
1. การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
จุดหลัก: Cervical JiaJi (EX-B 2), FengChi (GB 20), DaZhui (BL 11) และ
จุด Ashi โดยจุดที่คอใชเทคนิคการหมุนและปนเข็ม หรือใชรมยารวมกับการครอบกระปุก
จุดเสริม: ตามสาเหตุของโรค
- ลมและความเย็นภายนอกเขารุกราน: ระบาย HeGu (LI 4), WaiGuan (TE 5), FengMen (BL
12) และ JianJing (GB 21)
- ชี่และเลือดติดขัด: ระบาย HeGu (LI 4), QuChi (LI 11), JianYu (LI 15), GeShu (BL 17),
YangLingQuan (GB 34)
- ตับและไตพรอง: บํารุง GanShu (BL 18), ShenShu (BL 23), ZuSanLi (ST 36), XuanZhong
(GB 39) และ TaiChong (LR 3)

2. การฝงเข็มหู
ใชจุด Neck (AH 12), Cervical Vertebra (AH 13), Shoulder (SF 4,5), Kidney
(CO 10) และ Ear ShenMen (TF 4) เลือกใชครั้งละ 2 – 3 จุด กระตุนเข็มดวยแรงปานกลาง - แรง จากนั้น
คาเข็ม 20 – 30 นาที วันละ 1 ครั้ง หรือวันเวนวัน อาจใชเม็ดแมเหล็ก หรือเมล็ดพืชกดแทนเข็ม
Page 52

รูปที่ 9 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคกระดูกคอเสื่อม

ไหลติด
(Frozen Shoulder - Adhesive Capsulitis : 冻结肩)
Frozen shoulder หรือ Adhesive capsulitis หมายถึง ขอไหลเคลื่อนไหวติดขัด ไมวาจะ
เคลื่อนไหวเอง หรือจับใหเคลื่อนไหวโดยผูอื่น สาเหตุของขอไหลติดเกิดจาก การอักเสบ การเกิดแผลเปน
การหนาตัว การหดรั้งของเนื้อเยื่อที่อยูรอบขอไหล เชน Bursitis/Rotator cuff tendinitis, Calcific
tendinitis, Periarthritis of shoulder
ผูปวยเบาหวาน ผูมีปญ หาขอไหลอักเสบเรื้อรัง ผูมีประวัติผาตัดทรวงอกหรือเตานม หรือการไมได
เคลื่อนไหวขอไหลเปนเวลานาน จะมีความเสี่ยงตอการเกิดขอไหลติดมากขึ้น

อาการและอาการแสดงทางคลินิก
อาการและอาการแสดงของขอไหลติดขึ้นกับระยะของโรค
Page 53

1) Painful/Freezing Stage: เปนชวงที่มีอาการปวดขอไหลมากที่สุด ปวดมากขึน้ เมื่อนอนทับไหล


ขางที่มีอาการ ขอไหลเคลื่อนไหวไดจํากัด แตเคลื่อนไหวไดมากกวาชวง frozen stage ชวงนี้กนิ เวลา
ประมาณ 6 - 12 สัปดาห
2) Frozen Stage: ชวงอาการปวดไหลจะลดลง แตไหลจะติดมากขึ้น ชวงนี้กนิ เวลาประมาณ 4 -
6 เดือน
3) Thawing Stage: เปนชวงที่อาการขอติดคอย ๆ ดีขึ้น สามารถเคลื่อนไหวไหลไดมากขึน้ ชวงนี้
ใชระยะเวลาเปนมากกวา1 ป

การตรวจทางหองปฏิบัติการและการตรวจภาพรังสี
การวินิจฉัยไหลติดสามารถทําไดจากการซักประวัติและตรวจรางกาย การตรวจภาพรังสีมกั ไมพบ
ความผิดปกติ แตมีประโยชนในการวินิจฉัยแยกโรคอื่น ๆ ที่อาจมีอาการคลายคลึงกัน เชน วัณโรคกระดูก
บริเวณหัวไหล เนื้องอก หรือกระดูกหัก เปนตน

ไหลติดในมุมมองของศาสตรการแพทยแผนจีน
ตามศาสตรการแพทยแผนจีน อธิบายวา รอยโรคเกิดขึ้นที่เสนทางเดินลมปราณและเสนเอ็น มัก
เกิดในชวงอายุหาสิบป เจิ้งชี่ไมพอ จิงเวยพรอง ไหลมกี ารกระทบลมเย็น หรือมักนอนตะแคง เมื่อทาง
ไหลเวียนของเสนลมปราณถูกกดทับเปนระยะเวลานาน ทําใหเลือดลมติดขัดกอใหเกิดอาการปวดหรือชา
การปวดไหลนานเลือดลมไหลติดขัดหรือไมคลอง เกิดการคั่งทําใหเกิดการบวมติด จนไหลเคลื่อนไหวลดลง
ในที่สุด ตําแหนงปวดชวยบอกตําแหนงโรค
- ปวดบริเวณจุด ZhongFu (LU 1) ยกแขนไปดานหลังแลวปวด โรคอยูที่เสนไทอิน
- ปวดบริเวณจุด JianYu (LI 15), JianLiao (TE 14) กดเจ็บบริเวณกลามเนื้อหัวไหล (deltoid)
กางแขนออกแลวปวด โรคอยูที่เสนหยางหมิง และเสนเสาหยาง
- ปวดบริเวณจุด JianZhen (SI 9), NaoShu (SI 10) หุบแขนเขาแลวปวด โรคอยูทเี่ สนไทหยาง

การรักษา
1. การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
หลักการรักษา: ขับเคลื่อนเอ็นและจิงลั่วใหไหลเวียนคลอง เลือดและชี่ไหลเวียนดี
จุดหลัก: จุดใกล ใชจุดบริเวณขอไหลเปนหลัก ไดแก JianYu (LI 15), JianQian (EX-UE 12)
(JianQian อยูกึ่งกลางระหวาง anterior axillary fold และจุด JianYu), JianZhen (SI 9) และจุด AShi
(trigger point) รวมกับ จุดไกล ไดแก YangLingQuan (GB 34) และ ZhongPing (EX-LE 17)
(ZhongPing อยูใตตอ ZuSanLi (ST 36) 1 ชุน)
วิธีการ:
Page 54

- จุดใกล ฝงเข็ม กระตุน ระบาย แลวตามดวยรมยา เพื่อขับลม ขจัดเย็น กระตุน ใหเลือดลม


ไหลเวียนคลองขึน้
- จุดไกล กระตุนระบาย YangLingQuan ( GB 34) เปนจุดอิทธิพลตอเสนเอ็น ทําใหเสนเอ็น
และลั่วขับเคลื่อนคลอง ลมปราณไหลเวียนดี ลดอาการปวด และจุด ZhongPing (EX-LE 17) ซึ่งเปนจุด
ประสบการณที่ใชรักษาอาการปวดไหลแลวไดผลดี
จุดเสริม: ใชจุดเสริมตามตําแหนงโรคในเสนลมปราณ
- โรคอยูเสนไทอนิ : เพิ่ม ChiZe (LU 5), YinLingQuan (SP 6)
- โรคอยูเสนหยางหมิง เสาหยาง: เพิ่ม ShouSanLi (LI 10), WaiGaun (TE 5)
- โรคอยูเสนไทหยาง: เพิ่ม HouXi (SI 3), DaZhu (BL 11), KunLun (BL 60)
- ปวดทีเ่ สนหยางหมิง-ไทหยาง: TiaoKou (ST 38) ปกชี้ไป ChengShan (BL 57)
แนะนําเทคนิคการฝงเข็ม
- JianQian (EX-UE 12) และ JianZhen (SI 9) ตองระวังทิศการปกเข็มไมควรปกเขาหา medial
หรือลึกเกินไป
- YangLingQuan (GB 34) ใหปก ลึกหรือชี้ไปทาง YinLingQuan (SP 6)
- TiaoKou (ST 38) สามารถปกกระตุน แรงได
- บริเวณที่ปวด ลักษณะปวดแบบเย็น ใหเพิ่มรมโกฐจุฬาลําพารวมดวย
- บริเวณไหลหลังปกเข็มสามารถเพิ่มการครอบกระปุกหรือนวดดวยครอบกระปุก
- ใหผูปวยขยับไหลขางที่มีอาการรวมดวยในขณะที่ปกกระตุนจุดไกล

2. การฝงเข็มรางกายโดยใชไฟฟากระตุน
ใชจุด JianYu (LI 15), JianLiao (TE 14), JianQian (EX-UE 12), TianZong (SI 12), Quchi (LI
11), WaiGuan (TE 5) แตละครั้งเลือก 2-4 จุดเพื่อกระตุน ไฟฟา กรณีปวดระยะแรกใชคลื่น continuous
กรณีปวดระยะทายใชคลืน่ intermittent

3. การฝงเข็มหู
ใชจุด Shoulder, Shoulder Joint, Clavicle, Shenmen แตละครั้งเลือก 3-4 จุด ปกเข็มกระตุนแรง
คาเข็มไว 30 นาที หรือแปะจุดดังกลาว

การฝงเข็มจากการศึกษาทางคลินิก
ประสบการณรักษาโดยนายแพทยจู (จาก Shanghai Journal of Acupuncture and
Moxibustion,1997,16(3).23) ฝงเข็มรวมกับทุยหนา จุด JianYu (LI 15), JianLiao (TE 14), JianZhen
(SI 9), BiNao (LI 14), Quchi (LI 11), WaiGuan (TE 5), HeGu (LI 4), และ TiaoKou (ST 38) โดยให
Page 55

ผูปวยอยูในทานั่ง ใชเข็มยาว 75 mm ปกที่ Quchi (LI 11) ของแขนขางที่มีอาการปวดกระตุนใหรูสึกราวถึง


หัวไหล แลวปกจุดอื่น ๆ ตาม สุดทายปก TiaoKou (ST 38) กระตุนใหรูสึกราวขาไปแขนจากแขนไปไหล
คาเข็มไว 30 นาที หลังถอนเข็มครอบกระปุก 4 - 5 ตําแหนง บริเวณทีป่ วด 5 - 10 นาที หลังครอบกระปุก
ตอดวยทุยหนา ไดผล 97-100%

ตัวอยางผูปวย
ผูปวยชาย อายุ 43 ป มีอาการปวดไหลขวามา 10 เดือน เมื่ออาการปวดกําเริบจะราวไปที่แขนและ
ขอมือ อากาศเย็นอาการปวดจะเปนมากขึ้น ไหลขวาเคลือ่ นไหวติดขัด ไมวาจะวางแขน หุบแขนหรือไพล
หลัง ไมสามารถทําไดปกติ รับประทานยาแลวอาการไมทุเลา ไดรับการรักษาดวยการฝงเข็มโดยเลือกจุด
JianLiao (TE 14), WaiGuan (TE 5), ZhongZhu (TE 3), YangLinQuan (SP 6) ปกเข็มรวมกับกระตุน
ดวยไฟฟา หลังรักษา 12 ครั้ง อาการปวดทุเลาและสามารถเคลื่อนไหวไหลขวาไดคลอง

ขอสังเกตและคําแนะนํา
การรักษาไหลติดดวยการฝงเข็มผลคอนขางดี แตขนึ้ กับระยะของโรคดวย ถามารักษาในชวงแรก
มักจะตอบสนองเร็วกวามาในระยะเรื้อรัง และตัวผูปวยเองตองใหความรวมมือในการออกกําลังกายเสริม
เชน การไตกําแพงทุกวัน วันละ 2 - 3 ครั้ง และควรดูแลไหลขางที่มีอาการไมใหกระทบลมเย็น
Page 56

รูปที่ 10 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคไหลติด

ปวดขอศอก
(Tennis Elbow : 网球肘)
ปวดขอศอก เปนภาวะที่ขอศอกมีอาการปวด เจ็บ และการเคลื่อนไหลของขอศอกไมสะดวก ทั่วไป
มักเรียกวา Tennis Elbow จัดอยูในโรคปเจิ้งหรือปวดขอศอก จัดอยูในทางการแพทยปจ จุบันกลุมโรค
External Husneral Epicondylilis สาเหตุของโรคมักเกิดจากการใชงานเกินกําลังออทําใหเกิดบาดเจ็บตอ
กลามเนื้อของเอ็นในบริเวณขอศอก มักพบในนักกีฬาเทนนิส พนักงานพิมพดีด คนใชแรงงานยกหิ้วของ
หนัก อัตราสวนหญิงตอชาย 1 : 3 และมักเปนที่ขอศอกขวา ทางการแพทยจีนแบงสาเหตุของโรคนี้ไดแก
การใชกําลังงานแขนไมเหมาะสม การที่แขนถูกลมเย็นเขากระทบตอเสนลมปราณบริเวณขอศอก การที่
บริเวณขอศอกมีเลือดลมไมพอ เหลานีท้ ําใหเกิดการไหลเวียนของเลือดลมติดขัด อันนําไปสูอาการปวด

อาการแสดงทางคลินิก
มักมีประวัติการทํางานของขอศอกมากไป ปวดบริเวณขอศอกดานนอก ในระยะแรก
ของโรค อาการจะเจ็บมากเวลาใชงานมากและทุเลาเวลาไดพักผอน กดเจ็บบริเวณขอศอกดานนอก
บริเวณดานนอกของกระดูก Humerus หรือบริเวณ Humororadial joint หรือ Auterior radial head

การวิเคราะหแยกโรค
1. จากการใชงานมากเกินไป มีประวัติการใชงานมากไป ปวดบริเวณขอศอก เปน
Page 57

มากอาจจะปวดบริเวณตนแขนดานขางดวย เวลาหมุนแขน (Sapinate pronate) แขนจะเจ็บ


กดจะเจ็บมาก ลิ้น แดงคล้ํา ฝาขาวบาง ชีพจร จมฝด หรือจมเล็ก
2. กระทบลมเย็น มีประวัติกระทบกับลมเย็น ปวดบริเวณขอศอกดานนอก เวลาหมุนแขน
(Sapinate pronate) แขนจะเจ็บ กดจะเจ็บมาก ลิ้น ซีดแดง ฝาขาวบาง ชีพจร เล็ก

การรักษา
- การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
จุดหลัก : ZhouLiao (LI 12), QuChi (LI 11), ShouSanLi (LI 10),
ShouWuLi (LI 13), WaiGuan (TE 5), HeQu (LI 4), AhShi Point.
จุดเสริม :
- ถามีเลือดคั่ง เพิ่ม GeShu (BL 17)
- ถามีชี่พรอง เพิ่ม ZuSanLi (ST 36)
- ถาหมุนแขนไปทางดานหนา (Anterior rotate forarm..) เจ็บเพิ่ม
XiaLian (LI 8)
- ถาหมุนแขนมทางดานหลัง (Posterios rotate forarms) แลวเจ็บ ใหเพิ่ม
ChiZe (LU 5)
- ถาเจ็บดานใน (Medial) ของขอศอก เพิ่ม ShaoHai (HT 3)
- ถาปลายศอกดานหลังเจ็บ เพิ่ม TianJing (TE 10)
วิธีปกเข็ม สวนใหญผูปวยมักตรวจพบภาวะพรอง วิธีรักษาใหใชการเสริม แตถาเปนภาวะแกรง เย็น
มีเลือดติดขัดใหใชวิธีระบาย โดยเลือกใชเสนลมปราณที่เกี่ยวของมีเสนทางผานศอก ไดแก เสน
ลมปราณหยางมือ เสนลมปราณอินมือ อยางละ 3 เสน เสนลมปราณ
หยางหมิงมือเปนเสนหลักที่ถูกกระทบมากที่สุด และจุดฝงเข็มทีเ่ ลือกใชบอยไดแก ZhouLiao (LI 12),
QuChi (LI 11), ShouSanLi (LI 10) เพื่อเปดเสนลมปราณและเลือดใหไหลเวียนสะดวก สวนเสน
ลมปราณเสาหยางมือ เลือกจุด TianJing (TE 10) และ WaiGuan (TE 5) เปนจุดไกลของเสนลมปราณที่
อยูไกล สําหรับ WaiGuan (TE 5) เปนหยางเหวยมาย และ HeQu (LI 4) มีคุณสมบัติขับลมเย็นไดดวย

การรักษาดวยวิธีอื่น ๆ
- เข็มหู : จุดวองไวตอความรูสึก ShenMen, Subcortex, Elbow
- ครอบกระปุก อาจใชเข็มผิวหนังปกบริเวณที่ปวด ใหมีเลือดซิบ ๆ เล็กนอย แลวครอบ
กระปุกประมาณ 5 นาที
Page 58

รูปที่ 11 แสดงจุดฝงเข็มรักษาอาการปวดขอศอก
Page 59

พังผืดกดทับเสนประสาทในโพรงขอมือ
( Carpal Tunnel Syndrome : 腕管综合症)
Carpal tunnel syndrome เกิดจาก median nerve ที่อยูใ นอุโมงคขอมือ หรือโพรงขอมือ (carpal
tunnel) ถูกกด อาจเกิดจาก โพรงที่แคบลง หรือเสนเอ็นและเยื่อหุมที่อยูภายในหนาตัวขึน้
Trigger finger หรือ นิ้วล็อก เกิดจากการหนาตัวของเสนเอ็นกลามเนื้อทีค่ วบคุมการงอนิ้วมือกับ
เยื้อหุมเสนเอ็น ทําใหชองที่ใหเสนเอ็นผานขณะงอหรือเหยียดนิ้วแคบลง
ทั้ง Carpal tunnel syndrome และ Trigger finger เกิดจากการหนาตัวของเสนเอ็นและพังผืด
สาเหตุไมทราบแนชัด พบในเพศหญิงมากกวาเพศชาย สัมพันธกับการใชงานขอมือหรือนิ้วมากเกิน

อาการและอาการแสดงทางคลินิก
Carpal tunnel syndrome มีอาการชา เหมือนมีเข็มทิ่ม (tingling) แสบรอนที่นิ้วมือทั้งหา
โดยเฉพาะนิ้วชี้และนิ้วกลาง บางรายอาจไมสามารถกํามือได และอาจปวดทั้งแขนจน ถึงหัวไหล หรือมือ
บวม อาการมักจะเปนมากตอนกลางคืน ซึ่งความรุนแรงแตกตางกันไปในผูป วยแตละราย
Trigger finger มีอาการเหยียดนิ้ว หรืองอนิ้วไมสะดวก เหมือนนิ้วถูกล็อก และอาจมีอาการอื่น ๆ
เชน ปวดบริเวณฝามือ บวม มีเสียงและปวดเวลาเคลื่อนไหวขอนิ้ว
การวินิจฉัย Carpal tunnel syndrome และTrigger finger สามารถวินิจฉัยไดจากอาการและ
อาการแสดง

มุมมองตอโรคในศาสตรการแพทยแผนจีน
ศาสตรการแพทยแผนจีนจัดกลุมอาการดังกลาวอยูในกลุม เอ็นขัดคลอง หรือ จินป
(JinBi: 筋痹) ของขอมือหรือนิ้ว สาเหตุเกิดจาก ชี่และเลือดบริเวณขอมือติดขัด จากการใช
งานมากหรือบาดเจ็บ

การรักษา
1. การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
หลักการรักษา: กระตุนใหเสนเอ็นทํางานคลอง และใหจงิ ลั่วไหลเวียนดี ลดบวมระงับปวด
จุดหลัก: เลือกจุดใกลและจุดอาซื่อ เนื่องจากจุดอาซื่อมักจะเปนจุดที่มีกลามเนื้อบางการปกเข็ม
ใหปกตื้น กระตุนเข็มแบบบํารุงระบายเทากัน
- Carpal tunnel syndrome ใชจุด DaLing (PC 7), BaXie (EX-UE9), NeiGuan (PC 6),
WaiGaun (TE 5)
- Trigger finger ใชจุด อาซื่อ
Page 60

การฝงเข็มจากการศึกษาทางคลินิก
การวิจัยรักษา Carpal tunnel syndrome โดยใชเข็มอุนในผูปวย 92 ราย โดยผูปวย 46 ราย เลือก
จุด DaLing (PC 7), NeiGuan (PC 6) และโกฐจุฬาลัมพาเม็ด 3 เม็ด ผูป วยอีก 46 รายใชจุดเดียวกัน แต
ไมใชโกฐจุฬาลัมพา ผลการรักษาดวยการใชเข็มอุน ผูปวยอาการดีขึ้น 91.3% กลุมไมใชเข็มอุน ดีขึ้น 71.7%
P<0.05 สรุปการใชเข็มอุนสามารถอบอุน ลมปราณสลายความเย็น แกปวดขจัดการคั่ง

ขอสังเกตและคําแนะนํา
1. การรักษาดวยการฝงเข็มไดผลคอนขางดี
2. ระหวางการรักษา ควรดูแลบริเวณที่มีอาการใหอบอุน ไมควรกระทบความเย็น

รูปที่ 12 แสดงจุดฝงเข็มรักษานิ้วล็อค
Page 61

ปวดหลัง
(Back Pain: 腰痛)
อาการปวดหลัง เปนอาการที่พบมากที่สุดในผูป วยโรคกระดูกและขอ แผนกผูปวยนอกบางแหง
อาจมีถึงรอยละ 40 ของผูปวยโรคกระดูกและขอ อาการปวดหลังอาจเปนเล็กนอย แลวหายเองได แตมบี าง
รายที่ตองผาตัด
ขอสันหลังเปนขอที่รับน้ําหนัก การเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังเกิดที่ขอขางสันหลัง ( Posterior
facet joint ) ซึ่งเปนขอชนิดมีเยื่อบุขอ และการเคลื่อนไหวที่หมอนรองกระดูกสันหลัง ไขสันหลังสิน้ สุดที่
กระดูกสันหลังระดับบั้นเอวขอที่ 2 ดังนั้นพยาธิสภาพที่เกิดในชองไขสันหลังในระดับบั้นเอวลาง ๆ ที่ต่ําลง
มา จึงมีเฉพาะประสาทสันหลัง (spinal nerve) ที่แยกออกมาจากไขสันหลัง (spinal cord) แลวเทานัน้ ที่
จะถูกกด
ใยประสาทที่ใหความรูสึกเจ็บปวดบริเวณหลังจะอยูในเอ็นยึดขอ เอ็นหุมขอของขอขางกระดูกสัน
หลัง เยื่อหุมกระดูกบริเวณทีเ่ อ็นเกาะอยู และใยประสาทในหลอดเลือดที่อยูใ นสวนนอก ๆ ของหมอนรอง
กระดูก ดังนั้น อาการปวดหลังจึงเกิดขึ้นไดหลายกรณี สาเหตุแรกเกิดจากตัวหมอนกระดูกสันหลังโปงนูน
ออกมากด สาเหตุการกดอื่น ๆ ไดแก ขอสันหลังเสื่อมมีกระดูกสรางใหมเปนสันรอบขอ (spur) ถาหมอน
กระดูกสันหลังเปนตนเหตุ จะถูกกดมากในทายกของหนัก หรือในทากมหลังมาก ๆ หรือในทานั่งก็จะเปน
การเพิ่มแรงกดที่หมอนกระดูกสันหลังเชนกัน

สาเหตุของการปวดหลังที่พบบอย ค
1. สาเหตุจากการผิดทา หรือผิดรูปทางกลศาสตร
1.1 หมอนกระดูกสันหลังโปงนูน
1.2 ขอขางสันหลังเสื่อม
1.3 ชองไขสันหลังตีบ
1.4 ขอสันหลังเสื่อม
Page 62

1.5 ความผิดปกติแตกําเนิด
1.6 กระดูกออนอักเสบจากโรค Scheuermann
1.7 กระดูกสันหลังหัก
2. สาเหตุจากการอักเสบของขอสันหลัง
2.1 ขอสันหลังอักเสบยึดติด
2.2 ขออักเสบรูมาตอยด
2.3 ภาวะติดเชื้อ
3. สาเหตุเนื่องจากเนื้องอก
3.1 เนื้องอกที่กระดูก
3.2 เนื้องอกในไขสันหลัง
4. สาเหตุจากตอมไรทอ
4.1 กระดูกบาง
4.2 กระดูกตายจากการขาดเลือด
5. สาเหตุอื่นๆ
5.1 การอักเสบในชองเชิงกราน
5.2 สาเหตุเกิดจากอิริยาบถที่ผิด

การวิเคราะหแยกกลุมอาการโรค
อาศัยประวัติ การตรวจรางกาย และการตรวจพิเศษทางหองปฏิบัติการ จากประวัตใิ นพวกที่มี
ความผิดปกติของกระดูกสันหลัง เชน กระดูกสันหลังไมตรง แอนเกินไป หรือหลังคอมเกินไป ผูปวยพวกนี้
จะมีอาการปวดเวลาเคลื่อนไหว ถาไดพักจะทุเลา
พวกที่มีขอสันหลังอักเสบ แมพักก็จะไมทเุ ลา ในรายที่การอักเสบลุกลามจนมีอาการบวมในสวนที่
เปนโรค การเคลื่อนไหวหลังก็จะมีอาการเจ็บปวดเพิ่มขึ้น พวกที่กระดูกสันหลังอักเสบอาจเปนสาเหตุใหเกิด
อาการหลังแข็งตรงบริเวณบั้นเอว
พวกที่เปนเนื้องอกของกระดูกสันหลัง หรือจากตอมไรทอทีม่ ีความผิดปกติ อาการ
ปวดในกระดูกก็จะพบได โดยเฉพาะเวลานอนพักยิ่งปวดมากขึ้น และจะปวดตลอดเวลาเมื่อเคลื่อนไหว
กระดูกสันหลัง บางครั้งจะเห็นอาการกระดูกสันหลังของผูป วยคด (scoliosis) ทั้งนี้เปนเพราะกลามเนื้อหลัง
หดเกร็งตัว การที่กระดูกสันหลังคด ทําใหการหดเกร็งของกลามเนื้อไมสมดุล จึงทําใหขาสั้นยาวไมเทากัน
พวกที่มีขอสันหลังเสื่อม จะเคลื่อนไหวไมไดเต็มที่ โดยเฉพาะทาเอียงตัวไปซายหรือขวา ในโรคขอ
สันหลังอักเสบยึดติด จะเอียงตัวไปดานซายหรือขวาไมไดเลย
Page 63

การตรวจกระดูกสันหลัง จําเปนตองตรวจหาอาการกดทับประสาทสันหลังดวย เชน การดึงตัวของ


ประสาทขาทางดานหลัง (Sciatic nerve) พวกนี้ถากมตัวจะปวดราวลงไปตามขาทางดานหลัง และยิ่งถาไอ
หรือจามก็จะปวดหลังมาก มีอาการปวดราวแปลบไปตามแนวดานหลังขาทีป่ ระสาทผานไป
การตรวจภาพรังสี
ในโรคปวดหลัง โดยทั่วไป เงากระดูกสันหลังจะปกติในพวกที่มีสาเหตุจากกลศาสตรของสันหลังที่
เสียไป แมในพวกที่มกี ารเสื่อมของหมอนกระดูกสันหลัง ก็อาจไมพบความผิด ปกติในภาพรังสีไดสูง
กระดูกสันหลังบาง ถาเปนนอยจะมองไมเห็นความจางในเงารังสีกระดูก
การตรวจพิเศษโดยวิธีฉีดสารทึบรังสีเขาชองไขสันหลัง หรือทํา MRI เพื่อหาตําแหนงการกดราก
ประสาทสันหลัง จะใชในรายที่มีอาการมาก
อาการปวดหลังบางครั้งเกิดจากเนื้องอกประสาท การวินจิ ฉัยลําบาก แตมกั มีอาการรบกวนของ
ระบบขับถายปสสาวะ และ/หรืออุจจาระรวมดวย

หลักการรักษา
แนะนําวิธีบริหารกลามเนื้อหลัง ซึ่งเปนขอปฏิบัตสิ ําคัญมากสําหรับผูป วดหลัง ตองทําเปนอันดับ
แรกเพราะเปนทัง้ การปองกันและรักษา ในรายที่มีอาการปวดมากตองนอนพัก อาจตองรักษาโดย
กายภาพบําบัด เชน การดึงถวงหลัง การนวด หรือการรักษาอื่น ๆ รวมทั้งการ
ใชเครื่องพยุงหลังและในที่สุดอาจตองผาตัด

มุมมองตอโรคในศาสตรการแพทยแผนจีน
ปวดหลังบัน้ เอว อาจปวดขางเดียวหรือสองขางก็ได มีความสัมพันธอยางใกลชิด
ระหวางแนวกลางกระดูกสันหลัง และบริเวณดานขางทั้งสองขาง โดยเฉพาะเวลามีอาการปวดจะเกิดขึ้นใน
บริเวณดังกลาวจึงมีชื่อเรียกวา Lumbospinal pain โดยทัว่ ไปมักเรียก Lumbago หรือ TCM เรียกอาการนี้
วา Yao Tong บริเวณบั้นเอวเปนที่อยูของไต ดังนัน้ อาการปวดบั้นเอวจึงสัมพันธกับไต อาการอาจเปนแบบ
เฉียบพลัน หรือเรื้อรังก็ได

สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
1. ความเย็นชื้น เปนสาเหตุที่พบบอย เชน อาจเกิดจากอยูกลางสายฝนเปนเวลา นาน นั่งในทีช่ ื้น
แฉะ ถูกลมโกรกใบหนาขณะที่มเี หงื่อออก สวมใสเสื้อผาที่เปยกชืน้ ทํางานในที่ชนื้ เย็น ชอบนอนบนพืน้ ปูน
นําไปสูอาการปวดหลังแบบความเย็นชืน้ เนื่องจากทําใหเกิดชี่ติดขัดและเลือดคั่งในเสนลมปราณ แตหาก
ความเย็นและชื้นสะสมอยูเ ปนเวลานาน จะแปรสภาพเปนรอน เกิดอาการปวดเอวแบบรอนชืน้
Page 64

2. ชี่ติดขัดและเลือดคั่ง สาเหตุจากไดรับบาดเจ็บ บริเวณเสนลมปราณ และกลาม เนื้อที่บั้นเอว


ทําใหการไหลเวียนของชี่และเลือดบริเวณดังกลาวถูกรบกวนติดขัด เชน ไดรับอุบัติเหตุจากตกที่สูงหรือถูก
กระแทก ใชงานบั้นเอวหนักมากเกินไป หรือเคลื่อนไหวผิดทาผิดจังหวะ เปนตน
3. ไตพรอง สาเหตุจากรางกายออนแอแตกําเนิด เจ็บปวยเรื้อรัง คนสูงอายุ หรือมีกามกิจมาก
เกินไป ทําใหสารจําเปนของไตพรอง และมีผลตอภาวะขาดสารอาหารในกลาม เนื้อ รวมทั้งเสนลมปราณ
4. ความผิดปกติในเสนลมปราณทีเ่ กีย่ วของกับไต โดยปกติ เมื่อชี่กอโรคจากภายนอกรุกราน
รางกาย จะกอใหเกิดความผิดปกติบริเวณผิวนอกรางกายบางสวน ซึ่งมีเสนลมปราณผาน และเชื่อมตอกับ
เสนลมปราณไต และ/หรือผานแนวกระดูกไขสันหลัง ความ ผิดปกติของกระดูกสันหลังและไต นอกจากเกิด
อาการปวดหลังแลว ยังมีอาการผิดปกติของอวัยวะภายใน รวมทั้งเนื้อเยื่อที่สัมพันธตามแตเสนลมปราณที่
ผิดปกติ อาการและอาการแสดงของเสนลมปราณที่ผิดปกติ มีสวนสําคัญอยางมากในการวินจิ ฉัยและ
รักษาโรค เสนลมปราณทีเ่ กีย่ วกับการปวดบั้นเอว ไดแก
4.1 เสนลมปราณตู แขนงของเสนตูวิ่งผานเสนไตเขาสูไขสันหลัง แลวออกมาเขาไต
อีกแขนงหนึ่งวิ่งลงไปบริเวณบั้นเอวทั้งสองขางของแนวไขสันหลัง แลววิ่งเขาสูไต ดังนัน้ เมื่อมีชี่กอโรคกระทํา
ตอเสนลมปราณตู อาจทําใหเกิดอาการปวดหลังบั้นเอว หลังแข็ง เนื่องจากมีการอุดกั้นชี่ในเสนลมปราณ
4.2 เสนลมปราณเญิ่น เสนลมปราณเญิ่นและชง มีจุดกําเนิดที่มดลูก แขนงหนึง่ ของเสนเญิน่ วิ่ง
ไปดานหลังเขาสูเสนไตและวิ่งตอตามแนวไขสันหลัง เสนเญิ่นเปนทะเลของอิน และควบคุมอินของรางกาย
ทั้งหมด เมื่อใดก็ตามที่การไหลเวียนชี่ในเสนเญิ่นผิดปกติ จะทําใหเกิดไสเลื่อนในชาย หรือกอนบริเวณ
ทองนอยในหญิง รวมกับอาการปวดบัน้ เอว
4.3 เสนลมปราณชง เหมือนกับเสนลมปราณตูและเญิน่ ที่มีจดุ กําเนิดจากมดลูก เสนชงมายวิ่ง
ขึ้นบนตามแนวดานในของไขสันหลัง เสนชงมายเปนทะเลของเสนลมปราณหลัก 12 เสน และเปนทะเลแหง
เลือด เพราะมีจดุ กําเนิดดังกลาวขางตน เมื่อมีพยาธิสภาพตอเสนชง จึงมีอาการปวดหลังอยางเฉียบพลัน
จากชี่ตกี ลับ
4.4 เสนลมปราณไต วิ่งรอบบั้นเอวและทองนอยเหมือนเข็มขัด มีหนาทีเ่ ชื่อมเสนลมปราณอินขา
3 เสนและเสนลมปราณหยางขา 3 เสน แพทยจีนโบราณกลาววา “ความผิด ปกติในเสนลมปราณตาย
ผูปวยจะมีอาการทองตึงแนนและรูสกึ วาบั้นเอวจมอยูในน้าํ ” เมื่อเสนลมปราณตายมีพยาธิสภาพ เทาจะ
ออนแรง มีปญหาดานสูตินรีเวช เชน ประจําเดือนมาไมแนนอน ตกขาวมาก เปนตน รวมกับปวดบัน้ เอว
4.5 เสนลมปราณไต เริ่มจากดานในนิ้วกอยของเทา วิง่ เฉียงไปยังฝาเทา ขึน้ บนไปดานหลังใน
ของขาและตนขา แลวผานไปตามแนวไขสันหลังเขาสูไต และมีแขนงเชื่อมตอกับกระเพาะปสสาวะ ถามีชี่
กอโรครุกรานเสนลมปราณไต จะมีอาการปวดบั้นเอว และปวดเย็น ๆ บริเวณดานหลังในของตนขา
4.6 เสนลมปราณกระเพาะปสสาวะ เปนเสนลมปราณที่กอใหเกิดอาการปวดบริเวณเอว หลัง
และดานหลังนอกของขาเปนหลัก เสนกระเพาะปสสาวะเริ่มจากดานในของเบาตา วิ่งเขาและเชื่อมตอกับ
Page 65

สมองบริเวณกระหมอม วิ่งตอเขาดานในแตกเปนสองแขนง วิ่งขนานลงตามแนวกระดูกสันหลัง ผานหลัง


คอ ดานในขอบสะบัก เชื่อมกับไตและกระเพาะปสสาวะ ถาเสนลมปราณนี้มีพยาธิสภาพ ผูปวยจะมีอาการ
ปวดหนัก ๆ ที่ศีรษะ ปวดเบาตาเหมือนนัยนตาจะถลนออก คอแข็ง ปวดหลังประหนึ่งบัน้ เอวขาดสะบัน้ ตน
ขาและขอพับเขาจะแข็งเกร็ง รูสึกเหมือนกลามเนื้อบริเวณ Fibula ฉีกแยก

การวินิจฉัยแยกกลุมอาการของโรค
1. จากความเย็นชื้น ผูปวยจะรูสึกปวดเอวหนัก ๆ กลามเนื้อเกร็งแข็งเหมือนไมกระดาน และ
เปนมานานไมหาย อาการปวดหนักไมรุนแรง แตรูสึกหนักมากกวา บิดเอวลําบาก อาจมีปวดขา อาการเลว
ลงในวันที่มีฝนตกและอากาศเย็น รวมกับมีประวัติดังกลาวขางตน ลิ้น มีฝา ถาความเย็นเดนฝาขาว
ความชื้นเดนฝาเหนียว หรืออาจขาวเหนียว ชีพจร จม-ชา (Chen-ChiMai)
จากความรอนชื้น ผูปวยมีอาการปวดเอว รูสึกอุนบริเวณที่ปวด อาการเลวลงในหนารอนหรือมี
ฝนตก อาการจะทุเลาถามีการเคลื่อนไหวบั้นเอว ลิ้นมีฝาเหลืองเหนียว ชีพจรลื่น-เร็ว (Hua-ShuMai)
2. จากชีต่ ิดขัดและเลือดคั่ง ปวดเอวเวลาบิดเอวไปมา กมหรือเงยหลังจะรูสึกตึงหลัง ถาอาการ
รุนแรงจะบิดเอวซาย-ขวาลําบาก ปฏิเสธการกดบริเวณบัน้ เอว บางครั้งจามหรือไอจะปวดมากขึ้นได อาจมี
อาการปวดอยูกับทีเ่ หมือนเข็มทิ่มแทง รวมกับมีประวัติดงั กลาวขางตน ลิ้นคล้ําออกมวง ชีพจร ตึง-ฝด
(Xian-SeMai)
3. ไตพรอง ปวดเมื่อยลาบริเวณเอวไมปวดมาก ขาออนแรงรวมดวยเสมอ ถาทํางานมาก พักผอน
ไมพอจะปวดหลังมากขึน้ การอยูในอิริยาบถนั่ง เดิน ยืน นอน ในทาใดทาหนึ่ง
นานหรือมากเกินไป จะปวดหลังมากขึ้นได รวมกับมีประวัติดังกลาวขางตน
ถารวมกับมีอาการออนเพลีย แขนขาเย็น อสุจหิ ลั่ง เสือ่ มสมรรถภาพทางเพศ เมื่อกดนวดหรือ
พักผอน อาการจะดีขึ้น แตทํางานหนักอาการจะมากขึ้น รูสึกเกร็งทองนอย หนาซีดขาว ลิ้นซีด ชีพจรเล็ก
จม จัดเปน ไตหยางพรอง แตถามีอาการหงุดหงิดงาย นอนไมหลับ ปากคอแหง โหนกแกมแดง มีอาการ
รอนฝามือฝาเทา ปสสาวะเหลือง ลิ้นแดง ชีพจรเล็กเร็ว เปนไตอินพรอง
4. ความผิดปกติของเสนลมปราณที่เกีย่ วของกับไต
4.1 เสนลมปราณตู เอวแข็งและปวดโดยเฉพาะแนวกระดูกสันหลังระดับเอว ไมสามารถกมหรือ
เงยหลังได
4.2 เสนลมปราณเญิ่น ปวดเอวรวมกับกลามเนื้อเกร็ง ปวดทองนอย ตกขาวมากในผูปวยหญิง
ปสสาวะราดและปวดเหมือนเข็มทิ่มแทงบริเวณฝเย็บ
4.3 เสนลมปราณชง ปวดเอวและทองนอย ในผูปวยหญิงประจําเดือนผิดปกติและปวดระหวางมี
ประจําเดือน
Page 66

4.4 เสนลมปราณไต ปวดเอว ฝเย็บและดานในของตนขา ขาออนแรง ทองอืดและแนนตึง ตกขาว


ออกแดง
4.5 เสนลมปราณไต ปวดเอว เย็นเทาและออนแรง หรือปวดดานหลังในของตนขาและขอพับเขา
รวมกับปวดบริเวณฝาเทา ปากคอแหง
4.6 เสนลมปราณกระเพาะปสสาวะ ปวดหลังและบริเวณเอว ประหนึ่งบั้นเอวขาดสะบั้น รวมกับ
ปวดเย็นและชาบริเวณขาสวนลางประหนึง่ ขอเทาหลุดหรือเคลื่อน

หลักการรักษา
1. ความเย็นชื้น ขับความเย็น สลายความชืน้ ทะลวงและอุนเสนลมปราณ
ความรอนชื้น ขจัดรอน สลายความชืน้ คลายกลามเนือ้ และเอ็นเพื่อระงับปวด
2. ชี่ติดขัดและเลือดคั่ง กระตุนเลือดใหไหลเวียน เพื่อสลายเลือดคั่ง ปรับการไหล เวียนของชีเ่ พื่อ
ระงับปวด
3. ไตพรอง บํารุงไตเพื่อเสริมความแข็งแรงใหบนั้ เอว เปนหลักการทั่วไป กรณีไต หยางพรอง
บํารุงไตหยาง เพื่อเสริมความแข็งแรงใหบั้นเอว กรณีไตอินพรอง เลี้ยงบํารุงไตอินใหสมบูรณ
4. ความผิดปกติของเสนลมปราณที่เกี่ยวของกับไต ทะลวงเสนลมปราณ ปรับการไหลเวียน
ของจิงชี่ บริเวณบัน้ เอว และระงับปวด

การรักษา
1. การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
1.1 สาเหตุจาก 1 - 3
จุดหลัก: สาเหตุจาก 1 - 3 ใชจุดหลักเหมือนกัน คือ
- ShenShu (BL 23), DaChangShu (BL 25), YaoYan (EX-B 7),
WeiZhong (BL 40) และจุด Ashi ถามี
- ถาปวดกระเบนเหน็บเพิ่ม YaoYangGuan (GV 3)
จุดเสริม:
- กรณีความเย็นชื้น เพิ่มรมยาหรือเข็มอุนทีจ่ ุด DaZhui (GV 14);
- รอนชื้น เพิ่ม YinLingQuan (SP 9), FeiYang (BL 58)
- ชี่ติดขัดและเลือดคั่ง: GeShu (BL 17), XueHai (SP 10), SanYinJiao (SP 6)
- ไตหยางพรอง: QiHai (CV 6), GuanYuan (CV 4), MingMen (GV 4
- ไตอินพรอง: TaiXi (KI 3), ZhaoHai (KI 6) หรือ FuLiu (KI 7)
Page 67

อธิบาย: ความเย็นชื้น ใชเข็มอุน หรือรมยาบริเวณที่ฝงเข็ม ShenShu (BL 23), YaoYangGuan


(GV 3) ใชเข็มอุน ขับความเย็นและชืน้ จุดใกล DaChangShu (BL 25) , YaoYan ( EX-B 7) และจุดไกล
WeiZhong (BL 40) ใชทะลวงเสนลมปราณระงับปวด
ความรอนชื้น ใหปกเข็มตามดวยครอบกระปุก ShenShu (BL 23) ใชปรับและเลีย้ งบํารุงชี่ไต
รวมทั้งขับรอนชืน้ บริเวณเอว ดวยวิธีปกเข็มแบบระบาย DaChangShu (BL 25), YaoYangGuan (GV 3)
ใชปรับจิงชี่ เฉพาะที่เพื่อลดปวด YinLingQuan (SP 9) ปกแบบระบายเพื่อสลายความชื้น จะชวยขับรอน
ชื้นบริเวณเอว การปกจุดเหลานี้จะชวยใหกลามเนื้อ และเอ็นผอนคลาย
ชี่ติดขัดเลือดคั่ง ShenShu (BL 23 ) ใชบํารุงชี่ไต DaChangShu (BL 25), Ashi ใชทะลวงเสน
ลมปราณ, ปรับการไหลเวียนของชี่และเลือดเพื่อลดปวด WeiZhong (BL 40), GeShu (BL 17) ปลอยเลือด
เพื่อกระตุนใหเลือดไหลเวียน และทะลวงเสนลมปราณ สลายเลือดคั่ง ระงับปวด
สวนกรณี ไตพรอง ใชรมยาคั่นขิงบริเวณบั้นเอวซึง่ เปนที่อยูของไต ShenShu (BL 23) ใชบํารุงไต
และเสริมความแข็งแรงใหบั้นเอว; QiHai (CV 6), GuanYuan (CV 4) เสริมไตและเลี้ยงบํารุงเหยียนชี;่
MingMen (GV 4) เปนจุด Shu ของเสนลมปราณตูและเปนไฟแหงชีวิตของไตหยาง จึงใชอุนไตและเสริม
บํารุงเหยียนชี;่ TaiXi (KI 3) เปนจุด Shu ของเสนลมปราณไต ใชบํารุงไตน้ํา เชนเดียวกับ ZhaoHai (KI 6),
FuLiu (KI 7) ใชบํารุงไต; DaChangShu (BL 25) เปนจุดใกล; WeiZhong (BL 40) เปนจุดไกล ใชทะลวง
เสนลมปราณระงับปวด

1.2 สาเหตุจากความผิดปกติในเสนลมปราณที่เกี่ยวของกับไต
1.2.1 เสนลมปราณตู: จุดใกลใช YaoYangGuan (GV 3), Ashi point;
จุดไกลใช HouXi (SI 3), WeiZhong (BL 40), RenZhong (GV 26)
อธิบาย:- RenZhong (GV 26) เปนจุดบนเสนตูมายที่วิ่งตามแนวดานในของไขสันหลัง HouXi (SI
3) เปนจุดบนเสนลมปราณลําไสเล็กเชื่อมตอกับเสนลมปราณตู การปกเข็มแบบระบายทั้งสองจุด จะชวย
ทะลวงจิงชี่ของเสนลมปราณทัง้ สองเสน ทําใหการทํางานบริเวณเอวดีขึ้น
- WeiZhong (BL 40) เปนจุดไกลใชรักษาอาการปวดเอว YaoYangGuan (GV 3) Ashi point ปก
เข็มแบบระบายจะชวยปรับการไหลเวียนของจิงชี่รอบ ๆ เอว จุดทั้งหมดชวยทะลวงเสนลมปราณบริเวณบั้น
เอวและระงับปวด ทําใหการทํางานบริเวณเอวดีขนึ้
1.2.2 เสนเญิ่นมาย จุดใกล ShenShu (BL 23), DaChangShu (BL 25)
จุดไกล GuanYuan (CV 4), LieQue ( LU 7 )
อธิบาย:- ShenShu (BL 23), DaChangShu (BL 25) ใชบํารุงไตเพื่อเสริมความแข็งแรงใหกับเอว
สวนจุดอื่นไดแก GuanYuan (CV 4) เปนจุดประตูผานของเหยียนชี่ เมื่อปกเข็มรวมกับรมยาจะชวยบํารุงเห
ยียนชี่ใหแข็งแรง และชวยบํารุงไต เสริมความแข็งแรงใหกับบั้นเอว เปนการ “รักษาหยาง โดยบํารุงอิน”
Page 68

LieQue (LU 7) เปนจุดเชื่อมตอกับเสนลมปราณเญิน่ จุดนี้ชวยปรับการไหลของชี่ในเสนเญิ่นมายและ


ทะลวงเสนลมปราณลดอาการปวด
1.2.3 เสนลมปราณชง จุดใกล ShenShu (BL 23), YaoYan (EX-B 7)
จุดไกล QiHai (CV 6) , GongSun (SP 4)
อธิบาย:- ShenShu (BL 23) เสริมความแข็งแรงใหกบั ไตและบั้นเอว QiHai (CV 6) เลี้ยงบํารุงชี่
และเสริมไต YaoYan ( EX-B 7) เปนจุดใกล ใชทะลวงและปรับการไหลเวียนของชีใ่ หผานบั้นเอว รวมกับ
GongSun (SP 4) ชวยปรับการทํางานของของเสนลมปราณชง จุดทั้งหมดจะชวยเสริมไตทํางานดีขนึ้ และ
ทําใหกลามเนื้อกลับมาทํางานไดปกติ
1.2.4 เสนลมปราณไต จุดใกล ShenShu (BL 23) , DaChangShu (BL 25)
จุดไกล DaiMai (GB 26), ZuLinQi (GB 41)
อธิบาย:- ShenShu (BL 23) เสริมความแข็งแรงใหกับไตและเอว DaChangShu (BL 25) ชวยให
การไหลเวียนของชี่บริเวณเอวไหลคลองขึ้น DaiMai (GB 26) ควบคุมการทํางานของเอวและชองทอง
ZuLinQi (GB 41) ทะลวงเสนลมปราณตาย จุดทั้งหมดชวยใหเสนลมปราณตายกลับมาทําหนาที่ และยัง
บํารุงไตเสริมความแข็งแรงบั้นเอว
1.2.5 เสนลมปราณไต จุดใกล ShenShu (BL 23), DaChangShu (BL 25), MingMem (GV 4)
จุดไกล GuanYuan (CV 4) , TaiXi (KI 3) , FuLiu (KI 7)
อธิบาย:- เอวเปนที่อยูของไต การเลือกเสนลมปราณไตเพื่อบํารุงชี่ไต DaChangShu (BL 25),
MingMem (GV 4) ใชอุนไตและชวยคลายกลามเนื้อรวมทั้งเอ็น GuanYuan (CV4) ใชเลี้ยงบํารุงเหยียนชี่
และเสริมความแข็งแรงของรางกาย TaiXi (KI 3), FuLiu (KI 7) ใชบํารุงไตอิน จุดทั้งหมดชวยบํารุงไต และ
เลี้ยงบํารุงสารจําเปน เพื่อเสริมความแข็งแรงใหกับบัน้ เอว
1.2.6 เสนลมปราณกระเพาะปสสาวะ
จุดใกล YaoYangGuan (GV 3), DaChangShu (BL 25)
จุดไกล YinMen (BL 37), KunLun (BL 60), WeiZhong (BL 40)
อธิบาย:- YaoYangGuan (GV 3), DaChangShu (BL 25) ใชรวมกันจะกระตุน การไหลเวียน
ของชี่ในเสนลมปราณตูและเสนลมปราณกระเพาะปสสาวะ YinMen (BL 37), KunLun (BL 60) เปนจุด
ไกล ใชทะลวงเสนลมปราณที่ติดขัดและระงับปวด เปนจุด He บนเสนกระเพาะปสสาวะ จึงใชทะลวงเสน
ลมปราณและคลายกลามเนื้อรวมทั้งเอ็น ระงับปวด
ภาวะไตพรองเปนจุดกําเนิดของอาการปวดหลัง โดยมีเสียชีจ่ ากภายนอกหรือการไดรับอุบัตเิ หตุ
เปนปจจัยเสริม ดังนัน้ การรักษาอาการปวดหลัง จึงตองมีจุดเสริมบํารุงไตเพื่อสรางความแข็งแรงใหกับบั้น
เอวดวย และยังชวยเพิ่มภูมิตานทานใหกับรางกายเพื่อขจัดเสียชี่ออกไป นอกจากนี้อาการปวดหลังบัน้ เอว
Page 69

อาจเปนลักษณะผสมระหวางพรองและแกรง ดังนัน้ การรักษาจีงควรรักษาทั้งเปยวและเปน ( Biao and


Ben ) ไปพรอม ๆ กัน

ระยะเวลาฝงเข็ม
การฝงเข็ม 10 ครั้งนับเปน 1 รอบการรักษา ปกวันเวนวัน หรือทุกวันถามีอาการปวดมาก อาการ
ดีขึ้นปกหางได หยุดพักระหวางระยะการรักษา 3 - 5 วัน ควรแนะนําผูปวยปรับเปลี่ยนวิถีและการใชชีวติ
ใหถกู ตอง เพื่อเปนการรักษาและปองกันอาการปวดหลังในอนาคต อาจใชรมยา สอง TDP เจาะปลอย
เลือด เครื่องกระตุน เข็ม หรือ Moving cupping รวมตามความเหมาะสมเปนราย ๆ ไป
หมายเหตุ
1. กรณีฉุกเฉินเรงดวน ใหปก เข็มระงับปวดกอน คอยหาสาเหตุ และรักษาในภายหลัง ดังนี้
- ผูปวยมีประวัตยิ กของหนักมากอน แลวมีอาการปวดหลังเฉียบพลันอยางมากจนนั่ง หรือยืน
เดินไมได หลังแข็งใหใชจุด RenZhong (GV 26) กระทุงจนผูปวยสะดุง โนมตัวลุกจากที่นั่ง แลวใหผูปวย
นั่ง ยืน หลาย ๆ ครั้ง ตอไปใหลองเดิน และบิดลําตัวไปมาจนคลองขึ้น วิธนี ี้เปนเกิน 3 วันไมคอยไดผล กอน
ใชตองแยกสาเหตุปวดหลังอื่น ๆ ออกกอน โดยเฉพาะหมอนกระดูกสันหลังโปงนูน
- ถาผูปวยมีประวัติปวดหลังเปน ๆ หาย ๆ มานาน แลวเกิดปวดหลังเฉียบพลัน กมหรือเงยหลัง
ลําบาก ผูปวยยังพอเดินไปมาได ใชจุด WeiZhong (BL 40) หรือหลอดเลือดดําที่ขอด เจาะปลอยเลือดทั้ง
สองขาง ในทายืนเขยงเทา มือยันโตะหรือกําแพง ใหเลือดไหลออกจนหยุดเอง หลังจากนัน้ ใหกมเงย บิดเอว
ไปมาจนคลอง
- ปวดกึ่งกลางหลัง แนวเสนเอ็นยึดขอตอกระดูกสันหลัง เรียกบริเวณที่กดเจ็บวา JiZhong คนละ
ความหมายกับจุด JiZhong (GV 6) มักเปนขอเดียว ใหผูปวยนอนคว่ําใชหมอนหนุนทอง เพื่อเปดชอง
ระหวางกระดูกสันหลังใหกวางขึน้ ใชเข็ม 1.5 ชุน ปกลึก 1 ชุน จนความรูสึกเข็มกระจายรอบ ๆ ถาไมเกิด
ใหปกเข็มเพิ่มอีก 2 เลม ชี้เขาหาจุดเดิม ถาหากไมมีความรูสึกอีก ใหใชเครื่องหรือมือกระตุน จนคนไขรอน
ผาวจึงหยุดกระตุน
2. การฝงเข็มที่กลาวมาทั้งหมด เหมาะสําหรับอาการปวดหลังที่เกิดจากกลามเนื้อ
และเอ็นบริเวณเอวเปนสวนใหญ หากเกิดจากกระดูก จะใชจุดฝงเข็มแบบอืน่ ๆ เชน JiaJi (EX-B 2) ซึ่งจะ
กลาวในหัวขอตอไป
3. ผูสูงอายุ ถาฝงเข็มแลวไมไดผล ในผูปวยชายตองคิดถึงปญหาตอมลูกหมากโต
สวนผูปวยหญิงอาจมีปญ  หาอุงเชิงกรานอักเสบ ควรเพิ่มจุด BaLiao โดยเลือกจุดเปนคู ๆ ปก 2 ตําแหนง
ระดับ S 1 - S 3 หรือ S 2 - S 4ปกทั้งสองขาง
4. การใชเครื่องกระตุน เข็มไฟฟา ควรใชความถี่ต่ํา ความแรงที่ผูปวยทนได เพราะอาจทําให
กลามเนื้อเกร็งปวดมากขึ้น
Page 70

5. ถาหากผูปวยกลัวเข็ม อาจพิจารณาใชครอบกระปุกแทนได ผูปวยที่ฝง เข็มไดอาจใช Moving


Cupping เสริม
6. ผูที่ผาตัดหลังมาแลว ยังมีอาการปวดหลัง สามารถฝงเข็มและรมยาไดเชนกัน
7. ผูปวยเปนเนื้องอก หรือวัณโรคกระดูกสันหลัง การฝงเข็มและรมยาควรงด หญิงที่มี
ประจําเดือน หรืออยูระหวางตั้งครรภ ควรหลีกเลีย่ งจุดฝงเข็มบริเวณบั้นเอวและกระเบนเหน็บ ระหวาง
รักษาผูปวยควรหลีกเลีย่ งถูกลมเย็น การใชชีวิตประจําวันใหถกู ตอง ทั้งการรับประทานอาหาร การทํางาน
การพักผอน และการออกกําลังกาย

2. การฝงเข็มตา ( Eye Acupuncture )


ใชไดทั้งอาการเฉียบพลันและเรื้อรัง ใชจุด XiaJiao และจุด KI + BL ทั้งสองขาง
วิธีการ: ใชเข็ม 0.5 ชุน ขนาด 0.3 มม. การกระตุน เข็มใชวิธีเกาเข็มเปนระยะ ๆ ทุก 10 – 15 นาที
แลวใหผูปวยเคลื่อนไหวเอว หรือบิดเอวไปมา
การฝงเข็มตา อาจใชรวมกับการฝงเข็มระบบรางกายขางตน
ตัวอยางผูป วย
ชายไทยคู อายุ 28 ป อาชีพลูกจางสงน้ําแข็ง อาการสําคัญ มีอาการปวดบัน้ เอวสองขาง ตึงหลัง
กมและเงยลําบากปกติตองยกกอนน้ําแข็งหนักเปนประจํา กอนมาพบแพทย 1 วัน ผูปวยยกน้ําแข็งผิด
จังหวะ จึงมีอาการปวดดังกลาว ตรวจรางกายใหผูปวยกมหลังจะมีอาการตีงดานหลังตนขา และกลามเนื้อ
หลังเกร็งทั้งสองขาง SLRT : negative ลิ้นบวมคล้ํา ฝาขาวบาง ชีพจรตึง ไดรับการวินิจฉัยวาเปน
Acute low back pain from sprain
การรักษา
- ShenShu (BL 23), DaChangShu (BL 25), WeiZhong (BL 40) ปกเข็มแบบระบายทั้งสองขาง
ตามดวยจุด Ashi ที่กดเจ็บ กระตุนเข็มทุก 10 นาที คาเข็ม 40 นาที ตามดวย Moving cupping บริเวณ
แผนหลังทั้งสองขาง นัดฝงเข็มทุกวัน รักษา 3 ครั้ง ผูปวยอาการทุเลาเกือบเปนปกติ
Page 71

รูปที่ 13 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดหลัง

ปวดประสาทไซแอติก
( Sciatica : 坐骨神经痛 )
ปวดประสาทไซแอติก อาจปวดบั้นเอว แลวราวไปที่ขา แบงได 2 แบบ คือ แบบปฐมภูมิ และแบบ
ทุติยภูมิ
แบบปฐมภูมิ สาเหตุเกิดจากการอักเสบของเสนประสาทไซแอติก (Imflammation of the sciatic
nerve)
Page 72

แบบทุติยภูมิ เปนผลทางออม จากการมีพยาธิสภาพทีก่ ระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอว หมอน


กระดูกสันหลัง หรือมะเร็งที่ไขกระดูกขยายตัวกดทับเสนประสาท ในทีน่ ี้กลาวถึงเฉพาะหมอนกระดูกสัน
หลังโปงนูนกดทับเสนประสาท และ ชองไขสันหลังตีบกดทับเสนประสาท

1. หมอนกระดูกสันหลังโปงนูน (Herniated or Prolapsed disc)


เปนสาเหตุที่พบมากที่สุดของโรคทีท่ ําใหเกิดอาการปวดหลังบั้นเอวและราวไปที่ขา พบในผูป วย
อายุ 15 – 60 ป สวนใหญพบที่กระดูกสันหลังระดับบัน้ เอวขอที่ 4 – 5 พยาธิสภาพอาจมีการแตกของหมอน
กระดูกสันหลังรวมดวย ซึ่งอาจเนื่องมาจากการบาดเจ็บจากการไดรับแรงกดหรือแรงกระแทก การบาดเจ็บ
เล็ก ๆ นอย ๆ บอยครั้ง อาจทําใหหมอนกระดูกสันหลังเกิดการฉีกขาดแบบคอยเปนคอยไป จากภายในเล็ด
ออกมาภายนอกขอสันหลัง ประมาณรอยละ 40 ของการโปงนูน คือ การแตกของหมอนกระดูกสันหลัง
ภายในโปงนูนออกมา และสวนที่นนู ออกมาอาจกดรากประสาททีท่ อดผานหมอนกระดูกที่แตก ซึ่งมี
ลักษณะเสื่อมอยูแลว เมื่อไดรับการกระทบกระเทือนจึงแตก และมีอาการปวดเกิดขึ้น การทีห่ มอนกระดูก
แตกโปงเขาในชองไขสันหลัง เปนเพราะเอ็นยึดขอสันหลังดานหลัง (posterior longitudinal ligament) บาง
และไมแข็งแรงเหมือนเอ็นดานหนา (anterior longitudinal ligament) หมอนกระดูกสันหลังจะถูกกดมาก
ในทากมหลัง การโปงนูนออกทางดานหนาและดานขางของตัวกระดูก พบไดนอยมาก และจะไมมีอาการ
กดรากประสาท หมอนกระดูกสันหลังเมื่อแตกแลวจะไมหายเปนปกติ และกลายเปนพังผืดทําใหเสียสภาพ
การยืดหยุน ในการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังและจะแข็งตัว ขอสันหลังอื่นจะเคลื่อนไหวมากขึ้น อาจทํา
ใหหมอนกระดูกขอใหมแตกอีก ถาผูปวยยังมีการเคลื่อนไหวเหมือนเดิมอยู

อาการและอาการแสดง
กลไกแทจริงที่ทําใหหมอนกระดูกแตก ยังไมทราบแนชัด ตําแหนงความเจ็บปวด ขึ้นกับตําแหนงที่
หมอนกระดูกแตก กระทําตอเอ็นยึดขอดานหลัง ที่มีใยประสาทรับความรูสึกเจ็บปวดอยู โดย
1) ถาแตกตรงกลางออกไปดานหลัง จะทําใหปวดกลางหลังพอดี
2) ถาแตกตรงดานขาง อาจมีความรูสึกปวดราวไปที่ขอขางกระเบนเหน็บ บางครั้งไปที่ขาหนีบดวย
ความเจ็บปวดมาจากการยืดของเอ็นยึดขอดานหลังดังกลาว
3) ผูปวยบางรายอาจปวดราวไปตามขา แตไมมีอาการปวดหลัง รากประสาทที่ถกู กดจะทําใหเกิด
ความเจ็บปวดและอักเสบบวมของรากประสาทเอง
4) ผูปวยบางรายที่มีหมอนกระดูกแตก มีอาการปวดราวไปตามประสาทไซแอติก แตไมมีการกด
รากประสาทเลย
ความเจ็บปวด อาจราวมาที่บริเวณขอสะโพก ลงไปดานขางและดานหลังของตนขา ดานขางของ
นอง ลงไปถึงขอเทา บางครัง้ ถึงสนเทา อาการปวดจะลดลงถานอนพัก และจะมากขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหว
หลัง เชน การกม เงย จามหรือไอ และพบมีอาการชาและขาไมมีแรงรวมดวยเสมอ บางรายอาจมีอาการ
Page 73

ปวดขาหนีบและอัณฑะ ถาชิ้นหมอนกระดูกใหญมาก อาจแสดงอาการกดรากประสาททั้งหมดของไขสัน


หลังระดับนัน้ ได นอกจากนี้อาจปวดที่ทวารหนัก ชาบริเวณฝเย็บ ตลอดจนกลามเนื้อหูรูดทวารหนักอาจไมมี
แรงดวย อาการปวดหลังและประสาทตนขา จะรุนแรงมากในตอนที่เริ่มมีอาการ และอาจทุเลาไปไดเอง
จากการที่รากประสาทและใยประสาทถูกกดอยูนานจนปรับตัวได
จะพบอาการเกร็งของกลามเนื้อหลังขางที่มีอาการปวดมาก หลังจะเอียงไปดานตรงขามกับความ
เจ็บปวด การทํา SLRT (straight leg rising test) ต่ํากวา 45 องศา แลวใหผลบวกแสดงวามี Sciatica
แทจริง ตั้งแต 45 – 60 องศา สงสัยอาจมีได และถาเกิน 70 องศา หรือยกแลวไมปวดราวอาจไมใชโรค
หมอนกระดูกสันหลังแตก
ในรายทีห่ มอนกระดูกสันหลังโปงนูนทีช่ องกระดูกบั้นเอวขอที่ 4 – 5 (L4 – L5) จะปวดบริเวณขอ
ขางกระเบนเหน็บและขอสะโพกลงไปถึงตนขาและขาดานขาง อาจรวมกับชาดานขางของขาและหลังเทา
ไปถึงหัวแมเทา และมักพบกลามเนื้อกระดูกหัวแมเทาออนแรง สวนการตอบสนองของเอ็นกลามเนื้อขอเทา
จะปกติ
ถาเปนระหวางกระดูกสันหลังเอวขอที่ 5 กับกระดูกใตกระเบนเหน็บขอที่ 1 (L5 – S1) จะปวดขอ
ขางกระเบนเหน็บ ขอสะโพก ดานขางตนขา ขาและสนเทา ถามีอาการชาจะชาดานขาง โดยเฉพาะแนว
นิ้วเทา 3 นิ้วดานนอก (นิ้วกลาง นิ้วนาง และนิ้วกอย) อาการออนแรงของกลามเนื้อมักตรวจไมคอยพบ หรือ
อาจมีกลามเนื้องอนิ้วเทาลงลางออนแรง การตอบ สนองของเอ็นกลามเนื้อที่ขอเทาลดความไวลงหรือไมมี
ถาหมอนกระดูกโปงออกมากจนเต็มชองไขสันหลัง จะทําใหเกิดอาการปวดหลังขาและฝเย็บ
บางครั้งขาเปนอัมพาต กลั้นปสสาวะและอุจจาระไมได

การตรวจภาพรังสี
จะเห็นแนวกระดูกสันหลังบริเวณบัน้ เอวแอนนอยลงหรือเปนแนวตรง ชองขอสันหลังแคบและมี
ขอบไมเรียบ การถายภาพรังสีเปนเพียงการแยกโรคอื่น ๆ เทานั้น เชน โรคขอสันหลังอักเสบยึดติด
(Ankylosing spondylosis) โรคมะเร็งลุกลามมาถึงกระดูกสันหลัง วัณโรคกระดูกสันหลัง กระดูกสันหลัง
ติดเชื้อ เนื้องอกไขสันหลัง โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน เปนตน
การตรวจ MRI จะชวยในการวินจิ ฉัยและบอกตําแหนงที่ผดิ ปกติไดชดั เจนแนนอน

หลักการรักษา
หลักการรักษา คือ การลดแรงกดทีเ่ อ็นยึดขอดานหลังเนื่องจากหมอนกระดูกที่แตกไปดันอยู
รวมทั้งรากประสาทดวย โดยการผาตัดนําสวนของหมอนกระดูกที่แตกออกใหหมด เพื่อปองกันการเกิดซ้ํา
การผาตัดจะทําตอเมื่อผูปวยมีอาการของรากประสาทถูกกดอยางมาก เชน มีกลามเนื้อออนแรง และมี
อาการกลั้นปสสาวะและอุจจาระไมได หรือมีอาการปวดจนทนแทบไมไหว สวนในผูปวยทีม่ ีอาการไมมาก
แตเปนมานาน ไดรับการรักษาโดยวิธีไมผาตัด
Page 74

มาเปนเวลานานแตยังไมทุเลา ตองรักษาดวยวิธีผาตัด
วิธีรักษาโดยไมผาตัด ประกอบดวย การนอนพักในทานอนหงายหนุนงอขอเขา การดึงถวงขาหรือที่
เชิงกรานดวยน้ําหนัก การใหยาแกปวด และการอบดวยความรอน อาจใชอุปกรณพยุงหลังเพื่อลดการ
เคลื่อนไหวของขอที่เปนโรค และขอที่ตองรับหนาที่มากขึน้ วิธีไมผาตัดเหมาะสําหรับ ผูปวยที่เริ่มมีอาการ
ครั้งแรก-ไมวามากหรือนอย ผูปวยที่กลับเปนซ้ํานาน ๆ ครั้ง หรือรายที่อาการไมรุนแรงมาก ขณะรักษาหาก
มีอาการกดทับเสนประสาทมากขึ้น หรือรายที่ไมมีความอดทนแบบไมผาตัด อาจพิจารณารักษาดวยการ
ผาตัด หลังผาตัดผูป วยตองพักและไมออกกําลังกายรุนแรง อาการปวดหลังบริเวณที่ผาตัด อาจยังคงอยู
เปนเดือนกวาจะหาย ผลการรักษาโดยการผาตัดทั่วไปไดผลดี ยกเวนบางรายอาจไดผลไมดีเทาที่ควร สวน
การเชื่อมขอสันหลังใหติดกันอาจเปนวิธีรักษาที่เกินเหตุ

2. ชองไขสันหลังตีบ (Spinal stenosis)


สาเหตุไมทราบแนชัด อาจเปนหลายระดับหรือระดับเดียว พบมากที่ระดับกระดูกสันหลังเอว
พยาธิสภาพ อาจมีกระดูกงอกออกจากขอสันหลัง หรือเกิดจากแผนเอ็นที่หุมอยูนอกปลอกใยสันหลังมี
ความหนาตัวมาก หรืออาจมีพงั ผืดกดทับรากประสาทไขสันหลัง เกิดอาการปวดราวตามแนวเสนประสาท
บางรายอาจมีหมอนกระดูกสันหลังโปงหรือแตกรวมดวย ทําใหชองไขสันหลังตีบมากขึ้น ยังผลใหมีอาการ
มากขึ้น โรคปวดหลังชนิดนี้แบงเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ ชนิดทีเ่ ปนตัง้ แตกําเนิด และชนิดทีเ่ ปนภายหลัง
ชนิดที่เปนภายหลังเกิดจากสวนประกอบของกระดูกสันหลังเสื่อมสภาพ หรืออาจเกิดจากกระดูกสันหลัง
เคลื่อน หรืออาจเกิดตามหลังการบาดเจ็บ หรือภายหลังการผาตัดกระดูกสันหลังจากเหตุอื่น
พยาธิสภาพที่พบบอยที่สุด คือ การเสื่อมของขอสันหลังและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวของ และ สาเหตุที่ทําให
เกิดการเสื่อม คือ เสื่อมจากการหมุนบิดขอสันหลังมากเกินไป โดยเฉพาะขอบั้นเอว 2 ขอสุดทาย สาเหตุนี้
จะมีผลตอสวนของขอขางกระดูกสันหลังดวย สวนสาเหตุที่เกิดจากการกระทบกระแทก จะมีผลตอหมอน
กระดูกสันหลังเปนสวนใหญ ในบางภาวะอาจเกิดจากการดื่มน้ําที่มีฟลูออไรดมากเกินไป ทําใหแคลเซียม
พอกตามเอ็นยึดขอตาง ๆ ทําใหชองไขสันหลังตีบแคบในทีส่ ุด

อาการและอาการแสดง
อาการปวดหลัง ทีเ่ กิดจากการกดและระคายตอรากประสาท อาจเกิดการอุดตันของหลอดเลือดใน
บริเวณชองไขสันหลังรวมดวย พบมีการเปลี่ยนแปลงการรับความรูสึกผิวหนังที่ขา และบางครั้งอาจมี
กลามเนื้อออนแรงจากผลของการกดทับรากประสาท และผลของการขาดเลือดของประสาทเหลานี้ อาการ
มักเกิดรวมกันหลายระดับไขสันหลัง ปฏิกิริยาตอบสนองของเอ็นกลามเนื้ออาจมากขึ้นในทาแอนหลัง และ
จะทุเลาในทากมหลัง ซึ่งชองไขสันหลังจะกวางกวาทาแอนหลัง

การตรวจภาพรังสี
Page 75

จากภาพรังสีดานหนา พบสวนตอเชื่อม (pedicle) ของกระดูกสันหลังแตละชิ้น มีระยะแคบลง


ระหวางขอถัดไป ภาพรังสีดานขาง พบไขสันหลังแคบลง ถาเปนมากจนกระดูกสันหลังเคลื่อน จะพบ
ลักษณะกระดูกสันหลังเคลื่อนไปขางหนา การทํา MRI จะชวยใหการวินจิ ฉัยแนนอนยิ่งขึน้

หลักการรักษา
การรักษามี 2 วิธี คือ วิธีไมผาตัด และผาตัด ในผูปวยที่มีอาการนอย ยังไมมีการกดประสาทชัดเจน
กลามเนื้อไมออนแรงมาก วิธีรักษา คือ การแนะนําเกี่ยวกับทาทางอิริยาบถตาง ๆ ที่ถูกตอง และออกกําลัง
กาย เพื่อทํากายบริหารกลามเนื้อหลัง ถาจําเปนอาจใชกายอุปกรณเพื่อพยุงหลัง
การรักษาดวยการผาตัด จะกระทําเมื่อรักษาดวยวิธีไมผาตัดลมเหลว หรือผูปวยมีความลําบากใน
ชีวิตประจําวัน คือ ปวดหลังเมื่อเดินหรือยืน และวิ่งระยะสั้น หรือมีอาการกดรากประสาทจนกลามเนื้อออน
แรง การผาตัดมักทําในคนสูงอายุ โดยแกไขตัดเอาสวนทีก่ ดประสาทสันหลังหรือรากประสาทออก เพื่อลด
การเจ็บปวดจากการกด

การรักษาดวยศาสตรการแพทยแผนจีน
การแพทยแผนจีน จัดอาการปวดประสาทไซแอติก อยูใ นกลุมอาการปเ จิง้ (BiZheng or Bi
syndrome) สาเหตุจาก 1) ความชื้นและเย็น 2) ไตพรอง และ 3) ชี่และเลือดคั่ง ดังไดบรรยายไวโดย
ละเอียดในตําราฝงเข็ม รมยา เลม 2 การรักษาโดยการฝงเข็ม เลือกใชจุด ดังนี้
จุดหลัก: HuaTuoJiaJi (EX-B 2) ระดับกระดูกสันหลังเอวที่ 2 – 5, ZhiBian (BL 54), ShenShu
(BL 23), HuanTiao (GB 30), WeiZhong (BL 40), YangLingQuan (GB 34), XuanZhong (GB 39)
วิธีการ: ความชื้นและเย็น ใชการฝงเข็มกระตุน บํารุงระบายเทากัน หรือรวมกับรมยา; ไตพรอง
ฝงเข็มกระตุน บํารุง หรือเข็มอุน หรือรวมกับรมยา; ชี่และเลือดคั่ง ฝงเข็มกระตุน ระบาย หรือรมยา
จุดเสริม: เพิ่มจุด ตามสาเหตุและอาการของโรค
- ความชื้น-เย็น: บํารุงระบายเทากันหรือรมยา YaoYangGuan (GV 3),
DaChangShu (BL 25), GuanYuanShu (BL 26)
- หยางไตพรอง: บํารุงหรือรมยา MingMen (GV 4), YaoYan (EX-B 7)
- อินไตพรอง: บํารุงหรือรมยา ZhiShi (BL 52), TaiXi (KI 3), ZuSanLi (ST 36)
- ชี่และเลือดคั่ง: ระบายหรือรมยา GeShu (BL 17), WeiZhong (BL 40)
- รูสึกเย็นที่หลังสวนเอว: บํารุงหรือรมยา MingMen (GV 4), ZuSanLi (ST 36)

แนวคิดการแพทยแผนตะวันตกรวมกับการฝงเข็ม
อาการปวดประสาทไซแอติก แบงไดเปน 2 ชนิด คือ
2.1 ชนิดตัวเสนประสาทมีพยาธิสภาพ (Nerve trunk type)
Page 76

พยาธิสภาพอยูนอกชองไขสันหลัง มีอาการตามแนวเสนประสาทไซแอติก แบงเปนชนิดปฐมภูมิ


และทุติยภูมิ ชนิดปฐมภูมิ ไดแก การอักเสบของตัวเสนประสาทไซแอติกโดยตรง (Imflammtion of the
sciatic nerve) ชนิดทุติยภูมิ ไดแก Arthritis of Hip joint , arthritis of sacroiliac joint ฯลฯ รายละเอียด
จะไมขอกลาวในทีน่ ี้
2.2 ชนิดรากประสาทมีพยาธิสภาพ (Nerve root type)
ตําแหนงโรคอยูบริเวณบัน้ เอว ไมต่ํากวาอุงเชิงกราน สาเหตุที่พบบอย คือ หมอนกระ ดูกสันหลัง
โปงนูนกดทับรากประสาท และจากเดือยกระดูกงอก (spur) ระคาย หรือรบกวน หรือกดรากประสาท ซึ่ง
เกิดจากขอกระดูกสันหลังเสื่อม ทําใหชองไขสันหลังแคบลง และมีเดือยกระดูกงอกออกมา
ปวดประสาทไซแอติก จากสาเหตุตอไปนี้ไมสามารถรักษาดวยการฝงเข็ม
1. เนื้องอกกระดูกสันหลัง
2. วัณโรคกระดูกสันหลัง
3. กอนเลือดในชองไขสันหลัง
4. เนื้องอกในอุงเชิงกรานกดทับ
5. มดลูกกดทับประสาทไซแอติก จากภาวะตั้งครรภ 5 เดือนขึ้นไป

การฝงเข็มรักษาปวดประสาทไซแอติก ชนิดรากประสาทมีพยาธิสภาพ
อาการปวดรากประสาทชนิดนี้ มีทั้งแบบ Acute และ Subacute มีอาการปวดเอว ลงไปแกมกน
ไปขอพับเขาใน แลวไปดานขางของขาจนถึงหลังเทา อาการปวดเหมือนไฟช็อต หรือถูกมีดบาด หรือไฟลวก
ปวดตลอดเวลา และอาจมีอาการชาดานขางของขาดวย ถาไอหรือเบงถายอุจจาระหรือปสสาวะ จะทําให
ปวดมากขึ้น เคลื่อนไหวเอวลําบาก
ตรวจรางกาย ผูปวยจะยืนเอียงไปขางหนึ่งเพื่อลดอาการปวด อาจพบกระดูกสันหลังคด มีจดุ กด
เจ็บบริเวณเอวหรือหลัง ตรวจ SLRT: positive, Sign of four test: positive, Deep tendon reflex ของ
เขาและขอเทาลดลง

การรักษา
พยาธิสภาพอยูที่ระดับกระดูกบัน้ เอว L 3 – L4 , L4 – L5 , L5 – S1

การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
วิธีที่ 1
จุดหลัก:
1. ปกจุด JiaJi (EX-B2) 3 ตําแหนง คือ ตําแหนงพยาธิสภาพ และตําแหนงเหนือ และใตพยาธิ
สภาพ หรือ
Page 77

2. ปก 1 ตําแหนง 3 ทิศทาง คือ JiaJi (EX-B2) ที่มีพยาธิสภาพ และอีก 2 เลม ให ปกลอม
วิธีการ: ใชเข็ม 3 ชุน ปกลึก 2 ชุน พุงปลายเขาหาเข็มเลมแรก โดยมีวัตถุประสงคใหเนื้อเยื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงดึงหมอนกระดูกสันหลังกลับเขาที่ หรือถาดึงกลับไมไดอาจทําใหรากประสาทถูกกดนอยลงลด
อาการปวด
จุดเสริม: ใชจุดตามแนวเสนลมปราณที่ปวด
- เสนกระเพาะปสสาวะ: ZhiBian (BL 54), YinMen (BL 37), ChengShan (BL 57), KunLun (BL
60)
- เสนถุงน้ําดี: HuanTiao (GB 30), FengShi (GB 31), YangLingQuan (GB 34), XuanZhong
(GB 39)
- จุดเสริมใหเลือก 3 – 4 จุด ตอเสน หรือสลับไปมา สามารถกระตุนไฟฟาได แตถากระตุนดวยมือ
แรงพออาจไมตองใช กรณีนี้ยงั ใชไดกับผูปวยที่ผาตัดหลังแลว หายปวดหลัง แตยังชา หรือยังปวดเมื่อยอยู
ซึ่งอาจเกิดจากพังผืดมีผลตอเสนทางการไหลเวียนของชีท่ อี่ ยูไกลออกไปไหลเวียนไมสะดวก ใหใชจดุ บน
สองเสนนี้ ถาดานไหนเปนมากกวาก็ใหปกเนนดานนั้นเปนสําคัญ แตถาแยกไมออกวาดานไหนมากอาจใช
ZuSanLi (ST 36), TaiChong (LR 3) และ SanYinJiao (SP 6) ทั้งสามจุดสามารถปรับการไหลเวียนของ
เลือดลมได

วิธีที่ 2
จุดหลัก:- QiHaiShu (BL 24), XiaoChangShu (BL 27), PangGuangShu (BL 28) โดยดู
ตําแหนงของพยาธิสภาพ เลือก 2 – 3 คู
- HuanTiao (GB 30) หรือ ZhiBian (BL 54) เลือกจุดใดจุดหนึ่งตามอาการปวดราวของ
แตละเสนลมปราณนัน้ ๆ
จุดเสริม:- QianGu (SI 2), ChengFu (BL 36), YangLingQuan (GB 34),
WeiZhong (BL 40), FeiYang (BL 58), KunLun (BL 60)
ชวงปวดใหปกเข็มทุกวัน เมื่ออาการทุเลาแลว ใหปก เข็มวันเวนวัน เมื่อหายปวดใหหยุดได กระตุน
ไฟฟาชวยใหหายปวดเร็วขึ้น
ปวดจากเดือยกระดูกงอก (spur) ฝงเข็มครึ่งเดือน อาการจะดีขึ้น แต Herniated disc หรือหมอน
กระดูกโปงกดทับรากประสาท อาจตองฝงเข็มนาน 1 – 2 เดือน แตถามีสาเหตุอื่นรวมดวยอาจนานกวานั้น
เชน มี osteophyte, osteoporosis รวมกับ Herniated or Prolapsed disc เปนตน
กรณีเปนมาก เชนมีกระดูกสันหลังคด (Scoliosis) ชวงทีร่ ักษาอยูอาการจะดี แตถาหยุดรักษาจะ
กลับเปนใหมอีก กระดูกสันหลังคด ถาเปนมาก ๆ การฝงเข็มไมสามารถชวยใหแนวกระดูกกลับมาตรงได
กรณีหมอนกระดูกสันหลังโปงนูน รวมกับอาการปวดทองนอย ถาหากตรวจแลวไมพบกอนเนื้องอก
หรือพยาธิสภาพรายแรงอื่น ๆ บริเวณทองนอย แตยังมีอาการปวดทองนอยใหปก เสนตายมาย JuLiao (GB
Page 78

29), WuShu (GB 27), WeiDao (GB 28) ถาปวดมากจนขึ้นเตียงไมได ใหปก YaoTongXue ( EX-UE7)
กอน โดยปกลึก 1.5 ชุน กระตุนจนคนไขขยับเอวไดจงึ ปกจุดอื่น

วิธีที่ 3
จุดหลัก:- ปกจุด JiaJi (EX-B2) 3 ตําแหนง คือ ตําแหนงพยาธิสภาพ และตําแหนง เหนือและใต
พยาธิสภาพ
- ZhiBian (BL 54) ปกแบบ 3 เลม ถาพยาธิสภาพอยูที่ L4 – L5, L5 – S1 เพิม่
HuanTiao (GB 30) และ WeiZhong (BL 40) ดวย
จุดเสริม:
- มีอาการปวดราวลงขา ใชเพียงจุดเดียว จุดหลังตอ YangLingQuan (GB 34) 1 ชุน ปกเขา
กลามเนื้อ Gastrocnemius ถาปวดหลังตนขาเพิ่ม YinMen (BL 37)
- ปวดจาก spur อาจพบปวดเอวไดดวย มักพบในผูปวยอวน อายุมากกวา 40 ป ขึ้น
ไป สวนเวาโคงของกระดูกสันหลังหายไป มีลักษณะตรงขึ้น จุดทีใ่ ช DaChangShu (BL 25), ShenShu (BL
23), BaLiao (BL 31 – 34) ทั้งสองขาง ๆ ละ 3 เลม ทําใหกลามเนื้อบริเวณกระเบนเหน็บ (sacrum) ผอน
คลาย ลดอาการปวดราว และกลามเนื้อเกร็งจาก spur

ตัวอยางผูป วย ชายไทยคู อายุ 47 ป อาชีพเกษตรกร มีอาการปวดบั้นเอวเปน ๆ หาย ๆ มากวา 3 ป และ


มีอาการปวดราวดานนอกขาขวาจนถึงนิ้วเทาดานนอกเปนครั้งคราว เคยไดรับการวินิจฉัยจากแพทย
ศัลยกรรมกระดูกและขอวาเปน หมอนกระดูกกดทับเสนประสาทแตไมรุนแรง จึงไดรับการรักษาโดยการดึง
หลังถวงน้ําหนัก อาการดีขนึ้ ผูปวยขาดการรักษาตอเนื่องจนเมื่อ 6 เดือนที่ผานมา ผูปวยเริ่มมีอาการปวด
หลังอีก
1 สัปดาหกอน ผูป วยปวดหลังมาก กมและแอนหลังไดจํากัด บิดลําตัวลําบาก ตรวจรางกาย Right
leg; SLRT: positive, DTR ankle joint slightly decreased ลิ้น แดงคล้ํา ฝา ขาวบาง, ชีพจร ตึง เร็ว ผูปวย
ไดรับการวินิจฉัยเปน Herniated disc L5 – S1
การรักษา
- ใหผูปวยยืนเขยงเทา เจาะปลอยเลือดทีจ่ ุด WeiZhong (BL 40) ทั้งสองขาง หลังเลือดหยุด ให
ผูปวยนั่ง ยืน ทําหลาย ๆ ครั้ง แลวเดินไปมา ใหผปู วยกม เงย บิดลําตัวซายขวาจนรูสึกหลังคลองตัว ปวด
นอยลง
- ตอมาใหผูปวยนอนคว่ํา ปกจุด JiaJi (EX-B2) 3 ตําแหนง คือ ตําแหนงพยาธิสภาพ และตําแหนง
เหนือและใตพยาธิสภาพ
- HuanTiao (GB 30), FengShi (GB 31), YangLingQuan (GB 34), XuanZhong (GB 39) ปก
เข็มแบบระบาย กระตุน เข็มทุก 10 นาที คาเข็ม 40 นาที หลังเอาเข็มออก ตามดวย Moving cupping อีก 1
Page 79

สัปดาห ตอมาผูปวยแจงวายังมีอาการปวดหลังและราวขาขวาลดลง ไดเจาะปลอยเลือดซ้ํา ปกเข็มตามเดิม


อีกอาทิตยตอมาผูปวยยังปวดหลังลึก ๆ ไมมาก บริเวณจุด ZhiShi (BL 52) และไมมีอาการปวดราวอีก
Page 80

รูปที่ 14 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดประสาทไซแอติก

ปวดหลังจากภาวะกระดูกบางหรือพรุน
( Back Pain due to Primary Osteoporosis : 骨质疏松腰痛)
ภาวะกระดูกบาง หรือกระดูกพรุน ทีก่ ระดูกสันหลังทําใหเกิดอาการปวดหลัง แตไมมีอาการกดทับ
รากประสาทสันหลังรวม อาการปวดจะปวดเฉพาะที่ และปวดมากขึ้นถาบิดตัว
อาการจะรุนแรง โดยเฉพาะตอนกลางคืน ถาเปนเรื้อรังหลังจะคอมยืนตรงไมได ในผูสูงอายุอาจมีอาการ
ปวดขารวมดวย อาการของโรคจะคอย ๆ เปน ในผูสูงอายุกระดูกสันหลังอาจยุบ ตัวลง ทําใหตัวเตี้ยและ
หลังคอม ถาเปนมานาน ปอดและหัวใจอาจถูกกดได โรคนี้พบบอยในผูสูงอายุ โดยเฉพาะหญิงวัยหมด
ประจําเดือน จากการสูญเสียแคลเซียมในรางกายไปมาก ทางปสสาวะและอุจจาระ ถาทดแทนไมเพียงพอ
จะทําใหกระดูกบาง กระดูกเหลานี้มีการแตก ยุบตัว ทําใหเกิดเจ็บปวดเหมือนกระดูกหักบริเวณกระดูกสัน
หลัง นอกจากนี้ยงั พบในผูปวยที่ขาดวิตามินเค 2 ซึ่งจําเปนตอการสรางกระดูก อาจเปนสาเหตุที่ทําใหเกิด
ภาวะกระดูกบางทั่วรางกายได

ลักษณะทางคลินิก
Page 81

มีอาการปวดตลอดแนวกระดูกสันหลัง หรือบางครัง้ ปวดกระดูกตลอดทั้งตัว อาการปวดจะกระจาย


ไปตามกระดูกสันหลัง อาการอาจมากขึ้นขณะไอหรือจาม หรือขณะกาวเทาลงบันได บางครั้งอาจปวดที่
กระดูกขาและกระดูกขอเทา ผูปวยจะปวดตื้อ ๆ ลึก ๆ และปวดตลอดเวลากลางคืน

การตรวจภาพรังสี
ภาพรังสีกระดูกสันหลังระดับทรวงอกและบั้นเอว พบเงากระดูกบางลงมาก ลักษณะ โปรงรังสี
กระดูกสันหลังมีผนังกระดูกบาง กระดูกที่รับน้ําหนักมาก สวนผิวในขอจะถูกทําลายและกระดูกสันหลัง
ยุบตัวเปนรูปลิ่ม

การตรวจทางหองปฏิบัติการ
ระดับแคลเซียม ฟอสฟอรัส และแอลคาไลนฟอสฟาเทสในเลือดอาจปกติ ดังนัน้ การตรวจความ
หนาแนนของกระดูก สันหลังหรือสวนใดสวนหนึ่งของรางกายเพื่อเทียบกับคนปกติ เพื่อพิจารณาวาจะตอง
ใหแคลเซียมไปทดแทน หรือเลือกวิธีรกั ษาทีเ่ หมาะสมอยางไรตอไป

การรักษา
สวนใหญเปนการรักษาทางยา และกายภาพบําบัดเพื่อลดอาการปวด แตถามีการยุบตัว และผิดรูป
ของกระดูกสันหลัง ก็ตองปองกันโดยใสเครื่องพยุงหลัง เพื่อแกไขสวนที่เปนไมใหเปนมากขึ้นอีก ผูป วยควร
ไดรับการพักสันหลัง และควรไดรับอาหารเสริมที่มีแคลเซียมมากพอ โดยเฉพาะจากนมหรือผลิตภัณฑจาก
นมที่พรองไขมัน การใชแคลเซียมรูปยาเม็ดอาจมีคุณคาทางอาหารนอยกวาผลิตภัณฑจากนม ผูที่ขาด
เอนไซมยอยนมในอาหาร อาจใชนมผงอัดเม็ดแทนในปริมาณนอยและบอย การรักษาอยางอื่น เชน การ
ออกกําลังกายบริหารกลามเนื้อสันหลังและลําตัว เพื่อปองกันไมใหกระดูกละลาย การฝกหัดใหอยูใน
อิริยาบถที่ถกู ตอง เปนสิ่งสําคัญทีจ่ ะปองกันกระดูกสันหลังยุบตัวและมีความพิการเกิดขึน้ ถาพบสาเหตุ
การขาด วิตามินเค 2 การรักษาก็ตองใหวิตามินเค 2

การรักษาดวยการฝงเข็ม
ดูรายละเอียดในหัวขอ “ปวดหลังจากขอสันหลังเสื่อม” (Back Pain due to Hypertrophic
Spondylosis)
Page 82

ปวดหลังจากขอสันหลังเสื่อม
(Back Pain due to Hypertrophic Spondylosis : 退化性腰痛)
ขอสันหลังทีเ่ สื่อมอาจเกิดตลอดชวงสันหลังหรือเกิดบางชวง เชน ชวงบัน้ เอวหรือชวงกระเบนเหน็บ
กลามเนื้อสันหลังจะเกร็งตัวเกิดอาการปวดเมื่อยกลามเนือ้ ความเจ็บปวดจะเพิ่มขึน้ เมื่อมีการเคลื่อนไหว
หรือออกกําลังขอสันหลัง หรือการเปลี่ยนอิริยาบถโดยสันหลังอยูในทาไมถกู ตอง อาการของโรคมักไม
รุนแรง แตเรื้อรัง เปน ๆ หาย ๆ
กรณีอาการของโรคที่รุนแรงและรวดเร็ว มีสาเหตุจากหมอนกระดูกสันหลังโปงนูน (herniated or
prolasped disc) กดรากประสาท พบมากในผูป วยอายุนอ ยหรือวัยกลางคน
ชองไขสันหลังตีบ (Spinal stenosis) มักพบในผูสูงอายุ ซึ่งอาจไมมีอาการ จนถึงมีอาการรุนแรง
ระคายหรือรบกวนเสนประสาท

ลักษณะทางคลินิก
กระดูกสันหลังจะอยูผิดทาจากปกติ เชน หลังคด ตําแหนงที่พบความเจ็บปวดมาก คือ กระดูกสัน
หลังระดับลาง และขอตอกระดูกเหนือกนกบ อาจมีอาการที่กระดูกสันหลังระดับตนคอรวมดวยได อาการที่
เกิดขึ้นกับระดับที่มีพยาธิสภาพ เชน ระดับบัน้ เอวอาจมีอาการปวดเอวอยางเดียว หากยังไมมีการกดราก
ประสาท
อาการปวดอาจมากขึ้นทันที หรือคอย ๆ มากขึน้ ทีละนอย พรอมกับการเคลื่อนไหวขอสันหลัง
เปลี่ยนแปลงไปดวย อาจมีอาการนอกกระดูกสันหลังในระดับทีเ่ กี่ยวของ เชน อาการทางระบบประสาท
อัตโนมัติ และระบบหลอดเลือด
หากมีการกดรากประสาทรวมดวย จะตรวจพบมีการระคายหรือรบกวนหนาที่ของเสนประสาท
โดยเฉพาะเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถของกระดูกสันหลัง เชน แอนหลัง อาการปวดจะเพิ่มมากขึน้ เมื่อไอ จาม หรือ
กดหลังบริเวณที่เปน อาการทีเ่ กิดจากการกดตัวไขสันหลังพบไดนอย แตถาพบจะรุนแรงมาก อาการกดราก
ประสาทสวนปลายของไขสันหลัง (cauda equina) อาจมีอาการรวมกับการไมสามารถควบคุมการถาย
ปสสาวะและอุจจาระได

การตรวจทางหองปฏิบัติการและการตรวจภาพรังสี
การตรวจทางหองปฏิบัติการ ไมพบความผิดปกติทจี่ ําเพาะตอโรค
การตรวจภาพรังสี พบกระดูกงอกตามขอบขอสันหลัง เชื่อมกันเปนลักษณะโคงนูน จากแผนเอ็นยึด
ขอดานหนาของกระดูกสันหลัง ตอมากระดูกเหลานี้จะเชือ่ มเขาหากันระหวาง ขอ ชวงขอจะแคบลง อาจมี
Page 83

หินปูนพอกทีห่ มอนรองกระดูกสันหลัง ลักษณะเดือยกระดูก (spur) ที่เกิดขึ้นระหวางขอจะมีลักษณะชี้ไป


ขางหนา ดานขาง และบางครั้งไปดานหลัง
อาจพบกระดูกสันหลังเคลื่อน (spondylolisthesis) และแนวกระดูกสันหลังอาจยืดตรงเกินไปหรือ
โคงมากเกินไป

การรักษา
ใชการรักษาแบบประคับประคองดวยการใชยา กายภาพบําบัด ใชเครื่องพยุงหลัง แนะนําให
ปรับเปลีย่ นอิริยาบถใหเหมาะสม ถาการรักษาดังกลาวไมทําใหอาการทุเลาลง หรือมีอาการรุนแรงขึ้น หรือ
มีอาการกดรากประสาทจนขาออนแรง หรือควบคุมการขับถายไมได ควรพิจารณาใหการผาตัดรักษา

การฝงเข็มตามระบบเสนลมปราณ
จุดหลัก: HuaTuoJiaJi (EX-B 2) 3 ตําแหนง คือ ตําแหนงพยาธิสภาพ เหนือและใตพยาธิสภาพ
จุดเสริม: ZhiShi (BL 52), YaoYan (EX-B 7), WeiZhong (BL 40), จุด AShi ทั้งหมดใชระงับ
ปวด
ระยะเวลาฝงเข็ม: การฝงเข็ม 10 ครั้งนับเปน 1 รอบการรักษา ฝงเข็มทุกวัน หรือวันเวนวัน ขึน้ กับ
ความรุนแรงของผูปวย หยุดพัก 3 – 5 วัน อาจพิจารณาใชรวมกับรมยา หรือ สองโคมรอน หรือเจาะปลอย
เลือดที่จดุ AShi หรือใชเครื่องกระตุนเข็มไฟฟา หรือ ใชครอบกระปุกเคลื่อน (moving cupping) ตามความ
เหมาะสมเปนราย ๆ ไป

ตัวอยางผูป วย
ผูปวยหญิงไทยหมาย อายุ 68 ป มาดวยอาการสําคัญ มีอาการปวดบั้นเอวทัง้ สองขางมานาน
กวา 10 ป ขางขวาปวดมากกวาซาย ไมมีอาการชาหรือขาออนแรง เคยรับประ ทานยาแลวไมดีขึ้น และยามี
ผลระคายกระเพาะอาหาร จึงงดการใชยานานหลายป ตรวจรางกาย ผูปวยยืนตัวเอียงไปดานขวา ตัวเตี้ย
คอนขางอวน ขาสองขางสั้นยาวไมเทากัน มีกระดูกสันหลังคดบริเวณบั้นเอว เมื่อใหผปู วยกมและแอนหลัง
ทําไดคอนขางจํากัด SLR test ได 70 องศา, negative sign of four test ลิ้นอวนสีคล้ํามีฝาขาวเหนียว ชีพ
จรตึง ภาพรังสีกระดูกสันหลังพบ ลักษณะของกระดูกเสื่อมและหลังคด การวินจิ ฉัย ปวดหลังเรื้อรังจากขอ
สันหลังเสื่อม
การรักษา: ใชจุด Jiaji (EX-B 2) L3 ถึง L5, ZhiShi (BL 52), WeiZhong (BL 40) ทั้งสองขาง คา
เข็ม 30 นาที กระตุนเข็มทุก 10 นาที หลังเอาเข็มออก ตามดวยครอบกระปุกเคลื่อน เนื่องจากผูป วยมาได
สัปดาหละ 2 วัน ใชเวลาการรักษา 2 เดือน ผูปวยมีอาการปวดหลังทุเลาลงมาก สามารถทํากิจวัตร
ประจําวันไดมากขึ้น กมหรือเงยหลังไมคอยปวด
Page 84

รูปที่ 15 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดหลังจากขอสันหลังเสื่อม
Page 85

ขอเขาเสื่อม
( Knee Osteoarthritis : 退化性膝关节炎)
โรคขอเขาเสื่อม (Osteoarthritis of the knee – OA) เปนโรคของขอที่เกิดจากการเสื่อมของกระดูก
ออนขอตอ (articular cartilage) การเปลีย่ นแปลงที่เกิดจากกระบวนการเสื่อมจะไมสามารถกลับสูสภาพ
เดิม และอาจทวีความรุนแรงขึน้ ตามลําดับ(1)
โรคขอเขาเสื่อม เปนโรคที่พบบอยที่สุดในชุมชนทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก(2) จากการศึกษา
ระบาดวิทยาของประชากรไทยอายุเกิน 60 ป ซึ่งอาศัยอยูช านกรุงเทพมหานคร พบวา ความชุกของโรคนี้สูง
ถึงรอยละ 34.5 (3)

ปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค(1,4)
โรคขอเขาเสื่อมมีปจจัยเสี่ยงหลายองคประกอบ ไดแก
1. อายุ เปนปจจัยที่สําคัญที่สุด อายุที่มากขึน้ จะมีความชุกของขอเขาเสื่อมเพิ่มขึน้
2. ความอวน เปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญของโรคขอเขาเสื่อม
3. ปจจัยการรับแรงกระทําที่ขอเขาเบี่ยงเบนไป เชน การใชงานมากเกินไป ทําใหแนวเขาโกง
งอกวาปกติ การไดรับบาดเจ็บของขอ
4. กีฬาและการออกกําลัง ประเภทที่เสีย่ งคือ ประเภทที่มีการกระแทกที่รนุ แรงซ้ําที่ขอ และ
ประเภทที่มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บจากการกระแทก
5. พันธุกรรม โรคขอเขาเสื่อมมีหลักฐานการถายทอดทางพันธุกรรม แตที่ตําแหนงของขอเขา มี
หลักฐานทางพันธุกรรมนอยกวาที่ขอนิ้วมือ
6. โรคเมตาบอลิก ขอเขาเสื่อมพบบอย ในรายที่มีการเปลี่ยนแปลงของ cartilage matrix เชน
โรคเกาท โรคเกาทเทียม โรค hemochromatosis มีผลทําให cartilage matrix แข็งขึ้นกวาปกติ ทําใหการ
รับแรง สงแรงของขอเขาเปลี่ยนแปลงไป
7. โรคขอที่มีการอักเสบ ผลจากเยื่อบุขออักเสบ ทําใหเกิดการทําลายโครงสรางของกระดูกออน
เชน โรคขออักเสบรูมาตอยด
Page 86

อาการและอาการแสดง
อาการโรคขอเขาเสื่อม(1)
1. อาการปวด มีลักษณะปวดตื้อ ๆ ทั่ว ๆ ไปบริเวณขอ ไมสามารถระบุตําแหนงชัดเจนได และมัก
ปวดเรื้อรัง อาการปวดมีลักษณะที่เฉพาะคือ มีอาการมากเมื่อใชงาน อาการมักดีขึ้นเมื่อพักขอ เมื่อการ
ดําเนินโรครุนแรงขึ้น อาจทําใหมีอาการปวดตลอดเวลา หรือปวดในชวงเวลากลางคืนรวมดวย
2. ขอฝด (joint stiffness) พบไดบอย จะมีการฝดของขอในชวงเชาและชวงหลังจากการพักขอ
นาน ๆ เชน หลังจากตืน่ นอนหรือนั่งนาน ๆ แตมักไมเกิน 30 นาที อาจพบอาการฝดเกิดขึน้ ที่เรียกวา
ปรากฏการณขอฝด (gelling phenomenon)
อาการแสดงของขอเขาเสื่อม
ระยะแรก อาจมีอาการขอเขาบวมเล็กนอย และขอฝด
ระยะทาย ขอบวมและผิดรูป เปนลักษณะ ขอเขาโกง (bow leg) หรือขอเขาฉิ่ง (knock knee) ขอที่
บวมเปนการบวมจากกระดูกงอก (osteophyte) และ/หรือมีของเหลวในขอ (effusion) มีการสูญเสียการ
เคลื่อนไหวและการทํางานของขอ ขอเขาเหยียด และ/หรืองอไมสุด กลามเนื้อรอบขอเขาลีบลง ผูปวยเดินไม
สะดวก อาจมีเสียงดังกรอบแกรบในขอขณะเคลื่อนไหว (crepitus on active motion)

การตรวจทางหองปฏิบัติการ (1,2)
- การตรวจเลือด ไมมีความจําเปนในการวินจิ ฉัยโรคขอเขาเสื่อม ยกเวน เพื่อการวินจิ ฉัยแยกโรค
ที่มีอาการ และอาการแสดงคลายคลึงกับโรคขอเขาเสื่อม
- การตรวจวิเ คราะหน้ํา ในขอ ความหนื ด ลดลง จํา นวนเม็ดเลือดขาวในน้ําไขขออยู ใ น
เกณฑ ป กติ (0 -200 /ลบ.มม.) หรือสูงกวาปกติเล็กนอย แตไมเกิน 2,000/ลบ.มม.
- การตรวจภาพรังสี ไดแก ภาพรังสีขอเขา ใชในการวินิจฉัยระดับความรุนแรงของโรค โดยใช
Kellgren-Lawrence grading system ดังนี้ (5)
grade 0 = normal
grade 1 = possible osteophytic lipping
grade 2 = definite osteophytes and possible joint space narrowing
grade 3 = moderate or multiple osteophytes, definite joint space
narrowing, some sclerosis, and possible bony attrition
grade 4 = large osteophytes, mark joint space narrowing, severe
sclerosis and definite bony attrition
อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางภาพรังสี อาจไมสอดคลองกับอาการทางคลินกิ (6) สําหรับการ
ตรวจดวย CT-scan และ MRI ไมจําเปนในการวินจิ ฉัย
Page 87

เกณฑในการวินิจฉัยโรคขอเขาเสื่อม
โดยใชเกณฑของ American College of Rheumatology classification criteria for
Osteoarthritis of the knee ใช classification tree(7) ดังนี้
1. knee pain and radiographic osteophytes หรือ
2. knee pain and age  40 years and morning stiffness  30 minutes in duration and
crepitus on motion
ซึ่งถาใชตามเกณฑขางตน จะได sensitivity 94% และ specificity 88%

เปาหมายการรักษาโรคขอเขาเสื่อมเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีใกลเคียงกับคน
ปกติ(8)
1. ใหผูปวยและญาติ มีความรูใ นเรื่องโรคขอเขาเสื่อมและการรักษา รวมถึงภาวะแทรกซอนที่
อาจจะเกิดขึ้นจากโรคหรือการรักษา
2. รักษาและบรรเทาอาการปวด
3. ฟนฟูสภาพการทํางานของขอเขาใหดีขึ้น และแกไขเพื่อลดความพิการ รวมทั้งฟนฟูสภาพจิตใจ
ของผูปวย
4. ปองกันและชะลอภาวะแทรกซอนซึ่งเกิดจากโรคขอเขาเสื่อมและจากการรักษา

การรักษาโรคขอเขาเสื่อมควรพิจารณาสิ่งตอไปนี้(8)
1. Knee risk factors (obesity, adverse mechanical factor, physical activity)
2. General risk factor (age, comorbidity, polypharmacy)
3. Level of pain intensity and disability
4. Sign of inflammation เชน effusion
5. Location and degree of structural damage

การรักษาโรคขอเขาเสื่อมตามแนวทางของ American College of Rheumatology(9)


แบงเปน 3 กลุมหลัก คือ
A. การรักษาโดยไมใชยา
B. การรักษาโดยใชยา
C. การรักษาโดยการผาตัด

A. การรักษาโดยไมใชยา ประกอบดวย 7 วิธี ไดแก


1) การใหความรูเรื่องขอเขาเสื่อมและการดําเนินโรค(10)
Page 88

ผูปวยโรคขอเขาเสื่อมสวนหนึ่งเขาใจผิดวา โรคนี้เกิดจากความเสื่อมของรางกาย ไมสามารถรักษา


ใหดีขึ้นได และจะทรุดลงจนเกิดขอเขาพิการ ปจจุบันความรูทางการแพทยสามารถชะลอการเสื่อมของขอ
เขา และดูแลรักษาใหดีขึ้นได
2) แนะนําการลดน้ําหนักตัว
- โดยทั่วไปเมื่อน้ําหนักตัวเพิม่ ขึ้น 1 กิโลกรัม ทําใหเพิม่ แรงกดที่ขอเขาประมาณ 3 กิโลกรัม(11)
- ขณะเดิน จะมีแรงผานเขาประมาณ 3 เทาของน้ําหนักตัว(12)
- ขณะกาวขึน้ -ลงบันได จะมีน้ําหนักกดลงบนขอเขาประมาณ 5-6 เทาของน้ําหนักตัว(12)
- ขณะวิ่งออกกําลังกาย (jogging) ดวยความเร็ว 9 km/h ขอเขาจะไดรับแรงกระแทกจากการวิ่ง 8
- 9 เทาของน้ําหนักตัว(12)
- ขณะนั่งยอง ๆ แรงผานขอเขาจะเพิ่มเปนประมาณ 10 เทาของน้ําหนักตัว(13)

อาการปวดจากขอเขาเสื่อม

ลดกิจกรรมที่ทําอยูเดิมเนื่องจากรูสึก น้ําหนักตัวที่เพิม่ มากขึ้น


ลําบากในการเดินจึงยิง่ ไมอยากเดิน (โรคอวน)
มาก แตรับประทานอาหารปริมาณ
เทาเดิมหรือมากกวาเดิม

คนสูงอายุมีแนวโนมที่รางกายจะ
ทําหนาที่เผาผลาญอาหารลดลง
แตรับประทานอาหารปริมาณ
เทาเดิม หรือมากกวาเดิม

ตาราง แสดงถึงแรงกระทําตอขอเขาในกิจกรรมชนิดตางๆ (12)


Page 89

Activity Knee joint load (x body weight)


Walking at 5.4 km/h 3.4-4
Walking 3.0
Walking at 5km/h 2.8
Walking at 7km/h 4.3
Cycling at 120W 1.2
Stair ascent 5
Stair descent 6
Ramp ascent 4.5
Ramp descent 4.5
Squat descent 5.6
Isokinetic knee extension up to 9
Jogging at 9 km/h 8-9
Jogging at 12.6 km/h 10.3
Running at 16 km/h up to 14
Bowling on asphalt alleys up to 12
Skiing medium steep slope beginner 10
Skiing medium steep slope skilled skier 3.5

3) แนะนําการปฏิบัตติ ัวที่ถูกตอง
3.1 ตองลดน้ําหนักตัว เพราะการลดน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม จะลดแรงกระทําที่เขาถึง 3 กิโลกรัม
3.2 ทานั่ง ควรนั่งบนเกาอี้สูงระดับเขา ซึ่งเมื่อนั่งหอยขาแลวฝาเทาจะวางราบกับพื้นพอดี ไมควร
นั่งพับเพียบ หลีกเลี่ยงการนั่งขัดสมาธิ การนั่งคุกเขา นั่งยอง หรือนั่งราบกับพื้น เนื่องจากจะทําใหผิวเขา
เสียดสีกันมากขึ้น
3.3 เวลาเขาหองน้ํา ควรนั่งถายบนโถนั่ง
3.4 ควรนอนบนเตียง ไมควรนอนราบกับพื้น เพราะตองงอเขาเวลาจะนอน หรือจะลุกขึ้น
3.5 หลีกเลี่ยงการขึ้น – ลงบันได
3.6 ควรใชไมเทาเมื่อยืนหรือเดิน โดยเฉพาะผูที่มีอาการปวดเขามาก หรือมีขอเขาโกงผิดรูป
3.7 บริหารกลามเนื้อรอบ ๆ ขอเขาใหแข็งแรง เพื่อช วยใหก ารเคลื่อนไหวของขอเขาดีขึ้น และ
สามารถทรงตัวไดดีเวลายืนหรือเดิน
Page 90

4) การออกกําลังกายในโรคขอเขาเสื่อม
เปนที่ยอมรับกันทั่วไปวา การทําใหกลามเนื้อรอบขอเขาแข็งแรง จะชวยทําใหการดําเนินโรคชะลอ
ชาลง ทําใหขอมีความมั่นคงมากขึ้น(13) โดยการเพิ่มการออกกําลังกายตองคอยเปนคอยไป ถาเพิ่มการออก
กําลังกายมากเกินไป จะทําใหอาการของโรคแยลงได
4.1 การออกกําลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพทางรางกาย (aerobic exercise)(2) แนะนําการเดิ น
ในชวงที่คนไขไมมีอาการปวด แนะนําใหเดินออกกําลังกายดวยความเร็วพอเหมาะ เนื่องจากการเดินจะทํา
ใหกระดูกออนไดรับสารอาหาร ทําใหการทํางานของขอเขาดีขึ้น และชะลอการแยลงของขอเขา(13) อยางไรก็
ตามชวงปวดเขามาก ตองงดการเดิน บางรายอาจแนะนําใหเดินในน้ํา, วายน้ํา, แอโรบิกในน้ํา, รํามวยจีน,
ลีลาศ โดยแนะนําใหออกกําลังกายสม่ําเสมอ ครั้งละ 20 - 40 นาที สัปดาหละ 3 - 5 วัน ทั้งนี้ตองพิจารณา
ตามความเหมาะสมเปนราย ๆ ไป ตองระวังขอหามและขอควรระวังในการออกกําลังกายแบบแอโรบิ ก
และตองเริ่มออกกําลังกายทีละนอย
4.2 การออกกําลังกายเพิ่มพิสัยการเคลื่อนไหวของขอเขา และเพิ่มความยืดหยุนของเขา (range of
motion/flexibility) เชน ใหผูปวยนอนหงายทําทาถีบเขาและเทา 2 ขางกลางอากาศ
4.3 การออกกําลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อรอบเขา(1) (muscle strength) ไดแก

- การออกกําลังกายกลามเนื้อตนขาดานหนา (Quadriceps exercise)


- การออกกําลังกายกลามเนื้อตนขาดานหลัง (Hamstrings exercise)
4.4 การออกกําลังกายเพื่อเพิ่มความทนทานของกลามเนื้อ (endurance)
5) ความรอน (Heat)
ใชเพื่อบรรเทาอาการปวดและอักเสบของขอเขา เครื่องมือใหความรอน (heat modalities) แบงเปน
5.1 เครื่องมือใหความรอนชนิดตื้น (Superficial Heating Modalities) คือเครื่องมือความรอนที่ให
ความรอนสูงสุด อยูที่ผิวหนังของรางกาย ไดแก กระเปาน้ําอุน กระเปาไฟฟา
5.2 เครื่องมือใหความรอนชนิดลึก (Deep Heating Modalities) คือเครื่องมือที่ใหความรอนซึ่ง
สามารถผานผิวหนังไปไดลึก ไดแก Ultrasound, Shortwave diathermy, Microwave diathermy เปนตน
6) การใชอปุ กรณชว ยชนิดตาง ๆ
6.1 สนับเขา (Knee support) ชวยประคองขอเขา ตองพิจารณาตามความเหมาะสมเปนราย ๆ ไป
6.2 อุปกรณชวยประคองเดิน (Gait aid) เชน ไมเทา Walker มีสวนชวย โดยลดแรงที่มากระทํา ตอ
ขอเขาเปนผลใหการทํางานของขอเขาลดลงและชวยใหอาการปวดเขาลดลง
6.3 การเสริมรองเทา
- เสริม Shoe wedge คือการเสริมความสูงของสนเทาเปนรูปลิ่ม โดยทั่วไปในโรคขอเขาเสื่อมมักมี
ลักษณะเขาโกง จึงเสริมความสูงเฉพาะขอบดานนอกของสนเทา
Page 91

- เสริมความสูงของรองเทา ใชในกรณีที่ขาสองขางยาวไมเทากัน
7) การฝงเข็มในโรคขอเขาเสื่อม รายละเอียดอยูดานหลังของบทนี้

B. การรักษาโดยใชยา พิจารณาเกณฑดงั นี(1,8)



1. การรักษาโรคขอเขาเสื่อมจะไดประโยชนสูงสุด ตองมีการประสานการรักษาระหวางการรักษา
แบบประคับประคองโดยไมใชยา รวมกับการรักษาโดยใชยา
2. ควรเลือกใชยา paracetamol ชนิดรับประทานเปนลําดับแรกในการลดปวดโรคขอเขาเสื่อม
เนื่องจากมีหลักฐาน ( evidence 1B) วายา paracetamol มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคขอเขาเสื่อมและ
ปลอดภัย เมื่อใชในระยะยาว มีรายงาน RCT พบวา paracetamol 4 กรัมตอวัน มีผลดีเทียบเทายา
ibuprofen
3. ยาทาเฉพาะที่ ประเภท NSAID และเจลพริก (capsaicin) มีหลักฐานวามีผลดีและปลอดภัย
ในการใชรักษาโรคขอเขาเสื่อม
4. พิจารณาใชยากลุม NSAIDS ในผูปวยที่ไมตอบสนองตอการใชยา paracetamol โดยใน
ผูปวยที่มีความเสี่ยงตอระบบทางเดินอาหารสูง ใหพิจารณาใช non-selective NSAIDS รวมกับการใชสาร
ปองกันกระเพาะอาหาร (Gastroprotective agent) ไดแก proton pump inhibitors หรือใชยากลุม
selective COX2 inhibitors
5. พิจารณาใชยากลุม Opioid Analgesics, with or without paracetamol เปนทางเลือกใน
ผูปวยที่
- มีขอหามในการใชยา NSAIDS รวมถึง COX2 selective inhibitors
- ใชยากลุม NSAIDS รวมถึง COX2 selective inhibitors ไมไดผล
- ไมสามารถทนตอยา NSAIDS รวมถึง COX2 selective inhibitors
6. ยากลุม SYSADOA (symptomatic slow acting drugs for OA) ประกอบ ดวย
glucosamine sulphate, Chondroitin sulphate, diacerein และ hyaluronic acid สามารถลดอาการ
ปวด และอาจเปลี่ยนโครงสรางกระดูกออนขอตอ ชึ่งอาจชวยชะลอการเสื่อมของขอเขายากลุมนี้ออกฤทธิ์
ชา และตองใชติดตอกันเปนเวลานาน จึงมีคาใชจายสูง พิจารณาเลือกใช ในผูปวยที่สามารถจายได และงด
การใชในกรณีมีขอหามใช นอกจากนี้มีงานวิจัยวายา diacerein มี carry-over effect และมีความ
ปลอดภัยดีกวายา piroxicam(14)

C. การรักษาแบบผาตัด(1)
1. Tidal knee irrigation พิจารณาวิธีการเจาะเขา โดยฉีดยาชาเฉพาะที่ ลางเขาดวยน้ําเกลือปกติ
ในปริมาณ 2 ลิตร เพื่อทําความสะอาดขอเขา ลดอาการขอยึดติด และลดสาร cytokines ใชในผูปวยที่มีขอ
หามการผาตัดใหญ
Page 92

2. Arthroscope lavage ใชในกรณีที่ผูปวยมี loose body หรือมีการฉีกขาดของ meniscus รวม


ดวย
3. กรณีที่ผูปวยมีการผิดรูปของขอเขามาก พิจารณาทํา Corrective osteotomy
4. กรณีที่ไดรับการรักษาแบบประคับประคอง โดยไมผาตัดแลวไมไดผล ผูปวยยังมีอาการปวด
รุนแรงและทุพพลภาพ จํากัดการทํากิจวัตรประจําวัน ภาพรังสีแสดงการเปลีย่ น แปลงที่รุนแรงของโรคขอ
เขาเสื่อมพิจารณาทํา joint replacement

การฝงเข็มในโรคขอเขาเสื่อม
A. หลักฐานเชิงประจักษการฝงเข็มโรคขอเขาเสื่อมจากอดีตสูปจจุบัน
ในปจจุบนั มีหลักฐานสนับสนุนจากงานวิจัยตีพิมพในวารสารชั้นนํา(15 – 17) ของโลกวาการฝงเข็มมี
ประโยชนในการรักษาโรคขอเขาเสื่อม ทั้งองคการอนามัยโลก(18) สมาคมความรวมมือโรคขอแหงยุโรป
(EULAR)(8) และสถาบันสุขภาพแหงชาติของอเมริกา (NIH)(19) ตางก็ยอมรับวาฝงเข็มมีประโยชนในการ
รักษาโรคขอเขาเสื่อม
โดยในป ค.ศ.1996 องคการอนามัยโลก(18) ไดจัดประชุมฝงเข็มทีเ่ มือง CERVIA ประเทศอิตาลี จัด
ใหการฝงเข็มในอาการปวดเขา (อางอิงงานวิจัยการฝงเข็มในขอเขาเสื่อมทั้งหมด) อยูในกลุมโรค
CATEGORY ONE คือ เปนกลุมโรคที่มีงานวิจัยยืนยันนาเชื่อถือวามีประสิทธิภาพในการรักษาดวยฝงเข็ม
ป ค.ศ.2001 AMERICAN COLLEGE OF RHEUMATOLOGY(20) ไดทบทวนวรรณ กรรมอยาง
เปนระบบ (SYSTEMATIC REVIEW) พบวามีหลักฐานบงชัดวาการฝงเข็มลดอาการปวดไดในโรคขอเขา
เสื่อม
ป ค.ศ. 2003 สมาคมความรวมมือโรคขอแหงยุโรป (EULAR RECOMMENDATION 2003)(8)
กลาววา การฝงเข็มในโรคขอเขาเสื่อมมีความปลอดภัยและแนะนําใหใชการฝงเข็มเปนวิธีรักษาโรคขอเขา
เสื่อมได (STRENGTH OF RECOMMENDATION LEVEL B)
เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2004 สถาบันสุขภาพแหงชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (NATIONAL
INSTITUTES OF HEALTH; NIH NEWS)(19) รายงานวาการฝงเข็มในผูปวยโรคขอเขาเสื่อม ชวยลดปวด
และเพิ่มการทําหนาที่ของขอเขาใหดีขนึ้ ซึ่งเปนการรักษาทางเลือกที่มปี ระสิทธิภาพเทียบเทากับการรักษา
ตามมาตรฐาน
ป ค.ศ.2006 WHITE A et al.(21) ไดทบทวนวรรณกรรมอยางเปนระบบ สรุปวาการฝงเข็มมี
ประสิทธิภาพในการรักษาโรคขอเขาเสื่อม และสามารถพิจารณาใชแทน NSAIDS ได
ป ค.ศ. 2007 กระทรวงสาธารณสุข ประเทศสิงคโปร(22) ไดทําแนวทางการรักษาโรคขอเขาเสื่อม
และแนะนําใหการฝงเข็มในโรคขอเขาเสื่อม เปนการรักษารวมเพื่อลดอาการปวด และเพิ่มการทําหนาที่ของ
ขอเขา โดยคําแนะนํา Grade A, Level 1++
Page 93

ป ค.ศ. 2008 OARSI (OSTEOARTHRITIS RESEARCH SOCIETY INTERNATIO-NAL)(23) ได


จัดทําคําแนะนําการรักษาโรคขอเขาเสื่อม โดยแนะนําใหใชการฝงเข็มในโรคขอเขาเสื่อม Level of
Evidence 1a, Level of Consensus 69 %, Strength of Recommenda-tion 59 % (47 - 71)
ป ค.ศ. 2009 ประเทศออสเตรเลีย(24) โดย National Health and Medical Research Council
(NHMRC) ไดจัดทําแนวทางการรักษาโรคขอเขาเสื่อมโดยไมผาตัด มีหลักฐานสนับ สนุนใหแพทยเวช
ปฏิบัติทั่วไป ใชการฝงเข็มรักษาโรคขอเขาเสื่อมได โดยคําแนะนํา Grade C (Satisfactory)

สรุป หลักฐานเชิงประจักษการฝงเข็มโรคขอเขาเสื่อม

Evidence Acupuncture in OA knee


WHO 1996 Category one

EULAR 2003 Strength of Recommendation (SOR) = Level B


NIH 2004 Serves as standard care
SINGAPORE 2007 Adjunctive , Grade A Level I++

OARSI 2008 Level of Evidence = I a ,


Level of Consensus 69%
SOR 59% (47-71)
AUSTRALIA 2009 Grade C (Satisfactory)

B. การฝงเข็มรักษาโรคขอเขาเสื่อมไดอยางไร
a) ตามทฤษฎีแพทยแผนจีนอธิบายวา อาการปวดเขาเกิดเนื่องจากมีการอุดกัน้ ของพลังลมปราณ
การฝงเข็มจะทําใหลมปราณหมุนเวียนดีขนึ้ ชวยแกไขการอุดกั้นของลมปราณ นอกจากนี้ การฝงเข็มยัง
ชวยปรับสมดุลของรางกาย
b) นอกจากนี้ ในทางการแพทยแผนปจจุบนั มีการศึกษาพบวา การฝงเข็มสามารถลดปวดไดโดย
ผานกลไก 2 ประการ คือ (25)
1. Activation of gate control system และ
Page 94

2. Stimulation of the release of neurochemicals in the central nervous system เนื่องจากมี


การหลั่งสารหลายอยาง โดยพบวาในเรื่องผลลดปวด มีการหลั่งสารสื่อกระแสประสาท
(neurotransmitters) ที่เกีย่ วของกับการลดปวด 6 ชนิด และยังมีการหลั่ง Endorphin
นอกจากนี้ยังมีการศึกษาในปจจุบันพบวา การฝงเข็มชวยลดอาการอักเสบ เนื่องจากมีการเพิ่ม
blood cortisol จึงมีฤทธิ์ยับยั้งการอักเสบอีกทัง้ ยังเพิ่มการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลีย้ งบริเวณที่ฝง เข็มดวย
ในความเห็นสวนตัวของผูเขียน การเลือกใชการฝงเข็มสําหรับรักษาโรคขอเขาเสื่อม ควรพิจารณา
ผูปวย ดังนี้
1. กรณีที่อาการยังรุนแรงไมถึงขัน้ ตองพิจารณารับการรักษาโดยการผาตัด สามารถ เลือกใชการ
ฝงเข็ม รวมกับ
- การรักษาแบบประคับประคองโดยไมใชยา รักษารวมกับวิธีอื่น เชน การแนะนําใหลดน้ําหนัก
ตัว รวมกับแนะนําการบริหารกลามเนื้อรอบขอเขา เปนตน
- การรักษาโดยใชยา มีหลักฐานจากงานวิจัยวา การฝงเข็มชวยลดการใชยา
กลุม NSAIDS
2. ในกรณีทมี่ ีอาการรุนแรงถึงขั้นตองรับการรักษาโดยการผาตัด แตแพทยไมสามารถใหการรักษา
ดวยการผาตัด ไดแก ในกรณี
- ผูปวยมีปญหาสุขภาพที่เปนอุปสรรคในการผาตัด
- ผูปวยปฏิเสธการผาตัด
ซึ่งกรณีเหลานี้อาจพิจารณาเลือกใชการฝงเข็ม เพื่อบรรเทาอาการปวดเขา
งานวิจัยโดย Christensen(26) สรุปวา การฝงเข็มชวยบรรเทาอาการปวดในโรคขอเขาเสื่อมชวงรอ
การผาตัด และบางทีอาจเปนทางเลือกในรายที่ผูปวยปฏิเสธการผาตัด

C. หลักการพิจาณาเลือกใชจุดฝงเข็มในโรคขอเขาเสื่อม
1. ใชเพียง 2 จุดในขอเขา คือ NeiXiYan (EX-LE 4), DuBi (ST 35) เนื่องจากมีงานวิจัยวาใชเพียง
2 จุดนี้ไดผลดี(27 – 28) และจากการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการฝงเข็มระหวางการใชจุดเพียง 2 จุด
คือใชเฉพาะจุด NeiXiYan (EX-LE 4), DuBi (ST 35) กับ 6 จุด คือใชจุด NeiXiYan (EX-LE 4), DuBi (ST
35), ZuSanLi (ST 36), YinLingQuan (SP 9), XueHai (SP 10), LiangQui (ST 34) (29)
สรุป การฝงเข็มโดยใช 2 จุด มีประสิทธิภาพไมตางจากการใช 6 จุด เมื่อใชคา Mean Total
Womac Score เปนตัวชี้วัดหลัก
Page 95

2. กรณีที่ขอเขามีการอักเสบ อาจพิจารณาเลือกใชเฉพาะจุดรอบขอเขา คือใชจุดใกล 4 จุด ไดแก


YinLingQuan (SP 9), XueHai (SP 10), LiangQiu (ST 34), ZuSanLi (ST 36) รวมกับจุดไกล 1 จุด คือ
HeGu (LI 4) (30)
3. กรณีที่มี Tendinitis, Muscle strain รอบขอเขารวมดวย พิจารณาใชจดุ มากขึ้น โดยใชจดุ
NeiXiYan (EX-LE4), DuBi (ST 35) รวมกับใชจดุ ใกล และ จุดกดเจ็บ รอบขอเขา
4. เหมือนขอ 3 แตเสริมจุดไกล (Distant point) รวมดวย
5. กรณีผูสูงอายุ ใชวิธเี หมือนขอ 3 หรือขอ 4 และเสริมจุดบํารุงรางกาย เชน
- บํารุงไต, บํารุงกระดูก, บํารุงเลือดโดยเพิ่มจุด TaiXi (KI 3), KunLun (BL 60), XuanZhong (GB
39), SanYinJiao (SP 6) เปนตน
6. ฝงเข็มรอบกระดูกสะบา (Patella) 4 เลม แบบกังหันลม
อาจารยเฌอเจียน(Che Jian) จากมหาวิทยาลัยการแพทยแผน
จีนเหลียวหนิง ไดแนะนําใหรักษาผูปวยโรคขอเขาเสื่อมดวยวิธีการฝงเข็ม
รอบกระดูกสะบา 4 เลม โดยเข็มแตละเลมจะฝงเรียงลําดับ ตามขอบบน
ขอบดานใน ขอบลาง และขอบดานนอก ลอมรอบกระดูกสะบา แบบกังหัน
ลม (ดังรูป)
เอกสารอางอิง
1. สํานักพัฒนาวิชาการแพทย . กรมการแพทย . กระทรวง
สาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติการวินจิ ฉัยและรักษาโรคขอเขาเสื่อม . พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร :
ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย ; 2548
2. คณะทํางานแนวทางเวชปฏิบัตกิ ารรักษาโรคขอเขาเสื่อม. แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคขอเขา
เสื่อม . วารสารโรคขอและรูมาติสซั่ม. 2550 ; 18 : 83 - 109
3. Kuptniratsaikul V, Tosayanonda O , Nilganuwong S, Thamalikitkul V. The epidemiology
of osteoarthritis of the knee in elderly patients living an urban area of Bangkok. J med Assoc
Thai 2002;85:154-61.
4. สูงชัย อังธารารักษ . Osteoarthritis (OA) 2006 ขอเสื่อม. ใน : อัจฉรา กุลวิสุทธิ์ , ไพจิตต อัศว
ธนบดี. บรรณาธิการ. Rheumatology for the Non-Rheumatologist. พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพ : ซิตี้พริ้นท
จํากัด ; 2549 หนา 8-47.
5. Kellgren J H , and Lawrence J S. Radiological Assessment of Osteo-Arthrosis. Ann
Rheum Dis 1957;16:494-502.
6. Felson DT. Osteoarthritis of the Knee . N Engl J Med 2006 ; 354 : 841- 8.
Page 96

7. Altman R , Asch E , Bloch D , Bole G , Borenstein D , Brandt K , et al. Development of


criteria for the classification and reporting of osteoarthritis. Arthritis Rheum 1986;29(8): 1039-49.
8. Jordan KM , Arden NK , Doherty M , Bannwarth B , Bijlsma JWJ , Dieppe P , et al.
EULAR Recommendations 2003 : an evidence based approach to the management of knee
osteoarthritis : Report of a Task Force of the Standing Committee for International Clinical
Studies Including Therapeutic Trials (ESCISIT). Ann Rheum Dis 2003 ; 62 : 1145-55.
9. American College of Rheumatology subcommittee on osteoarthritis guidelines.
Recommendations for the medical management of osteoarthritis of the hip and knee. Arthritis
Rheum 2000; 43 : 1905-15.
10. สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ. โรค Osteoarthritis. ใน : สมชาย อรรฆศิลป. บรรณาธิการ. Rheumatology
for the Non-Rheumatologist. พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพ : เรือนแกวการพิมพ ; 2544 หนา 131- 60.
11. Goldberg VM, Kettelkamp DB, Colger RA. Osteoarthritis of the knee. In : Moskowitz RW,
Howell DS, Goldberg VM, Mankin HJ, eds. Osteoarthritis Diagnosis and Medical/ Surgical
Management. 2nd ed. Philadelphia : W.B. Suanders Company ; 1992. P.599 – 620.
12. Kuster MS. Exercise Recommendations After Total Joint Replacement, A Review of the
Current Literature and Proposal of Scientifically Based Guidelines. Sports Med 2002 ; 32(7) :
433-45.
13. สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ. โรคขอเสื่อม (Osteoarthritis). ใน : อัจฉรา กุลวิสุทธิ์ ,ไพจิต ต อัศวธนบดี
และ สมชาย อรรฆศิลป. บรรณาธิการ. Rheumatology for the Non-Rheumatologist. พิมพครั้งที่ 1
กรุงเทพ : เรือนแกวการพิมพ ; 2547 หนา 1-41.
14. Louthrenoo W , Nilganuwong S , Aksaranugraha S , Asavatanabodee P ,
Saengnipanthkul S. and the Thai Study Group. The efficacy, safety and carry-over effect of
diacerein in the treatment of painful knee osteoarthritis: a randomised, double-blind, NSAID-
controlled study. Osteoarthritis Cartilage 2007;15;605-14.
15. Berman BM, Lao L, Langenberg P, Lee WL, Gilpin AMK, Hochberg MC. Effectiveness of
acupuncture as adjunctive therapy in osteoarthritis of the knee : a randomized, controlled trial.
Ann Intern Med 2004;141: 901-10.
16. Witt C , Brinkhaus B , Jena S , Linde K , Streng A , Wagenpfeil S et al. Acupuncture in
patients with osteoarthritis of the knee : a randomised trial. Lancet 2005;366: 136-43.
Page 97

17. Vas J, Mendez C, Perea-Milla E, Vega E, Panadero MD, Leon JM et al. Acupuncture as
a complementary therapy to the pharmacological treatment of osteoarthritis of the knee:
randomised controlled trial. BMJ 2004;329: 1216-9.
18. Zhang X . Acupuncture : Review and Analysis of Reports on Controlled Clinical Trials.
WHO Consultation on Acupuncture held in Cervia , Italy in 1996.
19. NIH NEWS National Institutes of Health. Acupuncture Relieves Pain and Improves
Function in Knee Osteoarthritis. File : //F: \ PubMed\Acupuncture and Knee Osteoarthritis,
December 20, 2004.
20. Ezzo J, Hadhazy V, Birch S, Lao L, Kaplan G, Hochberg M, et al. Acupuncture for
Osteoarthritis of the Knee. A Systematic Review. Arthritis Rheum 2001;44(4):819-25.
21. White A , Foster N , Cummings M , Barlas P. The effectveness of acupuncture for
osteoarthritis of the knee – a systematic review. Acupunct Med 2006;24(Suppl):S40-48.
22. Singapore Ministry of Health, Agency for Healthcare Research and Quality (AHRQ).
Guideline Title Osteoarthritis of the knees ; 2007 May : URL; http://www.ahrq.gov.
23. Zhang W., Moskowitz R.W. , Nuki G., Abramson S., Altman R.D., Arden N.,et al. OARSI
recommendations for the management of hip and knee osteoarthritis, Part II : OARSI evidence-
based, expert consensus guidelines. Osteoarthritis and Cartilage. 2008;16:137-62.
24. National Health and medical Research Council (NHMRC), Royal Australian College of
General Practitioners. Guideline for the non-surgical management of hip and knee
osteoarthritis : July 2009.
25. Berman BM , Singh BB , Lao L , Langenberg P , Li H , Hadhazy V , et al. A randomized
trial of acupuncture as an adjunctive therapy in osteoarthritis of the knee. Rheumatology
(Oxford) 1999 ; 38 : 346-54.
26. Christensen BV , Iuhl IU , Vilbek H, Bulow HH, Dreijer NC.and Rasmussen HF
Acupuncture treatment of severe knee osteoarthrosis. A long-term study. Acta Anaesthesiol
Scand 1992;36 :519-25.
27. NG M M L , Leung MCP , Poon D M Y , Phil M. The effects of electro-acupuncture and
transcutaneous electrical nerve stimulation on patients with painful osteoarthritic knees: A
randomized controlled trial with follow-up evaluation. J Altern Complement Med 2003;9(5):641-
9.
Page 98

28. Cheng D. 100 Diseases treated by single point of acupuncture and moxibustion.
Beijing,China : Foreign Languages Press; 2001.
29. Taechaarpornkul W., Suvapan D., Theppanom C., Chanthipwaree C., Chirawatkul A.
Comparison of the effectiveness of six and two acupuncture point regimens in osteoarthritis of
the knee : a randomised trial. Acupunct Med. 2009; 27:3-8.
30. Tillu A , Tillu S , Vowler S . Effect of Acupuncture on Knee Function in Advanced
Osteoarthritis of the Knee : A Prospective, Non-Randomised Controlled Study . Acupunct Med
2002 ; 20(1) : 19-21.

รูปที่ 16 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคขอเขาเสื่อม
Page 99

ปวดขอสะโพก
(Hip Joint Pain : 髋关节痛)
ขอสะโพก เปนขอที่หมุนไดโดยรอบ การทําหนาที่จําเปนตองการความมั่นคงแข็งแรงอยางมาก ขอ
สะโพกจึงถูกสรางขึ้นอยางไดสัดสวนและปดมิดชิด โดยหัวกระดูกตนขาเปนรูป ทรงกลมและอยูใ นเบาลึก
ภายนอกยังไดรับการเสริมใหแข็งแรงดวยแคปซูลหนาขึงจากขอบ Acetabulum กับแนวระหวาง
Trochanteric ของกระดูกตนขา (Ilio – femoral ligament)
ผูปวยสวนใหญ ที่มาพบแพทยดวยปญหาขอสะโพก มักมีอาการของความเจ็บปวด ขอติดแข็ง เดิน
กระเผลก หรือมีการผิดรูป สาเหตุที่พบบอยเกิดจากขอเสือ่ มสภาพ ซึ่งเปนการเสื่อมสภาพของกระดูกออน
ผิวขอ และการงอกของกระดูกซึ่งอยูประชิดขอ สวนใหญโรคนี้เปนมากในวัยกลางคน ผูสูงอายุ พบในเพศ
หญิงมากกวาเพศชาย คนอวน หรือขอสะโพกไดรับบาดเจ็บมากอน

อาการและอาการแสดง
อาการปวดขอสะโพก อาจอยูเฉพาะที่ขาหนีบ และจากขาหนีบอาจราวลงไปดานในหรือดานหนา
ของโคนขา อาการปวดอาจเกิดขึน้ ที่บริเวณ Greater trochanter และราวตามแนว Fascia Lata ไปยังเขา
หรืออาจปวดทางดานหลังบริเวณ Ischial Tuberosity ซึง่ ตองแยกออกจากอาการปวดจากเสนประสาทไซ
แอติก เมื่อเคลื่อนไหวขอสะโพก จะทําใหอาการปวดขอสะโพกเพิ่มมากขึน้
ในระยะแรก ผูปวยอาจรูสึกขอสะโพกติดแข็ง หลังจากการไมเคลื่อนไหวระยะหนึ่ง เชน หลังจากนั่ง
เปนเวลานาน หรือตื่นนอนตอนเชา เมื่อขอสะโพกเสื่อมสภาพอยางมาก จะตรวจพบขอสะโพกติดแข็ง พิสัย
การเคลื่อนไหวขอสะโพกจะคอย ๆ ลดลงตามลําดับ คือ จะหมุนบิดขาไมไดกอน และตามดวยกางขาและ
หุบขาไมได แตยังงอสะโพกไดจนถึงระยะสุดทาย ผูป วยอาจลําบากในการสวมถุงเทาและรองเทาขางนั้น
ผูปวยมักเดินกระเผลก เพื่อใหอาการปวดนอยลงขณะลงน้ําหนักตัว ทาเดินที่เปนแบบฉบับของโรค
ขอสะโพก คือเดินสะโพกเอียง หรือเรียกวา Trendelenburg gait

การตรวจทางหองปฏิบัติการและการตรวจภาพรังสี
การตรวจทางหองปฏิบัติการ มักไมพบความผิดปกติทจี่ ําเพาะตอโรค จึงไมมีความจําเปนตองตรวจ
เลือดเพื่อวินจิ ฉัยโรคนี้
Page 100

การตรวจภาพรังสีขอสะโพกเสื่อม อาจพบชองวางระหวางกระดูกแคบลง ขอบกระดูกแข็งมีตงิ่ กระดูก


งอกยื่นออกไป การเปลีย่ นแปลงที่เห็นจะมากหรือนอย แลวแตระยะเวลาที่มีภาวะขอเสื่อม โดยทั่วไป
ภาพรังสีอาจไมสัมพันธ หรือสอดคลองกับอาการปวดขอของผูปวย กลาวคือ ภาพรังสีอาจพบขอเสื่อม
รุนแรง แตผูปวยปวดเล็กนอยหรือไมมีอาการ หรือภาพรังสีพบขอเสื่อมไมมาก แตผูปวยมีอาการปวดรุนแรง
ได

หลักการรักษา
ถาขอสะโพกไมถูกทําลายมาก สามารถรักษาอาการปวดและขอฝดได ดวยการใชยา เวชศาสตรฟน ฟู
เชน กายภาพบําบัด ใชเครื่องพยุงการเดิน อาจชวยลดอาการปวดได ขาขางที่สั้นอาจเสริมพื้นรองเทา
การผาตัด และการเปลีย่ นขอสะโพก ตองพิจารณาความเหมาะสมในผูป วยแตละราย

การวินิจฉัยและรักษาดวยศาสตรการแพทยแผนจีน
อาการปวดขอสะโพก ตามศาสตรการแพทยแผนจีน จัดอยูในกลุมอาการ “ปเจิ้ง” (Bi Zheng or Bi
syndrome) มีสาเหตุจากความเย็นชื้นมากระทําตอเสนลมปราณบริเวณสะโพก การบาดเจ็บ หรือตับและ
ไตพรอง การฝงเข็มในระยะแรกมักไดผลดี

อาการและอาการแสดง
ในระยะแรก มักเกิดจากความเย็นชื้นเขากระทําตอเสนลมปราณ มีอาการปวดหนัก ลาที่สัมพันธกับ
การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ลิ้นมีฝาขาวเหนียว ชีพจรลื่นหรือตึงแนน
(HuaMai or XuanJinMai)
เมื่อนานวัน จะเกิดการติดขัดทําใหการเคลื่อนไหวขอสะโพกไมสะดวก รวมกับอายุที่มากขึ้นทําใหเกิด
ตับและไตพรอง มีอาการเมื่อยลาเวลาเดิน หรือรับน้ําหนักมากเพิ่มขึน้ เชน หาบของ หรือยกของ มักมี
อาการปวดราวสะโพกบริเวณขาหนีบ ตนขาดานใน และหัวเขาดานใน ตามแนวเสนลมปราณตับและไต ชีพ
จรจมออน (RuoMai)

การรักษา ดวยการฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
หลักการรักษา: ปกเข็มเฉพาะที่กอน เพื่อทะลวงเสนลมปราณ ใหชี่และเลือดไหลเวียนดีขึ้น แลวจึง
เสริมบํารุงตับและไตในระยะตอมา
วิธีที่ 1
จุดใกล: HuanTiao (GB 30) 3 – 5 เลม โคงตามแนวหัวกระดูกตนขา โดยใชเข็มยาว 2 ชุน เพื่อ
กระตุนการไหลเวียนของชี่และเลือด
จุดไกล: YangLingQuan (GB 34), XuanZhong (GB 39), TaiXi (KI 3),
ZhaoHai (KI 6)
Page 101

อธิบาย: YangLingQuan (GB 34) เปนจุดอิทธิพลของเสนเอ็น, XuanZhong (GB 39) เปนจุด


อิทธิพลของไขกระดูก ใชรกั ษาโรคของเอ็นและกระดูก; TaiXi (KI 3), ZhaoHai (KI 6) ใชเสริมบํารุงไต;
HuanTiao (GB 30) ใชเครื่องกระตุนเข็มไฟฟา
วิธีที่ 2
จุดหลัก: HuanTiao (GB 30), JuLiao (GB 29), XuanZhong (GB 39)
จุดเสริม: ZuLinQi (GB 41), QiuXu (GB 40), ShenMai (BL 62), TaiBai (SP 3),
ChongMen (SP 12)
อธิบาย: HuanTiao (GB 30) ใชเข็มอุน เพื่อขับความเย็นชื้นและทะลวงเสนลมปราณ ปกลึกกวา 2
ชุน; JuLiao (GB 29) เปนจุดเฉพาะที่ใชรวมกับ HuanTiao (GB 30); XuanZhong (GB 39) จุดอิทธิพล
ของไขกระดูก ใชรักษาโรคของกระดูก; ZuLinQi (GB 41) เปนจุด Shu-Stream ของเสนลมปราณถุงน้ําดี
ใชรักษาอาการปวดขอ เมื่อยเนื้อหนักตัว และเปนจุดเชื่อมโยงเสนลมปราณตาย ซึ่งผานขอสะโพก; QiuXu
(GB 40) เปนจุดเหยียนของเสนลมปราณถุงน้ําดี ใชระงับปวด; ShenMai (BL 62) เปนจุดเชื่อมโยงเสน
ลมปราณหยางเฉียว ที่ผานขอสะโพก ซึ่งเกีย่ วของกับการเคลื่อนไหว จุดนี้เหมาะกับขอติดแข็ง; TaiBai (SP
3), ChongMen (SP 12) ใชกรณีปวดขอสะโพกราวมาที่ขาหนีบ

ตัวอยางผูปวย
ผูปวยหญิงไทยหมาย อายุ 56 ป อาชีพหาบขนมขาย ผูปว ยมีอาการปวดเสียวขาหนีบดานในขาขวา
เปนมานานกวา 3 ปเคยพบแพทยหลายครั้ง แจงวาเปนเอ็นขาหนีบอักเสบ ไดยารับประทานอาการดีขึ้นแต
ไมหายขาด ประมาณ 1 ป ที่ผานมาผูป วยหกลมกนกระแทกพื้นถนน มีอาการปวดกระเบนเหน็บ แกมกน
ขวา ราวมาดานในขาหนีบ พบแพทยที่โรงพยาบาลไดรับแจงวาเปนกลามเนื้อฟกช้ํา โดยไมไดตรวจ
เอกซเรย ผูปวยมีอาการปวดแกมกนขวาและปวดราวขาหนีบเรื่อยมา และจะมีอาการมากขึ้น ถาเดินหาบ
ของหนัก ๆ ตรวจรางกายพบ กําลังกลามเนื้อขาสองขางเทากัน ไมพบออนแรง SLR test 70 องศา, ตรวจ
ภาพรังสี พบชองวางขอสะโพกแคบทั้งสองขาง และมี Spur ไดรับการวินิจฉัยวา ปวดขอสะโพกจากขอ
เสื่อม ไดรับยารับประทานประมาณ 2 เดือน อาการไมทุเลา
ประวัติเพิ่มเติม ผูปวยมีอาการเมื่อยเอว เขาออนเปนบางครั้ง กลัวหนาว ปสสาวะบอยตอนกลางคืน
หลังเทาบวม ตรวจลิน้ คอนขางคล้ํามีฝาขาว ชีพจรเล็กและฝด ผูปวยไดรับการวินจิ ฉัยวา ปวดขอสะโพก
จากหยางชี่ของไตพรองและเลือดคัง่
หลักการรักษา บํารุงหยางชี่ไต สลายเลือดคัง่ ระงับปวดสะโพก
เนื่องจากผูปวยมีอาการปวดสะโพก ซึ่งรบกวนการดําเนินชีวิตประจําวัน ดังนัน้ แผนการรักษาจึงตอง
บรรเทาอาการปวดใหทเุ ลาลงไประดับหนึ่งกอน แลวจึงบํารุงไตหยางภายหลัง
Page 102

จุดหลัก: HuanTiao (GB 30) ฝงเข็ม 3 เลม รอบหัวกระดูกตนขาขางขวา รวบหัวเข็มติดขั้วลบ ใช


จุด FengShi (GB 31) ติดขั้วบวก ใสเครื่องกระตุน เข็ม, YangLingQuan (GB 34), XuanZhong (GB 39)

จุดเสริม: TaiXi (KI 3)


นัดผูปวยมาทําสัปดาหละ 2 ครั้ง ๆ ละ 40 นาที 10 ครั้งเปน 1 รอบการรักษา หลังฝงเข็มได 6 ครั้ง
ผูปวยอาการปวดดีขึ้น จึงไดปกจุดเสริมบํารุงไตหยาง เพิม่ รมยาจุด MingMen (GV 4), ใชเข็มอุน QiHai
(CV 6) และ GuanYuan (CV 4)

รูปที่ 17 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดขอสะโพก

ปลายประสาทผิวหนังตนขาอักเสบ
(Latero – Femoral Cutaneous Neuritis : 股外侧皮神经炎)
Page 103

อาการอักเสบของปลายประสาท femoral nerve ที่มาเลี้ยงผิวหนังดานหนา-ขางตนขา (antero-


lateral thigh) อาจมีอาการไดหลายแบบ และมักเปนขางเดียว เชน มีอาการชา หรือมีความรูสึกเหมือนมด
ไตหรือแมงมุมไตหนาตนขา บางรายอาจมีอาการปวดเหมือน เข็มทิ่มแทง สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของ
ประสาทรับความรูสึกที่วิ่งลอดใต Inguinal ligament มายังสวนผิวหนังบริเวณดานหนา-ขางตนขา เกิด
การอักเสบแบบไมติดเชื้อ (aseptic inflam-mation) หรือเลือดมาเลี้ยงไมพอจากการถูกกดทับ ผูปวยหลาย
รายมักถูกสงไปพบจิตแพทย ตามศาสตรการแพทยแผนจีน เชื่อวาเกิดจากเสียชี่ภายนอก เชน ลม ความ
เย็น ความชื้น หรือประสมกันมากระทําตอเสนลมปราณกระเพาะอาหาร หรือเสนลมปราณถุงน้ําดี หรือทั้ง
สองเสน พบไดบอยในหญิงตั้งครรภ ตั้งแต 8 เดือนขึ้นไป หรือในคนอวน มีการกดเสนประสาท femoral
nerve ดังกลาวขางตน

การรักษาดวยการฝงเข็ม
หลักการรักษา: ขจัดเสียชี่ ทะลวงเสนลมปราณ กระตุนการไหลเวียนของเลือดลม
วิธีที่ 1 รักษาดวยเข็มเจ็ดดาว
วิธีการ: ทาผิวหนังดวยวาสาลีนบริเวณตนขา แลวใชเข็มเจ็ดดาวเคาะผิวหนังตามเสนลมปราณ จนมี
สีแดงเรื่อ ๆ ไมตองมีเลือดออก
- เสนลมปราณกระเพาะอาหาร เคาะตัง้ แตจุด LiangQiu (ST 34) จนถึงจุด BiGuan (ST 31)
- เสนลมปราณถุงน้ําดี เคาะตั้งแตจดุ JuLiao (GB 29) จนถึงจุด FengShi (GB 31)
ทําซ้ําทุก 4 – 7 วันตอครั้ง 4 ครั้ง เปน 1 รอบการรักษา ตามสภาพผูปวยจะทนได อาจทําครอบ
กระปุกรวมดวยก็ได
วิธีที่ 2 รักษาดวยการครอบกระปุกเคลื่อน (Moving Cupping) แทนเข็มเจ็ดดาว ตามเสนลมปราณ
ขางตน เคลื่อนครอบกระปุกไปมาประมาณ 5 – 10 รอบ หรือจนผิวหนังแดงเปนเรื่อ ๆ รวมกับมีจุด
เลือดออก ( Petechiae ) ทําซ้ําทุก 4 วัน 4 ครั้งเปน 1 ระยะการรักษา

ตัวอยางผูป วย
หญิงไทย หมาย อายุ 62 ป อาชีพแมบาน มีอาการคันคลายแมงมุมไตบริเวณดานนอกหนาตนขา
ซาย เปนมานานประมาณ 2 ป อาการจะเปนมากในชวงสาย ๆ เปนทุกวัน กลาง คืนวันไหนรับประทานยา
นอนหลับ จะหลับไปไมรูสึกอะไร แตถาตืน่ ยามดึกจะมีอาการทันที ทําใหนอนไมหลับ เคยไปพบจิตแพทย
ไดรับการวินิจฉัยวา อาจเปนโรคหลงผิด ไดรับยาประมาณปกวา อาการไมดีขึ้น และมีอาการวิงเวียนศีรษะ
หนามืดจะเปนลมบอยหลังกินยาจิตเวช ผูปวยไดหยุดยาเองมาเปนเวลาหลายเดือน อาการคลายแมงมุมไต
หนาตนขายังคงมีอยูตลอด ตรวจรางกาย ตนขาซายไมพบผิดปกติ นอกจากชา รับรูสัมผัสลดลงเล็กนอย
ไดรับการวินิจฉัยเบื้องตนวาเปน ปลายประสาทผิวหนังบริเวณตนขาอักเสบ ไดยารับประทานประมาณ 1
เดือน อาการไมทุเลา
Page 104

ประวัติเพิ่มเติม ผูป วยตองใชยานอนหลับเปนประจํา ตั้งแตหยาขาดจากสามีมา 25 ป ออนเพลีย


เหนื่อยงาย รูสึกอึดอัดใจเปนบางครั้ง เบื่ออาหาร ลิ้นซีดมีฝาขาวบาง ชีพจรออน-เล็ก ไดรับการวินิจฉัยวา มี
เลือดลมพรอง รวมกับปลายประสาทผิวหนังตนขาซายอักเสบจากลมเย็นรุกราน
หลักการรักษา ขจัดลมเย็น บํารุงเลือดลม ระงับอาการคัน (เลือดดี ลมก็หายไป)
วิธีการรักษา ใชเข็ม 7 ดาวเคาะ ดานขางตนขาซายลงมาจนถึงจุด FengShi (GB 31) ประมาณ 10
นาทีจนผิวหนังสีออกแดงเรื่อ หลังจากนัน้ ใชครอบกระปุก ประมาณ 10 นาที
จุดเสริม ZuSanLi (ST 36), SanYinJiao (SP 6)
นัดผูปวยมาทําซ้ําทุก 7 วัน 4 ครั้ง เปน 1 รอบการรักษา รักษาได 7 ครั้ง ผูปวยแจงวาอาการทุเลา
ลงมาก

รูปที่ 18 แสดงจุดฝงเข็มรักษาอาการปลายประสาทผิวหนัง
ตนขาอักเสบ
Page 105

โรคขออักเสบรูมาตอยด
( Rheumatoid Arthritis : 类风湿性关节炎)
ขออักเสบรูมาตอยด เปนโรคทาง Autoimmune ที่มีการดําเนินของโรคเรื้อรัง โดยยังไมทราบสาเหตุ
แนชัด ขณะนีย้ ังไมมีการรักษาใหหายขาด แพทยแผนปจจุบันใชยาตานการอักเสบ (Nonsteroidal
antirheumatic drugs - NSAIDs) เพื่อลดอาการเจ็บปวดของขอที่อักเสบ ยาปรับการดําเนินของโรค (Slow
acting antirheumatic drugs) สเตียรอยด และ สารชีวภาพ (Biologic Agent) เพื่อควบคุมการดําเนินของ
โรค ซึ่งแพทยตองระวังผลขางเคียง และยากลุมชีวภาพมีราคาคอนขางสูง
ในประสบการณการดูแลผูป วยขออักเสบรูมาตอยดที่ควบคุมไดยาก ปจจัยหนึ่งที่พบไดบอยคือ
ความเครียด ความรูสึกเศราสรอย ซึ่งจําเปนอยางยิ่งทีต่ องไดรับการแกไข ซึ่งการรักษาแบบผสมผสาน คือ
การที่ผูปวยไดรับยาปรับการดําเนินของโรคจากแพทยแผนปจจุบันและไดรบั การฝงเข็มตามการแพทยแผน
จีน โดยเลือกจุดฝงเข็มตาง ๆ ตามรายละเอียดในบทความนี้ สิ่งสําคัญที่สดุ ทีจ่ ะทําใหอาการของโรคสงบ
คือ การอธิบายใหผูปวยเขาใจวาการรักษาตองใชเวลา เปนการรักษาระยะยาว แพทยมหี นาทีก่ ําหนดการ
ใชยาตาง ๆ และแนะนําการปฏิบัตติ นซึ่งตองอาศัยความรวมมือและความรับผิดชอบจากผูป วยในเรื่องของ
การปรับสมดุลกาย-ใจ ฝกทักษะการคิดในแงบวก การออกกําลังกาย ภาวะโภชนาการและน้ําหนักตัวที่
เหมาะสม ตลอดจนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมตาง ๆ โดยประสบการณสวนตัวมักเลือกจุดฝงเข็มที่ชวย
ใหเกิดการผอนคลาย แกไขปญหาการนอนหลับ และอาการทองผูก ในรายที่มปี ญหาความเครียดซึ่งมักมี
ทั้งปญหาการนอนหลับที่ไมมีคณ ุ ภาพและเกิดอาการทองผูกรวมดวย
แพทยจนี สมัยโบราณถือวาโรคขออักเสบรูมาตอยด (RA) เปนความผิดปกติจดั อยูในกลุม “Bi
Syndrome” คือ เปนความผิดปกติที่ครอบคลุมโรคปวดขอ ปวดกลาม ขอเสื่อม ขออักเสบทุกชนิด ซึ่งแตละ
ชนิดของความผิดปกติจะมีรายละเอียดของสาเหตุ พยาธิสภาพ
อาการ และการทํานายโรคที่แตกตางกัน
ในระยะหลังมีการแยก RA ออกมาเปน Wang bi หรือ Wan bi คือ Stubborn Bi Syndrome (โรค
ปวดขอที่ควบคุมยาก) คําทีเ่ หมาะสมของ RA คือ ขอตอที่มีอาการปวดมาก Li Jie ( Joint with severe
pain)

สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
Page 106

ปจจัยทีเ่ ปนสาเหตุของการเกิดโรครูมาตอยดมีหลายปจจัย ไดแก


1. ปจจัยภายในรางกายของผูปวยออนแอ ภูมิตา นทานบกพรอง เจิ้งชี้พรอง ทําใหเกิดความ
พรองของตับและไต สารจิงและเลือดไมพอ การทํางานของตับบกพรองสงผลตอเสนเอ็นไตบกพรองสงผล
ตอกระดูกตาง ๆ ซึ่งปกติระบบเอ็นและกระดูกไดรับการหลอเลี้ยงจากเลือดและหยางชี่ของตับและไต
2. ปจจัยภายนอกทีม่ ากระทํา ไดแก ลม ความเย็น ความชื้น ทําใหเสนลมปราณอุดกั้น การ
ไหลเวียนของชี่และเลือดติดขัด เกิดภาวะเลือดคัง่ มีความรอนสะสมและเสมหะตกคาง “ลม” ทําใหเกิด
อาการปวดขอที่แปรเปลี่ยน “ความเย็น” ทําใหเกิดการอุดกั้นของชี่และเลือด ทําใหเกิดอาการปวดมาก ขอ
ตอและเอ็นหดรั้ง เคลื่อนไหวลําบาก “ความชืน้ ” จะทําใหเกิดอาการหนัก หนืด ติดแนน ยึดติด เฉื่อยชา
บวม ตึง ถาเสียชี่เหลานี้รุกรานอยางตอเนื่อง กอใหเกิดความรอน อุดกั้นการไหลเวียนของลมปราณและ
เลือดโดยเฉพาะเสนลมปราณและเสนเลือดบริเวณกลามเนื้อและขอตอ ถายังไมไดรับการรักษาจะแผขยาย
ไปทั่วรางกาย อินดั้งเดิมพรอง เลือดพรอง จะเกิดความรอนภายใน รางกายทีม่ ีความรอนทําใหน้ําหลอ
เลี้ยงรางกายแหงเกิดเปนเสมหะ ความรอนและเสมหะจะทําใหอุดกัน้ เสนลมปราณและเลือดที่มาหลอเลี้ยง
ขอตอ เกิดอาการ บวม ตึง อักเสบ และ ผิดรูป เปน วัฎจักรที่ทําใหโรคนี้เรื้อรัง
3. การเสียสมดุลของอารมณทั้งเจ็ด อารมณโกรธ คิดมาก กังวล สงผลทําใหการไหลเวียนของชี่
ติดขัด ปกติชี่จะทําใหเกิดพลังความอบอุน และเลือดจะสงอาหารและความชุมชืน้ หลอเลีย้ งรางกาย เมื่อชี่
ติดขัดจะมีผลตอระบบไหลเวียนของเลือด เกิดภาวะเลือดคั่ง ทําใหเกิดอาการปวดอยางรุนแรง จึงควร
แนะนําผูปวยใหมีความตระหนักวาอารมณเหลานี้มี
ผลทําใหโรคกําเริบได
4. ความเสียสมดุลของการทํางานและการพักผอน การทํางานที่ตรากตรําทําให หยางชี่พรอง
สงผลใหภูมิตานทานของรางกายบกพรอง เสียชี่ ลม ความเย็น และ ความชื้น จึงรุกรานไดงาย การมี
กิจกรรมทางเพศที่มากเกินควรมีผลใหจิงชี่ลดลง มีผลตอภูมิตานทานของรางกาย ขณะเดียวกันการ
พักผอนมากเกินไป จะมีผลทําใหหนาที่ของมามและกระเพาะอาหารผิดปกติ ทําใหการลําเลียงอาหารและ
การยอยเปลีย่ นรูปพลังงานของอาหารบกพรอง ทําใหการสรางชี่และเลือดลดลง การดํารงชีวิตที่ขาดการ
ออกกําลังกาย จะมีผลใหกดี ขวางการไหลเวียนของชี่และเลือด มีผลตอตับและไต และสงผลตอเสนเอ็น
และกระดูกทั่วรางกายออนแอ การอุดกั้นของชี่ เลือดและน้ําหลอเลี้ยง กอใหเกิดเสมหะตกคางโดยเฉพาะ
ในขอตอ แพทยจงึ ควรแนะนําผูป วยใหเปลีย่ นวิกฤตเปนโอกาส ปรับสมดุลการใชชีวิตใหเหมาะสมสง ผลดี
ตอสุขภาวะองครวม และทําใหโรคขออักเสบรูมาตอยดสงบ

หลักการรักษา
ระยะแรกใชหลักการขจัดเสียชี่ คือ การไลลมเย็น ระบายชื้น ขับรอน กระตุน การไหลเวียนของชี่
และการไหลเวียนของเลือด
Page 107

ระยะทายมีอาการทั้งแกรงและพรอง บํารุงตับไต เสริมมาม เพิ่มการไหลเวียนของเลือด ขจัด


เสมหะ ขอสําคัญที่ตองรักษา คือ การบํารุงหยางชี่ และระบายความชื้น

การแบงตามระยะของโรค
1. ระยะแรก โรคยังคงอยูใ นเสนลมปราณหลัก ใหเนนรักษาเรื่อง การขับเคลื่อนของชี่ โดยขจัดเสียชี่
ตาง ๆ ทั้งลม ความเย็นและความชืน้ อุนหยาง และบํารุงเหวียนชี่
อาการปวดจาก ลม-ความเย็น-ความชื้น (wind-cold-damp bi) อาการปวดขอและกลามเนื้อ งอและ
เหยียดขอลําบาก เสียชี่เปนลม อาการปวดจะเคลื่อนแผกระจายไปหลายขอ “ความเย็น” เดนจะเกิดอาการ
ปวดมาก และอาการเพิ่มมากขึ้นเมื่อเกิดความเย็น อาการดีขึ้นจากความอบอุน “ความชื้น” ผูปวยจะรูสึก
หนักเนื้อตัว ขอที่อักเสบจะเคลื่อนไหวไดยาก จะรูสกึ ฝดขัด อาจมีไข ลิ้นซีด ฝาขาวบาง หรืออาจหนา ชีพจร
ลอย เล็ก แนน เบา
ยาสมุนไพร มีการขจัดเสียชี่ตางๆ ขับไลลม แปรเปลี่ยนพลังความชื้น ทําใหลดอาการปวด สมุนไพร
บางตัวออกฤทธิ์ไดดีกบั เสนลมปราณเฉพาะบางเสน บางตัวออกฤทธิ์ไดดีรักษาอาการปวดเหนือเอว โดย
เฉพาะที่ไหลและหลัง บางออกฤทธิ์ไดดีที่ขอตอของรางกายต่ํากวาเอว บางจะบํารุงเลือดและประสานการ
ทํางานของสมุนไพร ซึ่งจะไมพูดถึงรายละเอียดของสมุนไพรตาง ๆ ในบทความนี้
2. ระยะเรื้อรัง เสียชี่กอใหเกิดพยาธิสภาพเขาไปในแขนงของเสนลมปราณ (ลั่ว) ใหเนนการรักษา
โดยการบํารุงเลือด ใชสมุนไพรทีบ่ ํารุงหลอเลีย้ งอิน และทะลุทะลวงแขนงตางๆ ของเสนลมปราณ สลาย
เลือดคั่งและบํารุงเลือด โดยบํารุงชี่และอุนหยางรวมดวย
3. ระยะทาย พยาธิสภาพเขาไปลึกถึงกระดูก จําเปนตองใชสมุนไพรบํารุงตับและไต ใหเกิด
สารอาหารที่จําเปน จิง (Essence) อุนหยาง (Original Yang) ขจัดความรอน ขับไลความชื้น เสมหะ สลาย
ความเย็นและภาวะเลือดคั่ง การรักษาแบงเปน 3 อยางที่จาํ เปน ไดแก
 บํารุงเหยียนชี่ ซึ่งเปนการแกทตี่ นเหตุ
 ไลความชื้น บํารุงมาม
 ปลดปลอยขอตาง ๆ จากสารพิษที่รุกราน
กฎ 4 ประการ
 อุนไต รักษา cold bi
 บํารุงอิน รักษา Heat bi
 ทะลุทะลวง การติดขัดของเสนลมปราณ รักษา cold-heat complex
 บํารุงเลือดรวมกับขับไลเสียชี่

การรักษา
Page 108

ศาสตรการแพทยแผนจีนใชสมุนไพรรวมกับการฝงเข็ม รมยา ครอบกระปุก การอบ


สมุนไพร แลวแตวาเปนระยะใดของโรค แพทยตรวจพิจารณาจากเจิ้งชี่พรองเพียงใด ระบบ
การไหลเวียนของเลือดและการพอเพียงของเลือด ภาวะอินหยางของอวัยวะภายใน

การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
หลักการรักษา: บํารุงตับและไต มีผลทําใหเสนเอ็นและกระดูกแข็งแรงขึ้น ทะลวงเสนลมปราณที่
ติดขัด ทําใหลดอาการปวด
จุดฝงเข็ม:
- DaZhu (BL 11) เปนจุดอิทธิพลของกระดูก ทะลวงเสนลมปราณ ลดอาการปวด
- ShenShu (BL 23) บํารุงตับและไต มีผลทําใหกระดูกแข็งแรงขึ้น
- ZuSanLi (ST 36) บํารุงมามและกระเพาะอาหาร เพิ่มชี่และเลือด
- SanYinJiao (SP 6) บํารุงมามและขจัดชี่ที่อุดตัน
 สําหรับอาการปวด MCP และ ขอมือ ใหเพิ่มจุด YangChi (TE 4), HeGu (LI 4),
และ HouXi (SI 3)
 สําหรับอาการปวดเขา ใหเพิม่ จุด DuBi (ST 35), KunLun (BL 60), TaiXi (KI 3) และ QiuXu
(GB 40)
 สําหรับอาการปวดอักเสบขอไหล ขอศอก และขอสันหลัง ใหเพิ่ม JianYu (LI 15),
JianZhen (SI 9), JianLiao (TE 14), QuChi ( LI 11), จุด HuaTuoJiaJi และจุด AShi

1. โรคขออักเสบรูมาตอยดอกั เสบ ชนิด ลมเย็นชื้น (Wind-cold-damp Bi)


หลักการรักษา: ขจัดความเย็นชืน้ และลม ทะลวงเสนลมปราณ
จุดหลัก: DaZhui (GV 14), QiHai (CV 6), GuanYuan (CV 4), ShenQue (CV 8)
- ถามีอาการขอไหลอักเสบ เพิ่ม JianLiao (TE 14), JuGu (LI 16), QuChi (LI 11)
- ถามีอาการขอศอกอักเสบ เพิ่ม QuChi (LI 11), ChiZe (LU 5), ShaoHai (HT 3)
และ ShouSanLi (LI 10)
- ถามีอาการขอมืออักเสบ เพิม่ YangChi (TE 4), YangXi (LI 5), DaLing (PC 7),
HeGu (LI 4) และ WaiGuan (TE 5)
- ถามีอาการ MCP อักเสบ เพิ่ม BaXie (EX-UE 9), HeGu (LI 4) และ SanJian (LI 3)
- ถามีอาการขอนิ้วมืออักเสบ เพิ่ม SiFeng (EX-UE 10)
- ถามีอาการขอสะโพกอักเสบ เพิ่ม HuanTiao (GB 30), JuLiao (GB 29)
และ YangLingQuan (GB 34)
- ถามีอาการขอเขาอักเสบ เพิ่ม NeiXiYan (EX-LE 4), XiYan (EX-LE 5),
Page 109

LiangQiu (ST 34) WeiZhong (BL 40), XiYangGuan (GB 33), QuQuan (LV 8)
และ YangLingQuan (GB 34)
- ถามีอาการขอเทาอักเสบ เพิ่ม KunLun (BL 60), TaiXi (KI 3), JieXi (ST 41),
QiuXu (GB 40) และ RanGu (KI 2)
- ถามีอาการ Metatarsal อักเสบ เพิ่ม BaFeng (EX-LE 10), NeiTing (ST 44)
และ TaiChong (LV 3)
- ถามีอาการขอตอบริเวณสันหลังอักเสบ ใหใชจดุ เหลานี้สลับกัน คือ DaZhui (GV 14),
ShenZhu (GV 12) และ YaoYangGuan (GV 3) และ จุด HuaTuoJiaJi (EX-B 2) ของบริเวณขอสันหลังที่
ปวด
การฝงเข็ม แตละครั้งเลือกใชเพียง 6 - 10 จุดสลับกัน หรือแลวแตความทนไดของผูปวย
การขจัดลมและลดความรอน ใชเข็มปกคอนขางตื้นและกระตุนระบาย แตถาเปนความเย็นและ
ความชื้น ควรใชการฝงเข็มรวมกับการรมยาหรือเข็มอุน
การกระตุนเข็ม: ใชการกระตุนเบา ๆ หรือ ระบาย แลวแตพยาธิสภาพ อาจใชเข็มอุน หรือ รมยา
โดยเฉพาะที่ GuanYuan (CV 4), QiHai (CV 6) และ ShenQue (CV 8) อาจใชรมยา 20-30 นาที โดยการ
คั่นขิง 7 - 9 cone

2. โรคขออักเสบรูมาตอยดอกั เสบ ชนิด ลมชื้นรอน ( Wind-damp-heat Bi)


หลักการรักษา: ขจัดความรอน ความชื้นและลม ทะลวงเสนลมปราณที่อุดตัน
จุดหลัก: DaZhui (GV 14), ShenZhu (GV 12), QuChi (LI 11) โดยทั้ง 3 จุด ใชการกระตุน เข็ม
ปานกลางและไมตองคอเข็ม
จุดเสริม: เพิ่มจุดตามอาการทีเ่ กิดกับขอตาง ๆ โดยใชหลักการเชนเดียวกับขอ 1
ขอที่อักเสบ บวม แดง อาจคาเข็มรอบ ๆ ขอ 10-15 นาที ถอนเข็มแบบระบาย คือ หมุนรูเปดที่
ผิวหนังใหใหญขึ้น ใหเลือดออก และจุดที่ไกลจากขอที่อักเสบบนเสนลมปราณเดียว กันโดยคาเข็ม 10-15
นาที กระตุน แบบระบาย
ความไมสมดุลของเหยียนชี่และเจิ้งชี่ อาจทําใหมเี หงื่อออกมาก ใหเพิ่มการบํารุงโดยใชจุด HeGu (LI
4), และระบายทีจ่ ุด FuLiu ( KI 7) ในรายที่มีอาการหงุดหงิดมาก เนื่องจากความรอนของหัวใจ ใหเพิม่ จุด
ShenMen (HT 4)

3. ขออักเสบรูมาตอยด ชนิด ทีม่ ีไตและตับพรองมาก รวมกับ เสียชี่อื่น ๆ


หลักการรักษา: เสริมชี่ ขับไลเสียชี่ บํารุงเลือด
จุดหลัก: GanShu (BL 18), ShenShu (BL 23) และ ZuSanLi (ST 36) กระตุนเข็มโดยไมตองคา
เข็มไว
Page 110

จุดเฉพาะที่ตาง ๆ ใชหลักการเดียวกับ ขอ 1 และปลอยเลือดขอที่อักเสบ บวม ถามีเหงื่อออก


กลางคืนและไขใหเพิ่ม YinXi (HT 6) และ DaZhui (GV 14)
จุดทีเ่ สริมชี่ ใชเข็มอุน หรือ รมยาทุกวัน

การรักษาดวยวิธีอื่น ๆ
- การฝงเข็มหู
บริเวณที่สัมพันธกับอาการ รวมกับ Adrenal gland (TG 2 P) และ Shenmen (TF 4) อาจใชเข็มคา
20-30 นาที หรือ เม็ดผักกาดกดจนรูสึกรอน 1 - 2 นาทีตอจุด ทิ้งไว 3 - 5 วัน
ขอพึงระวัง: หญิงตั้งครรภ 2 - 5 เดือน ไมควรฝงเข็ม เพราะอาจแทงได สําหรับการตั้งครรภ 5 - 9
เดือน หลีกเลี่ยงจุด Uterus, Ovary, Endocrine, Lumbosacral vertebrae และ abdomen
- การรมยา
การรมยาและเข็มอุน จะชวยใหชหี่ มุนเวียนดีขึ้น ทะลวงเสนลมปราณทีต่ ิดขัด บํารุง
เลือด และแกภาวะเลือดคัง่ รายที่โรคคอนขางดื้อตอการรักษา อาจทําการรมควันแบบกอ
ใหเกิดแผลโดยใชโกฐจุฬาลัมพาขนาดเมล็ดถั่วเหลือง 10 - 20 cones เผาตรงที่ผิวหนัง ทําทุกวัน 3 วัน
ติดตอกัน เทากับ 1 รอบการรักษา
- การรมยาแบบนกจิก 15 - 20 นาทีตอจุด ทําทุกวัน 10 วัน เทากับ 1 รอบการรักษา
- การรมยาแบบคัน่ ขิงขนาดเมล็ดถั่ว 3 - 6 คอรส ทุกวัน 10 วันเทากับ 1 รอบการรักษา
Page 111

รูปที่ 19 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคขออักเสบรูมาตอยด
Page 112

โรคเกาต
(Gouty Arthritis : 痛风)
โรคเกาต เปนโรคขออักเสบทีเ่ กิดจากผลึกของ Monosodium Urate Monohydrate ตกตะกอนในขอ
ซึ่งมีผลมาจากกรดยูรกิ ซึ่งเปนผลผลิตของกระบวนการเมตาบอลิสซั่มของสารพิวรีน (Purene
metabolism) สูงมากจนตกตะกอนเปนผลึกของยูเรทสะสมตามขอตอเนื้อเยื่อ รอบ ๆ ขอและไต ทําใหพบ
ผลึกนี้ในเม็ดเลือดขาวของน้ําไขขอจากการเจาะขอที่กําลังอักเสบ ถาผูปวยไมไดรับการรักษาอยางถูกตอง
คือ การรักษาอาการอักเสบของขอรวมกับการลดกรดยูริกในเลือด ผลึกของ Monosodium Urate
Monohydrate จะสะสมตามเนื้อเยื่อรอบ ๆ ขอ ทําใหเกิดเปนปุม Tophi อาจแตกออกมาเปนลักษณะน้ํา
ขนๆ สีขาวขุน คลายยาสีฟนหรือเตาหู กรดยูริกอาจตกตะกอนที่ทางเดินปสสาวะเกิดเปนกอนนิ่วและ
ตกตะกอนที่เนื้อเยื่อของไตทําให ไตวายเรื้อรัง ตลอดจนเกิดภาวะทุพพลภาพ
ภาวะกรดยูริกสูง เปนผลจากปจจัยทางกรรมพันธุและปจจัยเสีย่ งอื่น ๆ ที่มีผลทําใหอาการของเกาต
เกิดรุนแรง คือ น้ําหนักตัวที่มากเกินไป การบริโภคแอลกอฮอลอยางตอเนื่อง การใชยาขับปสสาวะ ฯลฯ
การรักษาโรคเกาตของแพทยแผนปจจุบัน จึงประกอบไปดวยการรักษาอาการขออักเสบ และการลด
ระดับยูริกเลือดเพื่อปองกันการเกิดภาวะไตวาย รวมทั้งการแนะนําใหผูปวยตระหนักถึงความจําเปนอยางยิ่ง
ของพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตอง เชน การมีน้ําหนักตัวที่เหมาะสม การออกกําลังกายพอเหมาะ หลีกเลี่ยงปจจัย
ที่กระตุนการอักเสบฉับพลันของขอ (Acute Gouty Arthritis) โดยการดื่มน้ําใหพอเพียง หลีกเลี่ยงอาหารที่
มีพิวรีนสูง หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ ฯลฯ

สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
ตามทฤษฎีการแพทยแผนจีน ในระยะแรกเจิ้งชีย่ ังไมถูกรบกวน ภาวะหยางเกิน และระยะทายตับ
และไตพรองทําใหสารจําเปน (Essence) และเลือดพรองสงผลใหการหลอเลี้ยงเอ็น กระดูก ไมเพียงพอ
และเสนลมปราณติดขัด เกิดเปนความชื้น (damp-turbidity) ภายในรางกาย นอกจากนี้สาเหตุจากมาม
พรองทําใหแลกเปลีย่ นและลําเลียงอาหารไดไมดีทําใหเกิดการตกคางเปนเสมหะภายในรางกาย
การกระทบของเสียชี่ คือ ลม เย็น ความชืน้ หรือความรอน การดื่มแอลกอฮอล การรับประทานอาหาร
ที่ไมถูกตอง การบาดเจ็บตอขอตางๆ จะกระตุน ใหเสมหะสลายเขาสูขอกระดูกและสวนตางๆในรางกาย
เกิดการอุดตันเสนลมปราณ ชี่และการไหลเวียนเลือดติดขัด เกิดอาการอักเสบอยางมาก อาจแบงสาเหตุ
เปน ลม-ชื้น, เย็น-ชื้น, ชื้น-รอน เสียชี่รุกรานรางกายเปนระยะเวลานานจะกอใหเกิดเปนความรอนรวมดวย
จึงแบงสาเหตุออกไดเปน
bi จาก ลม-ชื้น-รอน เกิดภาวะอุดตันของเสนลมปราณ และ
Page 113

bi จากชื้นรอน เลือดคั่ง ชี่ติดขัดเปนระยะเวลานานกอใหเกิดขออักเสบ ขอผิดรูป ปุมงอกและทําลาย


Zang-fu เกิดอันตรายถึงแกชีวิตได คือ มีการลุกลามจาก Acute Gouty Arthritis เปน Chronic Gouty
Arthritis

การรักษา แบงตามระยะตางๆ
ระยะขออักเสบเฉียบพลันจาก “ลม-ชื้น-รอน” (wind-damp-heat) หรือ bi จาก “ลม-ชื้น-รอน” ตอง
ขจัดความรอน ทะลวงเสนลมปราณ
ระยะขออักเสบเรื้อรัง มักเปน bi จาก “ลม-เย็น-ชื้น” (wind-cold-damp) เสมหะอุดตัน ตับและไต
พรอง ศาสตรแพทยแผนจีนมักใชการฝงเข็มรวมกับสมุนไพรจีน โดยมุงรักษาอาการขณะอักเสบและรักษา
ตนเหตุตาง ๆ ไลลม ขจัดชืน้ ขับไลความรอนความเย็น สลายลางเสมหะ สลายเลือดคัง่ ทะลุทะลวงเสน
ลมปราณที่ติดขัด กระตุนชี่ใหเดินสะดวก บํารุงตับ ไต และมาม
1) Bi จาก ลม-ชื้น-รอน
อาการอักเสบเฉียบพลัน มักเกิดเวลากลางคืน มีไขรวม กระหายน้ํา แนนหนาอก
ปวดหัว เหงื่อออก ปสสาวะเขม ทองผูก ลิ้น มีฝาเหลืองหนา ชีพจรลืน่ และเร็ว
2) Bi จาก ลม-เย็น-ชื้น
ขอบวม อักเสบ เคลื่อนไหวขอลําบาก มีกอน Tophi ลิ้นมีฝาขาว ชีพจรเล็ก-ตึง
ถาเสียชี่เปนลมมาก ตําแหนงขอที่อักเสบจะเปลีย่ น ถาเสียชี่เปนความเย็นมาก จะปวด
อักเสบมากและเปนเฉพาะบางที่ ถาความชืน้ มาก ขอจะหนัก ไมเปลีย่ นตําแหนง รวมกับอาการชารวมดวย
3) Bi จากเสมหะอุดตัน
เปนระยะขออักเสบเรื้อรัง ขอผิดรูป มีกอน Tophi มากจนทะลุออกมา ผิวหนังเปลี่ยนสี ลิ้นซีดและ
ใหญหรือเปนสีมวงคล้ํา ฝาขาวบางหรือหนา ชีพจรตึง หรือลึก และหยาบ มีตํารับยาสมุนไพรจีนตาง ๆ
หลายตํารับสําหรับ Bi แตละชนิด

การรักษาดวยการฝงเข็มและรมยา
หลักการรักษา: ทะลวงเสนลมปราณทีต่ ิดขัด และเพื่อคลายความเจ็บปวด
Bi ชนิด ลม-เย็น-ชื้น ใชฝงเข็ม รวมกับการรมยา
Bi ชนิด ลม-ชื้น-รอน ฝงเข็มโดยไมรมยา
Bi ระยะเรื้อรังมาก ๆ ขาดเจิ้งชี่ รักษาโดยรมยา
Bi ระยะอักเสบฉับพลัน กระตุนเข็มแบบระบาย
Bi ระยะยังไมอักเสบ กระตุนเข็มแบบบํารุง
จุดหลัก: โดยเลือกจุดฝงเข็มที่สัมพันธกับขอที่อักเสบ
Page 114

- Metatarsophalangeal: TaiChong (LV 3), TaiBai (SP 3), SanYinJiao (SP 6), BaFeng (EX-LE
10), NeiTing (ST 44), Ashi points
- ขอนิ้วเทา: TaiBai (SP 3), DaDu (SP 2), TaiChong (LV 3), SanYinJiao (SP 6)
- ขอเทา: ZhongFeng (LV 4), KunLun (BL 60), JieXi (ST 41), QiuXu (GB 40), WeiZhong (BL
40), JueGu (GB 39), TaiXi (KI 3), Ashi points
- ขอเขา: XiYan (EX-LE 5), NeiXiYan (EX-LE 4), YangLingQuan (GB 34), QuQuan (LV 8),
LiangQiu (ST 34), WeiZhong (BL 40), XiYangGuan (GB 33), ZuSanLi (ST 36)
- ขอมือ: YangChi (SJ 4), WeiGuan (SJ 5), HeGu (LI 4), TaiChong (LV 3), YangXi (LI 5),
Ashi points
- ขอนิ้วมือ และ metacarpophalangeal joint: SanJian (LI 3), BaXie (EX-UE 9), SiFeng (EX-UE
10), Ashi points
- ขอศอก: HeGu (LI 4), ShouSanLi (LI 10), QuChi (LI 11), ChiZe (LU 5)
- ขอหัวไหล: JianYu (LI 15), JianZhen (SI 9), JianJing (GB 21) และ Ashi points
จุดเสริม:
- ถารอน ชื้นมาก เพิ่ม QiuXu (GB 40), DaDu(SP 2), TaiBai (SP 3)
- ถาเลือดคั่ง เพิ่ม XueHai (SP 10), GeShu (BL 17)
- ถาเสมหะอุดตันมาก เพิ่ม FengLong (ST 40), PiShu (BL 20)
- ถาตับไตพรอง เพิ่ม TaiXi (KI 3) และ SanYinJiao (SP 6)
- ถามี ลม รอนและชื้น ระบายจุด DaZhui (GV 14), ShenZhu (GV 12), QuChi (LI 11)
- ในรายทีม่ ีเสมหะอุดตัน เพิม่ GeShu (BL 17), XueHai (SP 10), PiShu(BL 20), NeiGuan (PC 6),
PangGuangShu(BL 28)
การกระตุนเข็ม: DaZhui (GV 14), ShenZhu (GV 12), QuChi (LI 11) และ back-shu points ใช
การกระตุนเข็มอยางแรง และไมตองคาเข็ม บริเวณขอที่อกั เสบอาจใชการปลอยเลือดรวมดวย

การฝงเข็มหู
ใหเลือกจุดบริเวณเหลานี้ ไดแก จุดฝงเข็มที่มีความสัมพันธกับขอที่อักเสบ, ShenMen, Liver,
Kidney, Sympathetic
โดยแตละครั้งใหเลือก 3 - 5 จุด ใชเข็มยาว 0.5 นิ้ว คาเข็มไว 30 นาที และฝงเข็มทุก 2 วัน จนครบ
10 ครั้ง ถือเปน 1 รอบการรักษา
Page 115

รูปที่ 20 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคเกาต

ปวดบริเวณลิ้นป
( Epigastric Pain : 胃脘痛)
คนทั่วไป มักเขาใจวาอาการปวดทองบริเวณใตลนิ้ ป โดยเฉพาะที่มปี วดเรื้อรังมานานวาเปนโรค
กระเพาะอาหาร แทจริงแลวอาการปวดทองอาจเกิดจากโรคอื่น ๆ ภายในชองทองอีกมากมาย เชน โรค
ระบบทางเดินน้ําดี โรคตับออน เปนตน โรคกระเพาะอาหารเปนกลุมโรคที่พบบอย ที่สําคัญ ไดแก โรคแผล
ในกระเพาะอาหาร และ โรคกระเพาะอาหารอักเสบ
Page 116

1. โรคแผลกระเพาะอาหาร
อาการสําคัญ
- ปวดหรือจุกแนนทองบริเวณใตลิ้นป หรือ หนาทองชวงบน เปนอาการที่พบบอยที่สุด มักเปนเวลา
ทองวาง หรือเวลาหิว อาการจึงเปนเฉพาะบางชวงเวลาของวัน
- อาการปวดแนนทอง มักจะบรรเทาไดดวยอาหารหรือยาลดกรด
- อาการปวด มักจะเปน ๆ หาย ๆ โดยมีชวงเวนที่ปลอดอาการคอนขางนาน เชน ปวดอยู 1-2 สัปดาห
แลวหายไปหลายเดือนจึงกลับมาปวดอีก
- ปวดแนนทองกลางดึกหลังจากทีห่ ลับไปแลว
- แมจะมีอาการเรื้อรังเปนป สุขภาพโดยทั่วไปจะไมทรุดโทรม
- โรคแผลกระเพาะอาหารจะไมกลายเปนมะเร็ง แมจะเปน ๆ หาย ๆ อยูนานกี่ปก็ตาม นอกจากจะ
เปนแผลชนิดที่เกิดจากโรคมะเร็งของกระเพาะอาหารตั้งแตแรกเริ่มโดยตรง
ภาวะแทรกซอน
1) เลือดออกจากแผลในกระเพาะอาหาร พบไดบอยที่สุด ผูปวยจะมีอาเจียนเปนเลือด ถายดําเหลว
หรือหนามืด วิงเวียน เปนลม
2) กระเพาะอาหารทะลุ ผูปวยจะมีอาการปวดทองชวงบนเฉียบพลันรุนแรง หนาทองแข็งตึง กดเจ็บ
มาก
3) กระเพาะอาหารอุดตัน ผูป วยจะกินไดนอย อิ่มเร็ว มีอาเจียนหลังอาหารเกือบทุกมื้อ เบื่ออาหาร
น้ําหนักลดลง
หลักการปฏิบตั ิตัว
พึงระลึกไวเสมอวา โรคแผลกระเพาะอาหารเปนโรคเรื้อรัง เปน ๆ หาย ๆ มักไมหายขาดตลอดชีวิต
ผูปวยจําเปนตองไดรับยารักษาติดตอกันเปนเวลานาน หลังไดรับยา อาการปวดจะหายไปกอน ใน 3-7 วัน
แตแผลจะยังไมหาย สวนใหญใชเวลาถึง 4 - 8 สัปดาห แผลจึงหาย เมื่อหายแลว จะกลับมาเปนใหมไดอีก
ถาไมระวังปฏิบัติตัวใหถูกตอง ไดแก
- กินอาหารออน ยอยงาย
- กินอาหารตรงตามเวลาทุกมื้อ
- กินอาหารจํานวนนอย ๆ แตกินใหบอยมื้อ ไมควรกินจนอิม่ มากในแตละมื้อ
- หลีกเลี่ยงอาหารเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด สุรา
- งดสูบบุหรี่
- งดการใชยาแกปวด แอสไพริน และยาแกโรคกระดูกและขออักเสบทุกชนิด
- ผอนคลายความเครียด กังวล พักผอนใหเพียงพอ
- กินยาลดกรด หรือยารักษาแผลกระเพาะอาหารติดตอกันอยางนอย 4 - 8 สัปดาห
Page 117

- ถามีอาการของภาวะแทรกซอน ตองรีบไปพบแพทย

2. โรคกระเพาะอาหารอักเสบ
เปนการอักเสบของเยื่อบุดานในกระเพาะอาหาร เพียงบางสวนหรือบางบริเวณเทานั้น แบงเปน
1) โรคกระเพาะอาหารอักเสบชนิดเฉียบพลัน หมายถึง โรคที่เปนในระยะสัน้ ๆ ไมเกิน 1 - 2 สัปดาหก็
หาย อาการสําคัญ คือ จะปวดทองหรือจุกแนนบริเวณใตลิ้นป มักเปนเวลากินอาหาร หรือหลังอาหาร
เล็กนอย คลื่นไส อาเจียน ในรายที่รุนแรง จะมีอาเจียนเปนเลือดหรือถายอุจจาระสีดําได ซึ่งเปน
ภาวะแทรกซอนที่อันตราย สาเหตุทพี่ บบอย คือ จากอาหารเปนพิษ พิษสุรา และจากยาที่มีฤทธิ์ระคายเยื่อ
บุกระเพาะอาหาร เชน ยาแอสไพริน และยาแกโรคกระดูกและขออักเสบ
2) โรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง หมายถึง โรคที่เปนนานเปนเดือนหรือเปนป ผูปวยมักมีอาการไม
มากหรือแทบไมมีอาการอะไรเลย นอกจากแนนทองเปน ๆ หาย ๆ เทานั้น หลักการปฏิบัติตัวเหมือนผูปวย
แผลกระเพาะอาหาร
การแพทยแผนจีน เรียกอาการนี้วา WeiTong (胃痛) หรือ WeiWanTong (胃脘痛) Wei หรือ
WeiWan หมายถึง กระเพาะอาหาร หรือบริเวณกระเพาะอาหาร Tong หมายถึง ปวด รวมแลวหมายถึง
ปวดกระเพาะอาหาร หรือ ปวดบริเวณลิ้นป อาการดังกลาวพบไดในโรคระบบทางเดินอาหารของการแพทย
ตะวันตก เชน acute and chronic gastritic, gastric and duodenal ulcer เปนตน

สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
สวนใหญเกิดจากการรับประทานอาหารไมถูกหลักโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ มีความ
พรองในการทํางานของตับ ซึ่งเกีย่ วของกับการยอยและการลําเลียงอาหาร การทํางานของมามและ
กระเพาะอาหารขาดความสมดุล

การวินิจฉัยแยกกลุมโรค
1. ชี่ตับขมกระเพาะอาหาร (ตับและกระเพาะอาหารทํางานไมสัมพันธกัน)
อาการ: มีอาการปวดแนนบริเวณลิน้ ป ราวไปชายโครงทั้งสองขาง เรอเปรี้ยว แสบรอนทรวงอก
คลื่นไสและอาเจียน อาการจะเปนมากขึน้ เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงทางอารมณ
ลิ้น: ฝาเหลือง บาง ; ชีพจร: ชีพจรตึง (XianMai)
2. กระเพาะอาหารรอนจากอาหารตกคาง
อาการ: มีอาการปวดแสบรอนทีก่ ระเพาะอาหาร แหงและขมในปาก มีกลิ่นปาก ปสสาวะสีเหลือง
อุจจาระแหงแข็งและถายไมหมด
ลิ้น: ลิ้นแดง ฝาเหลือง ; ชีพจร: ชีพจรเร็ว (ShuMai)

3. เลือดคั่งชี่ตดิ ขัด
Page 118

อาการ: ปวดบริเวณลิน้ ปเหมือนถูกเข็มทิ่ม อาการเปนมากขึ้นหลังรับประทานอาหาร อาจมีอาการ


อาเจียนเปนเลือด ถายเปนเลือด
ลิ้น: ลิ้นสีคล้ํามวง อาจมีจ้ําเลือด ; ชีพจร: ชีพจรฝด (SeMai)
4. มามและกระเพาะอาหารเย็นพรอง
อาการ: ปวดแนน ๆ ตื้อ ๆ บริเวณลิ้นป ชอบการกดและความอุน ทองวางจะปวดมากขึน้ ได
รับประทานอาหารจะสบายขึ้น เมื่อทํางานหนัก รับประทานอาหารที่เย็น หรือน้ําแข็ง อาการจะรุนแรงมาก
ขึ้น
ลิ้น: ลิ้นซีด ฝาขาว ; ชีพจร: ชีพจรเล็ก-จมออน (Xi-RouMai)
5. ความเย็นเขารุกรานกระเพาะอาหาร
อาการ: ปวดทองมากเมื่อไดรับความเย็นรุกรานจากภายนอก ไมชอบอาหารเย็น ชอบอาหารอุน
ลิ้น: ฝาขาว บาง ; ชีพจร: ชีพจรตึง หรือ ตึงแนน (XianMai or JinMai)
6. อินกระเพาะอาหารพรอง
อาการ: ปวดแสบรอนบริเวณลิน้ ป หิวแตไมอยากรับประทาน ปากคอแหง ทองผูก
ลิ้น: ลิ้นแดงแหง ไมมีฝา ; ชีพจร: ชีพจรเล็ก หรือชีพจรเร็ว หรือชีพจรตึง (XiMai or ShuMai or
XianMai)

การรักษา
1. การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
จุดหลัก: ZhongWan (CV 12), NeiGuan (PC 6), ZuSanLi (ST 36), PiShu (BL 20), WeiShu (BL
21) และ GongSun (SP 4)
จุดเสริม:
- ตับและกระเพาะอาหารทํางานไมสอดคลอง: TaiChong (LR 3), QiMen (LR 14)
- ความรอนคั่งในกระเพาะอาหารและลําไส: NeiTing (ST 44), QianGu (SI 2)
- ชี่ติดขัดและเลือดคั่ง: GeShu (BL17), Hegu (LU 4)
- มามและกระเพาะอาหารเย็นพรอง: ZhangMen (LR 13), QiHai (CV 6)
- มีอาการปวดทองมาก: LiangQiu (ST 34)
- มีอาการทองผูกหรือถายเหลว: TianShu (ST 25), XiaJuXu (ST 39)
- มีอาเจียนเปนเลือดหรือถายเปนเลือด: XueHai (SP 10), GeShu (BL 17)
- อินกระเพาะพรอง: GongSun (SP 4), WeiShu (BL 21)
Page 119

- ความรอนรุกรานกระเพาะ: ShenQue (CV 8), LiangQiu (ST 34)


- รับประทานอาหารมาก อาหารตกคาง: LiangMen (ST 21), JianLi (CV 11)
- ชี่ตับรุกรานกระเพาะอาหาร: TaiChong(LR 3), QiMen (EX-CA5)
- รอนชื้นสะสมในจงเจียว: FengLong (ST 40), NeiTing (ST 44), LiDui (ST 45).
2. การฝงเข็มหู
เลือกจุด: Stomach, Duodenum, Spleen, Liver, Sympathetic และ Shenmen
วิธีการ: เลือกใช 2 - 3 จุด กระตุนความแรงปานกลาง คาเข็ม 20 นาที หรือใชเมล็ดหวังปูห ลิวสิง
ติดตามจุด กอนนอนใหกระตุน 2 - 3 นาที
Page 120

รูปที่ 21 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดบริเวณลิ้นป

ทองอืดแนน
( Abdominal Distention : 腹胀)
อาการทองอืดแนน พบไดบอยในเวชปฏิบัตทิ ั่วไป อาการอืดแนนมักเกิดขึ้นทั้งชวงบนและลางของ
ชองทอง โดยกระเพาะอาหารอยูชวงบนของชองทอง สวนลําไสเล็กและลําไสใหญอยูสวนลาง ตางทํางาน
รวมกันอยางสมบูรณในการสะสม ยอย และการดูดซึมเขาสูรางกายของอาหารที่รับประทานเขาไปรวมทั้ง
การกําจัดกากของเสียออกจากรางกาย เมื่อใดก็ตามที่กระเพาะอาหารและลําไสไมสามารถทํางานไดดี
ดังเดิม อาการทองอืดแนน ปวดทอง เรอ อาเจียน ฯลฯ ก็จะเกิดขึ้น ในบทตอไปนีจ้ ะกลาวถึงอาการทองอืด
แนนที่มีสาเหตุจากความผิดปกติของกระเพาะอาหารและลําไสเทานั้น ผูที่มีอาการทองอืด จะรูสึกปวดทอง
สวนบน ทําใหแนนทอง มีลมในทอง ตองเรอบอยๆ บางคนอาจมีอาการคลื่นไส อาเจียน อิ่มเร็ว หรืออาจมี
อาการแนนทอง แมกินอาหารเพียงเล็กนอย และแสบบริเวณหนาอก

สาเหตุ
เกิดจากหลายสาเหตุ เชน
1. โรคในระบบทางเดินอาหารเอง ไดแก โรคแผลในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารอักเสบ มะเร็ง
กระเพาะอาหาร พยาธิในทางเดินอาหาร อาการแสบบริเวณหนาอก ซึ่งอาจจะเปนอาการของโรคกรดไหล
ยอนได
2. โรคที่เกิดจากสิ่งภายนอก ไดแก
• ยาตาง ๆ ที่ใช ยาหลายชนิดจะทําใหเยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบ ไดแก ยาแกปวดขอทั้งหลาย
• ยาบางชนิด จะทําใหกระเพาะและลําไสบบี ตัวนอยลง เชน ยานอนหลับ ยากลอมประสาท ยา
ปฏิชีวนะบางอยาง
Page 121

• เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลเปนสวนผสม เชน สุรา เบียร หรือน้ําชา กาแฟ จะทําใหกระเพาะอาหาร


อักเสบ รวมทั้งการระคายเคืองจากบุหรี่
• อาหารที่ยอยยาก รวมทั้งอาหารที่มีกากมาก อาหารรสจัด อาหารหมักดอง
3. โรคของทางเดินน้ําดี เชน นิ่วในถุงน้ําดี
4. โรคของตับออน
5. โรคทางรางกายอยางอื่น ๆ เชน เบาหวาน โรคตอมไทรอยด
6. พฤติกรรมในการรับประทานอาหาร ก็มีสวนเกีย่ วของกับอาการทองอืด โดยเฉพาะอาหารรสจัด
จะทําใหเยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบ การรับประทานดวยความรีบรอน เคี้ยวไมละเอียด หรือรับประทาน
ครั้งละมาก ๆ รวมทั้งรับประทานอาหารที่ยอยยาก อาหารมัน
สําหรับผูที่ชอบรับประทานผัก แมจะมีเสนใยมาก ถารับประทานมากไปอาจจะทําใหเกิดอาการ
ทองอืดขึ้นได เนื่องจากรางกายเราไมมีน้ํายอยเสนใยเหลานี้ ตองอาศัยแบคทีเรียที่อยูในลําไสใหญเปนตัว
ชวยยอยสลาย อยางไรก็ตามอาหารประเภทผักก็มีประโยชน เพราะทําใหการขับถายสะดวก
เชนเดียวกับอาหารประเภทนมนั้น ในคนแถบเอเชียจะไมมนี ้ํายอยที่ยอยนม หรือถามีก็มีปริมาณ
นอย เมื่อรับประทานนมเขาไปมาก อาจทําใหเกิดอาการทองอืดหรือทองเสีย ควรงดหรือคอย ๆ ดื่มนมทีละ
นอย เพื่อใหรางกายปรับตัวจนดื่มนมไดในปริมาณที่ตองการ แตหากดื่มนมเปรี้ยว จะไมมีอาการ เนื่องจาก
ในนมเปรี้ยวจะมีการยอยนมไปเปนบางสวนแลว
ปญหาทีพ่ บบอยในคนที่ทองอืด คือ โรคกระเพาะ อาจเปนแผลในกระเพาะอาหาร หรือกระเพาะ
อาหารอักเสบ หรืออาจเปนโรคของทางเดินน้ําดี เชน นิ่วในถุงน้ําดี หรือจากอาหารที่เรารับประทานเขา
ไป แตถาเปนบอย โดยเฉพาะผูสูงอายุ มักจะเปนสัญญาณเตือนถึงอาการนําอยางหนึ่งของมะเร็งในชอง
ทอง รวมดวยอาการอื่น ๆ เชน เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน น้ําหนักลด ซีด ควรมาพบแพทยเพื่อตรวจหา
สาเหตุที่แนชดั

การรักษาเบื้องตน
อาจใชยาสามัญประจําบาน ไดแก ยาขับลม หรือ ยาธาตุน้ําแดงกอน และปรับอาหารโดย
รับประทานอาหารออน ยอยงายแตพอควร หากไมดีขึ้น ควรไปพบแพทย สวนการรับประ ทานยาชวย
ยอย อาจชวยลดอาการทองอืดไดบาง หากอาการไมทุเลาลงควรไปพบแพทยเพื่อตรวจหาสาเหตุที่แทจริง
ของอาการทองอืด
ผูที่มีอาการดังตอไปนี้ ควรไปพบแพทยเพื่อทําการตรวจคนหาสาเหตุที่แทจริง และทําการรักษา
1. ผูสูงอายุ เชน อายุเกิน 40 ป เริ่มมีอาการทองอืดทองเฟอ เกิดขึ้นในชวงเวลาสัน้ ๆ เนื่องจาก พบวา
มะเร็งของกระเพาะอาหาร หรือตับมักจะพบในคนอายุเกินกวา 40 ป
2. ในคนที่มีอาการทองอืดรวมกับมีน้ําหนักลด
3. มีอาการซีด ถายอุจจาระดํา
Page 122

4. มีอาเจียนติดตอกัน หรือกลืนอาหารไมได
5. ตัวเหลือง ตาเหลือง หรือมีกอนในทอง
6. ปวดทองมาก
7. ทองอืดแนนทองมาก
8. การขับถายอุจจาระเปลี่ยนแปลงไปจากที่เคยเปน เชน อาการทองผูกมากขึ้น จนตองกินยาระบาย
หรืออาการทองผูกสลับทองเดิน เปนตน

การรักษา
หากพบในผูปวยอายุนอย ไมมีขอบงชี้วาเปนโรคที่อนั ตราย แพทยอาจใหการรักษาดวยยาและ
แนะนําวิธีปฏิบัติตัว ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการกิน และนัดมาพบเพื่อดูอาการ ถาไมดีขึ้น แพทยอาจ
ดําเนินการสืบคนหาสาเหตุ ที่แทจริงตอไป
หากพบในผูสูงอายุ ควรแนะนําใหไปพบแพทย เพราะอาการทองอืด เปนอาการนําอันหนึ่งของมะเร็ง
ในชองทอง โดยเฉพาะผูสูงอายุที่ไมเคยมีอาการมากอน เพิ่มจะมีอาการทองอืด ในชวงเวลาสัน้ ๆ รวมถึงมี
อาการอยางอื่นรวมดวย เชน เมื่ออาหารคลื่นไส อาเจียน น้ําหนักลด ซีด ควรจะพบแพทยโดยเร็ว เพราะ
อาจจะเปนอาการนําของมะเร็ง กระเพาะอาหารได
หากอาการไมดีขึ้น แพทยอาจจะดําเนินการ สืบคนหาสาเหตุตาง ๆ ในกรณีที่กลาวขางตน และรักษา
ไปตามสาเหตุ

ขอแนะนํา และการปฏิบัติตัวในผูที่มีอาการทองอืดและการปองกัน
ควรงดดื่มสุรา หรือ เครื่องดี่มแอลกอฮอลล อาหารรสจัด อาหารหมักดอง บุหรี่ น้ําชา กาแฟ ผูที่ดื่ม
นมแลวมีอาการทองอืด หรือทองเสีย อาจจะขาดน้ํายอย ใชยอยนม ตองเปลี่ยนแปลงวิธกี ารรับประทาน
และการดําเนินชีวิตประจําวัน ควรรับประทานอาหารประเภทผักที่มเี สนใยมาก ๆ ไมควรรับประทานมาก
เกินไป อาจจะทําใหเกิดอาการทองอืดเกิดขึน้ ได เพราะเสนใยอาหาร หรือกากใยอาหาร รางกายเรายอย
ไมได ตองอาศัยแบคทีเรียที่อยูในลําไสใหญเปนตัวชวยยอยสลาย แตอยางไรก็ตาม อาหารประเภทผัก ก็มี
ประโยชน เพราะทําใหการขับถายสะดวก สําหรับผูทเี่ ปนโรคกระเพาะอาหาร ไมควรรับประทานอาหารครั้ง
ละมาก ๆ แตควรมีอาหารวางระหวางมื้อ รับประทานอาหารชา ๆ เคี้ยวใหละเอียดไมควรรีบรอน

สาเหตุ
ศาสตรการแพทยจีนแบงสาเหตุดังนี้
1) การรับประทานอาการที่ไมตรงเวลา หรือทานอาหารปริมาณมากเกินไป จะทําใหหนาที่ของ
กระเพาะอาหารและลําไสเสียไป การยอยและการดูดซึมไมสมบูรณเกิดอาหารตกคาง ขัดขวางการ
ไหลเวียนของชี่ หรือแปรเปลีย่ นเปนความรอน ซึ่งจะเขาสูกระเพาะอาหารและลําไส กอใหเกิดอาการทองอืด
แนน
Page 123

2) กระเพาะอาหารและมามที่ออนแอ หรือภาวะเจ็บปวยเรือ้ รังทําใหการทําหนาที่ของ


กระเพาะอาหารและมามในการลําเลียงและดูดซึมเสียไป การไหลเวียนของชี่กระเพาะอาหารและมามไมดี
ดังเดิมจึงเกิดอาการทองอืดแนน

การวินิจฉัยแยกกลุมโรค
1) ภาวะแกรง
อาการ: ทองอืด แนนอึดอัด กดนวดแลวอาการเปนมากขึน้ ปวดทอง เรอ หายใจมีกลิ่น
เหม็น ปสสาวะสีเขม ทองผูก บางครั้งมีไขรวมดวย อาเจียน
ลิ้น มีฝาเหลืองหนา ; ชีพจร ลื่น-เร็ว (Hua-ShuMai)
วิเคราะหอาการ : อาหารที่ไมยอยตกคางในกระเพาะอาหารทําใหเกิดการอืดแนนในทอง หายใจมี
กลิ่นเหม็น เรอ และอาจอาเจียนได หากมีอาหารที่ไมยอยตกคางในลําไสจะเกิดการแนนทองปวดทอง
ทองผูก อาหารที่ตกคางอยูเปนภาวะแกรง นี่จงึ อธิบายไดวา การกดนวดจะทําใหอาการเปนมากขึ้น ภาวะไข
ปสสาวะสีเขม ลิ้นมีฝาเหลืองหนา ชีพจรเร็วและแรงเปนการบงชี้ภาวะมีความรอนในกระเพาะอาหาร

2) ภาวะพรอง
อาการ: ทองอืดแนน กดนวดแลวอาการดีขึ้น มีเสียงเคลื่อนไหวในกระเพาะอาหาร และลําไส ถาย
เหลว เบื่ออาหาร ออนเพลียอิดโรย กระวนกระวาย ปสสาวะสีใส
ลิ้น ซีดฝาขาว ; ชีพจร แรง
วิเคราะหอาการ : ภาวะชี่พรองของมามและกระเพาะทําใหการลําเลียงและดูดซึมอาหารผิดปกติไป
จึงทําใหเกิดการเบื่ออาหาร มีเสียงเคลื่อนไหวในกระเพาะอาหารและลําไส และถายเหลว อาการปวดที่ดีขนึ้
จากการกดนวดเปนภาวะพรอง เมื่อการลําเลียงและดูดซึมอาหารผิดปกติไป การสรางชี่และเลือดยอม
นอยลง จึงเปนสาเหตุของความออนเพลียอิดโรยและกระวนกระวาย ลิ้นซีดฝาขาว ชีพจรแรงเปนอาการ
แสดงของภาวะชี่พรองของมามและกระเพาะอาหาร

การรักษา
หลักการรักษา: จุดบนเสนลมปราณเทาหยางหมิง ใชเปนจุดหลัก ภาวะแกรงใหใชการกระตุนแบบ
ระบายเพื่อควบคุมการไหลเวียนของชีใ่ นอวัยวะกลวง สวนภาวะพรองใชการกระตุน แบบบํารุงหรือรวมกับ
การรมยาเพื่อกระตุมเสริมหนาที่ของกระเพาะอาหารและมามเพื่อการควบคุมการไหลเวียนของชี่และลด
อาการทองอืดแนน
จุดหลัก: ZhongWan (CV 12), TianShu (ST 25), ZuSanLi (ST 36),
ShangJuXu (ST 37)
จุดเสริม:- ภาวะแกรง: HeGu (LI 4), QiHai (CV 6), YinLingQuan (SP 9)
Page 124

- ภาวะพรอง: GuanYuan (CV 4), TaiBai (SP 3)


อธิบาย: ZhongWan(CV 12) จุดมูของกระเพาะอาหาร, TianShu(ST 25)
จุดมูของลําไสใหญ, ZuSanLi(ST 36) จุดเหอลางของกระเพาะอาหาร, ShangJuXu (ST 37) จุดเหอลาง
ของลําไสใหญ ใชหลักการเลือกจุดมูและจุดเหอเพื่อการควบคุมการทํางานของกระเพาะอาหารและลําไส
เพื่อใหชี่ไหลเวียนไดตามปกติ ลดอาการอืดแนนทอง, Hegu (LI 4) และ QiHai (CV 6) ใชควบคุมการเดิน
ของชี่ สวน YinLingQuan (SP 9) ใชกําจัดความรอนชืน้ TaiBai (SP 3) และ GuanYuan (CV 4) ชวยเพิ่ม
ความแข็งแรงสมบูรณของมามและกระเพาะอาหารและชวยในการลําเลียงและดูดซึมอาหาร

รูปที่ 22 แสดงจุดฝงเข็มรักษาอาการทองอืดแนน

ปสสาวะตกคาง
( Urinary Retention : 尿潴留)
ภาวะปสสาวะคางในกระเพาะปสสาวะ คือภาวะที่ไมสามารถขับปสสาวะออกไดหมดตามธรรมชาติ
โดยยังมีปสสาวะคางอยูใ นกระเพาะปสสาวะมากกวา 50 มิลลิลิตร ปสสาวะลําบาก ปสสาวะติดขัดเปน
ชวง ๆ ขณะปสสาวะ รูสึกไดวาปสสาวะไมสุด ใชเวลาปสสาวะนาน ปวดหนวงทองนอย การที่ปสสาวะคาง
อยูในกระเพาะปสสาวะอาจนําไปสูภาวะกลั้นปสสาวะไมได ปวดปสสาวะชวงกลางคืน หากเกิดการคั่งคาง
ของปสสาวะกะทันหัน ถือเปนภาวะฉุกเฉิน จะมีอาการปวดกระเพาะปสสาวะเกิดขึน้ ได กระเพาะปสสาวะที่
ขยายตัวเกินปกติอาจฉีกขาดได หากมีแรงดันในกระเพาะปสสาวะมากเกินไป น้ําปสสาวะจะถูกดันยอนขึน้
Page 125

ไปในทอไต สงผลใหเกิดภาวะไตบวมน้ําได และเกิดการอักเสบติดเชื้อที่ไต ไตวายได ในระยะยาวอาจทําให


โรคและอาการเหลานี้ตามมา
1) นิ่วในกระเพาะปสสาวะ
2) กลามเนื้อ detrusor ฝอลีบหรือโตผิดปกติ
3) ไตบวมน้ํา
4) เกิดถุง (diverticula) ที่ผนังกระเพาะปสสาวะ ซึ่งอาจเกิดนิว่ หรืออักเสบติดเชื้อได

สาเหตุ
1) กระเพาะปสสาวะ
- การทํางานที่ไมประสานกันของ detrusor sphincter
- Neurogenic bladder พบบอยใน pelvic splanchic nerve damage, cauda equina syndrome,
descending cortical fibers lesion, pontine micturation or storage center lesions, demyelinating
diseases or Parkinson's disease
- Iatrogenic (doctor-caused) scarring of the bladder neck (commonly from removal of
indwelling catheters or cystoscopy operations)
- Damage to the bladder
2. ตอมลูกหมาก
- ตอมลูกหมากโต
- มะเร็งของตอมลูกหมากและอวัยวะในอุงเชิงกราน
- ตอมลูกหมากอักเสบ
3. องคชาติและทางเดินปสสาวะ
- Congenital urethral valves
- Phimosis or pinhole meatus
- Circumcision
- Obstruction in the urethra, for example a metastasis or a precipitated pseudogout crystal
in the urine
- STD lesions (gonorrhoea causes numerous strictures, leading to a "rosary bead"
appearance, whereas chlamydia usually causes a single stricture)
4. สาเหตุอื่นๆ
- Paruresis (shy bladder syndrome) in extreme cases, urinary retention can result
- Consumption of some psychoactive substances, mainly stimulants, such as MDMA and
amphetamine.
Page 126

- Use of NSAIDs or drugs with anticholinergic properties.


- Stones or metastasis can theoretically appear anywhere along the urinary tract, but vary
in frequency depending on anatomy
- Paruresis คือภาวะที่ไมสามารถปสสาวะไดเมื่ออยูรวมกับผูอื่นหรืออยูในที่สาธารณะ อาจถือเปน
สวนหนึ่งของภาวะปสสาวะคางได ถึงแมวาจะเกิดจากภาวะทางดานจิตใจก็ตาม

การวินิจฉัย
การตรวจการไหลและปริมาณของปสสาวะ จะชวยในการวินิจฉัยความผิดปกติได ในการตรวจดวย
เครื่องอัลตราซาวด ปริมาณการไหลของปสสาวะ การไหล ๆ หยุด ๆ และปริมาณคงเหลือของปสสาวะ
หลังจากปสสาวะสุดแลว โดยปกติจะมีการไหลของปสสาวะที่ 20 – 25 มิลลิลิตรตอวินาที ปริมาณคงเหลือ
ของปสสาวะหลังจากปสสาวะสุดแลวมากกวา 50 มิลลิลิตรจะบงชี้วาอาจมีการติดเชื้อซ้ํา ๆ ได สําหรับผูที่มี
อายุมากกวา 60 ปปริมาณคงเหลือของปสสาวะหลังจากปสสาวะสุดแลวอาจมากถึง 50 – 100 มิลลิลิตร
เนื่องจากความออนแอของกลามเนื้อ detrusor ในภาวะปสสาวะคั่งคางเรื้อรังอาจตรวจพบวาขนาดความจุ
ของกระเพาะปสสาวะเพิ่มขึ้นมากกวาปกติ (ปกติ 400 – 600 มิลลิลิตร)
การตรวจหา prostate-specific antigen (PSA) ชวยในการวินิจฉัยและแยกโรคมะเร็งตอมลูกหมาก
ตอมลูกหมากโต และตอมลูกหมากอักเสบออกไปได และการตรวจชิน้ เนื้อของตอมลูกหมาก (TRUS
biopsy of the prostate [trans-rectal ultra-sound guided]) สามารถแยกภาวะดังกลาวออกจากกันได
การตรวจ BUN/Cr ชวยบอกถึงความเสียหายของไตจากแรงดันยอนกลับของปสสาวะ การตรวจทางเดิน
ปสสาวะดวยกลอง จะชวยใหเห็นสภาพและชนิดของการอุดกั้นในทางเดินปสสาวะได

การรักษา
ในภาวะปสสาวะคางชนิดฉับพลัน การใสสายสวนปสสาวะ หรือใส prostatic stent หรือการผาตัด
วางสายระบายปสสาวะผานหนาทองเปนการรักษาเบื้องตนเพื่อลดแรงดันในกระเพาะปสสาวะ
ในระยะยาว การรักษาขึน้ กับสาเหตุที่ตรวจพบ ตอมลูกหมากโตอาจใหการรักษาดวยยาเชน alpha
blocker and 5-alpha-reductase inhibitor หรือการผาตัดลดขนาดตอมลูกหมาก (prostatectomy or
transurethral resection of the prostate [TURP]) สําหรับผูสูงอายุที่ยังคงมีปญ
 หาอยูอาจใชการสวน
ปสสาวะดวยตัวเองเปนระยะ ๆ ซึ่งยา 5-alpha-reductase inhibitor อาจชวยใหปสสาวะคลองมากขึน้ หลัง
การถอดสายสวนปสสาวะ

ภาวะแทรกซอน
Page 127

ภาวะปสสาวะคาง อาจเกิดขึน้ ไดโดยไมมีอาการเตือน จะพบเพียงการปสสาวะที่ออกนอยลงเรื่อย ๆ


แตในบางคนเทานัน้ ที่อาจเกิดขึน้ กะทันหัน ซึง่ ถือเปนภาวะฉุกเฉินที่ตองรีบรักษา อาการปวดอาจปวดอยาง
รุนแรงเมื่อไมสามารถปสสาวะออกได นอกจากนี้อาจมีอาการเหงื่อแตก เจ็บหนาอก วิตกกังวล และความ
ดันโลหิตสูงขึน้ ผูปวยบางคนอาจเปนลมหมดสติ หรืออาจมีภาวะฉุกเฉินของหัวใจรวมดวยได และหาก
ไมไดรับการรักษาที่ถกู วิธีอาจมีอันตรายตอกระเพาะปสสาวะและเกิดภาวะไตวายเรื้อรังตามมา ภาวะ
ปสสาวะคั่งคางเปนภาวะที่หากรักษาไดเร็วจะลดภาวะแทรกซอนไดมาก

ในมุมมองของศาสตรการแพทยแผนจีน
ศาสตรการแพทยจีนกลาววา ภาวะนี้เปนผลมาจากชี่ของกระเพาะปสสาวะทํางานไมปกติ ดังที่กลาว
ไวใน คัมภีร หวงตี้เนยจิง วา “กระเพาะปสสาวะมีหนาทีเ่ ก็บรวบรวมของเหลว หากสามารถปสสาวะไดปกติ
หมายถึงชี่เปนปกติดี หากผิดปกติจะเกิดการคั่งของปสสาวะ”

สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
ความรอนที่สะสมตกคางในกระเพาะปสสาวะ หรือความรอนที่เคลื่อนที่มาจากไตสะสมในกระเพาะ
ปสสาวะ จะขัดขวางหนวงเหนี่ยวชี่และกอใหเกิดการคั่งของปสสาวะ
ไตและกระเพาะปสสาวะตางมีความสัมพันธแบบนอกใน หนาที่ของกระเพาะปสสาวะเกิดจากหยาง
ไตอุนกระเพาะปสสาวะ หากหยางไตและไฟมิ่งเหมินออนลงจะทําใหกระเพาะปสสาวะไมสามารถขับ
ปสสาวะออกไปได
ภาวะการบาดเจ็บ หรือการผาตัดที่ขัดขวางหนวงเหนีย่ วการไหลเวียนของชีใ่ นเสนลมปราณ หรือ
กอใหเกิดการบาดเจ็บตออวัยวะตัน ตางเปนสาเหตุใหเกิดการคั่งของปสสาวะ

การวินิจฉัยแยกกลุมโรค
1) ความรอนสะสมตกคางในกระเพาะปสสาวะ
อาการ: ปสสาวะรอน ออกนอยหรือไมออก รูสึกแนนและหนวงในทองนอย กระหายน้ําแตไมอยาก
ดื่มน้ํา ทองผูก
ลิ้น แดง ฝาเหลือง ชีพจร เร็ว
วิเคราะหอาการ: ในภาวะที่มีความรอนสะสมตกคางในกระเพาะปสสาวะ ปสสาวะจะรอน ออก
นอยและคั่งในกระเพาะปสสาวะได เมื่อมีน้ําและความรอนอยูดวยกัน ประกอบกับหนาที่ของกระเพาะ
ปสสาวะเสียไป จะเกิดการคัง่ ของปสสาวะ เมื่อของเหลวในรางกายไมสามารถหมุนเวียนไดตามปกติ จะ
เกิดการกระหายน้ําแตไมอยากดื่มน้ํา ลิ้น แดงฝาเหลือง ชีพจร เร็ว ทองผูกเปนอาการที่เกิดจากความรอน
สะสมในทองสวนลาง
2) ไฟที่มิ่งเหมินลดลง
Page 128

อาการ: ปสสาวะออกทีละนอยเปนหยด ๆ ความแรงของปสสาวะลดลง ดูซีดกระวนกระวาย มีการ


สั่นของรางกายสวนต่ํากวาเอว ปวดเมื่อยเอวเขาออน
ลิ้น ซีด ; ชีพจร จมเล็ก ออนแรงที่ตําแหนงไต
วิเคราะหอาการ: อาการของปสสาวะออกทีละนอยเปนหยดๆ ความแรงของปสสาวะลดลง เปน
อาการของหยางไตพรอง ซึ่งจะมีผลตอการลําเลียงขนสงปสสาวะ ภาวะซีด กระวนกระวาย และลิน้ ซีดเกิด
จากไฟที่มิ่งเหมินลดลงสงผลใหชเี่ ดินทางไปที่ไตลดลง
3) ชี่ในเสนลมปราณถูกทําลาย
อาการ: ปสสาวะออกทีละนอย เปนหยด ๆ หรือปสสาวะคัง่ ปวดหนวงทองนอย
ลิ้นสีมวงคล้ําเปนจุด ๆ ชีพจรเร็วสลับหยุดไมแนนอน (CuMai)
วิเคราะหอาการ: หลังจากไดรับบาดเจ็บ หรือหลังการผาตัดในชองทองสวนลาง ชี่ของเสนลมปราณ
กระเพาะปสสาวะไดรับความเสียหาย เกิดภาวะเลือดคั่ง ตามมาดวยอาการปสสาวะออกนอยเปนหยด ๆ
ปสสาวะคั่ง ปวดหนวงในทองนอย ลิ้นสีมวงคล้ําเปนจุด ๆ ชีพจรเร็วสลับหยูดไมแนนอน เปนอาการของ
เลือดคั่ง

การรักษา
การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
1. ความรอนสะสมตกคางในกระเพาะปสสาวะ
หลักการรักษา: เลือกจุดอวัยวะหนาและหลัง (Shu-Mu) เปนจุดหลักในการรักษา กระตุน ระบาย
เพื่อขจัดความรอน และกระตุนใหเกิดการปสสาวะ
จุดหลัก: PangGuangShu (BL 28), ZhongJi (CV 3), SanYinJiao (SP 6),
และ WeiYang (BL 39)
อธิบาย: PangGuangShu (BL 28) จุดอวัยวะหลังของกระเพาะปสสาวะ และ ZhongJi (CV 3) จุด
อวัยวะหนาของกระเพาะปสสาวะ ใชการกระตุนระบาย เพื่อระบายความรอนจากกระเพาะปสสาวะ และ
ปรับการทํางาน, SanYinJiao (SP 6) ใชเพื่อขจัดความรอนจากชองทองชวงลาง, WeiYang (BL 39) จุด
เหอลางของซานเจียวเสริมการไหลเวียนของน้ํา จุดที่กลาวมานี้ใชรวมกันจะชวยขจัดความรอนเพิ่มการขับ
ปสสาวะ
2. ไฟที่มิ่งเหมินลดลง
หลักการรักษา: เลือกจุดทีเ่ กีย่ วของบนเสนลมปราณไตเปนจุดหลัก ใชการปกกระตุน บํารุงเพื่ออุนห
ยางไต
Page 129

จุดหลัก: MingMen (GV 4), ShenShu (B L23), BaiHui (GV 20), GuanYuan (CV 4) และ
YangChi (TE 4)
อธิบาย: ในภาวะทีช่ ี่ไตพรองและไฟที่มิ่งเหมินลดลงตองทําการเสริมบํารุงชี่ไต จึงใช
จุด MingMen (GV 4) และ ShenShu (BL 23) กระตุนบํารุง เพื่อบํารุงหยางไต รมยาที่จุด
BaiHui (GV 20) และ GuanYuan (CV 4) เพื่อเสริมกระตุน ชี่ไต ซึ่งการขับถายของปสสาวะทีด่ ียอมเกิดจาก
การไหลเวียนของชี่ที่ดี ดังนั้นเมื่อชี่ไตพรองจึงทําใหซานเจียวควบคุมการไหล เวียนของน้ําไดไมด,ี YangChi
(TE 4) เปนจุดหยวนชี่ของซานเจียวจะทําใหการทําหนาทีข่ องซานเจียวเปนปกติ และการไหลเวียนของน้ําก็
เปนปกติ

3. ชี่ในเสนลมปราณถูกทําลาย
หลักการรักษา: เลือกจุดอวัยวะหนา (Mu) ของกระเพาะปสสาวะเปนจุดหลัก ใชการกระตุน บํารุง
และระบายเทากัน เพื่อเสริมการไหลเวียนของชี่ในเสนลมปราณ และคงการทําหนาที่ของกระเพาะปสสาวะ
จุดหลัก: ZhongJi (CV 3), SanYinJiao (SP 6), ShuiDao (ST 28), ShuiQuan (KI 5)
อธิบาย: การบาดเจ็บหรือการผาตัด อาจกอความเสียหายตอหลอดเลือดและการไหล เวียนของ
โลหิต และกอใหเกิดการขัดขวางการทํางานของกระเพาะปสสาวะ ทําใหมีภาวะปส สาวะออกนอย หรือไม
ออกได, ZhongJi (CV 3) จุดอวัยวะหนาของกระเพาะปสสาวะ ใชเพื่อปรับการทํางานของกระเพาะ
ปสสาวะ และเพิ่มการขับปสสาวะ ; SanYinJiao (SP 6) ใชเพื่อเสริมการไหลเวียนของเลือดและชี่ของเสน
ลมปราณ ; ShuiQuan (KI 5) จุดซีของเสนลม ปราณไตและ ShuiDao (ST 28) ใชเพื่อเสริมการขับปสสาวะ
ลดภาวะแนนตึงและลดปวดของทองนอย

- การฝงเข็มหู
จุดที่ใช: Urinary bladder, Kidney, Urethra, External genitalia, End of inferior helix crus
วิธีการ: เลือกครั้งละ 2 – 4 จุด ใชปกเข็ม กระตุน ดวยมือหรือใชเครื่องกระตุนไฟฟา นาน 15 – 20
นาที เลือกใชจุดสลับกันไป ในการรักษารอบใหม ทําการรักษาวันละครั้ง

- การกระตุนดวยเครื่องกระตุนเข็มไฟฟา
จุดที่ใช: WeiDao (GB 28)
วิธีการ: ปกทีจ่ ุด WeiDao (GB 28) ทั้งสองขางใหปลายเข็มชี้ไปที่จดุ QuGu (CV 2) ลึก 2 – 3 ชุน
แลวกระตุนดวยเครื่องกระตุน ไฟฟา ดวยคลื่น intermittent นาน 10 – 20 นาที ในระหวางนี้ ใหปรับเพิ่ม
ความแรงทีละนอย

- การรมยา
Page 130

จุดที่ใช: SanJiaoShu (BL 22), ShenShu (BL 23), ZhongJi (CV 3), CiLiao (BL 32)
วิธีการ: ใชโกฐฯ แทง รมทีจ่ ุดโดยตรง รมยา จุดละ 3 – 5 นาที หากใชขิงคัน่ ใหใชโกฐฯ ปน 5 – 7
กอนตอจุด ทําการรักษาวันละครั้ง

- การกดนวดจุด
จุดที่ใช: LiNiao (EX-CA 4); {จุดกึ่งกลางระหวางกลางสะดือกับขอบบนกระดูกหัวเหนา (เทากับ 2.5
ชุนเหนือขอบบนกระดูกหัวเหนา) หรืออยูระหวางจุด GuanYuan (CV 4) และ ShiMen (CV 5)}
วิธีการ: ใชนิ้วหัวแมมือกดนวดเบา ๆ ชา ๆ นานประมาณ 15 นาทีจนผูปวยรูสึกอยากปสสาวะ และ
ใหกระตุน ตอจนกระทัง่ ปสสาวะเสร็จ หรือใชการฝงเข็มที่จดุ นี้โดยใชเข็ม 1.5 ชุนปกลึก 1 ชุนกระตุน เข็มดวย
การหมุนเข็มไปมา จนไดชี่และทําใหผูปวยรูสกึ อยากปสสาวะ หากยังไมอยากปสสาวะหลังกระตุนเข็มแลว
ใหกระตุน ซ้ําในอีก 5 นาที จนกวาจะรูสึกอยากปสสาวะ และปสสาวะออกได

หมายเหตุ: การรักษาดวยการฝงเข็มเปนการรักษาที่ไดผลดีทั้งภาวะปสสาวะคั่งหรือกลัน้ ปสสาวะ


ไมได สิ่งที่สําคัญคือสาเหตุที่แทจริงของโรคควรไดรับการตรวจและรักษาใหหาย หากกระเพาะปสสาวะมี
ปสสาวะเต็มอยูควรปกเข็มตืน้ และเอียง ไมควรปกตั้งตรงและลึก
Page 131

รูปที่ 23 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปสสาวะตกคาง

แผลกระเพาะอาหาร
(Peptic Ulcer : 胃溃疡)
แผลในกระเพาะอาหาร หมายถึง แผลทีเ่ กิดขึ้นที่ผนังของกระเพาะอาหารและลําไสเล็กสวนตน
(duodenum) ลักษณะเปนรูปกลมหรือรี มักเกิดทีบ่ ริเวณ pyrorus ของกระเพาะอาหาร และ bulb ของ
ลําไสเล็กกอน สาเหตุอาจมากมายแตไมสามารถยืนยันไดแนนอน มักจะมีอาการปวดบริเวณลิน้ ป เรอหรือ
เรอเปรี้ยว คลืน่ ไส อาเจียนและเบื่ออาหาร อาการปวดเริ่มตนมักเกี่ยวของกับการรับประทานอาหารลงไป
ในกรณีของแผลในกระเพาะอาหารมักเกิดอาการปวดราว 30 นาทีถึง 2 ชั่วโมง หลังรับประทานอาหารแลว
หายไป บางครั้งอาจปวดกอนรับประทานอาหารมื้อตอไป สวนแผลในลําไสเล็กสวนตนมักจะปวดหลัง
รับประทานอาหารแลว 3 – 4 ชั่งโมง และดีขึ้นหลังรับประทานอาหารมื้อถัดไป
โดยทั่วไป ถาเมื่อใดทีเ่ รารูสึกปวดทองเรามักจะคิดวาเปนโรคกระเพาะอาหารกอนเปนอันดับตน ๆ ทั้ง
ที่ความจริงแลวอาจเปนโรคอื่น ๆ เชน โรคนิ่วในถุงน้ําดี (มีอาการคลายกับโรคกระเพาะอาหารทุกอยาง) ตับ
อักเสบ เนื้องอกในตับ และตับออนอักเสบ เปนตน ในทีน่ เี้ ราจะกลาวถึงโรคแผลในกระเพาะอาหาร ซึ่งเปน
โรคที่มีความรุนแรงและอาจมีภาวะแทรกซอนทีเ่ ปนอันตรายถึงชีวิตได

อาการและความรุนแรง
Page 132

ผูปวยอาจจะปวดทองมากหรือนอยตามอาการ ทองอืด คลื่นไส กินอิ่มงาย หากมีอา การรุนแรง จะมี


เลือดออกและทําใหกระเพาะทะลุ ซึ่งถือวาเปนอาการที่รนุ แรงมาก โดยทั่วไปพบวาผูปวยรอยละ 50 - 60
อาการจะคอย ๆ ทุเลา และหายไปเองโดยไมตองรับการรักษา แตโอกาสทีจ่ ะกลับมาเปนอีกมีอัตราสูงถึง
รอยละ 80 ถึงแมวาจะไดรับการรักษาดีเพียงใดก็ตาม และที่สําคัญ คือ พบวามีอาการแทรกซอน ซึง่
หมายถึง มีเลือดออก ถายเปนเลือด ถายเปนสีดําเหลว (จากเลือดที่ออกในกระเพาะอาหาร ทําปฏิกิริยากับ
กรดในกระเพาะอาหาร) นอกจากนี้ หากแผลทะลุจะทําใหปวดทองอยางรุนแรง มีไข ช็อค และอาจถึงแก
ชีวิต การรักษาจะทําโดยการผาตัด แผลที่หายจะเปนพังผืด โดยเฉพาะลําไสเล็กที่จะตีบ อุดตัน ทําใหมี
อาการอาเจียน และปวดทอง โดยทั่วไปผูปวยทีเ่ คยมีเลือดออกจะมีโอกาสเกิดโรคซ้ําเพิ่มจากรอยละ 20 -
25 เปน รอยละ 50 และจากสถิติพบวาผูปวยรอยละ 50 ของคนไขที่มีเลือดออกจะไมแสดงอาการใด ๆ
แมแตปวดทอง ซึ่งเปนสิ่งที่พึงระวังของโรคชนิดนี้
อาการ
1) จะปวดทองเมื่อทองวาง ใกลมื้ออาหารหรือหลังอาหาร แตจะไมปวดตลอดเวลา เมื่อได
รับประทานอาหารจะทําใหอาการดีขึ้น ซึ่งแตกตางจากอาการของโรคนิ่วในถุงน้ําดี ที่จะปวดทองหลัง
อาหาร ไมปวดตอนทองวาง แตถาปวดจะปวดตลอดทัง้ คืนติดตอกัน
2) ปวดทองเวลาดึก คลื่นไส อาเจียนออกมาเปนอาหารที่แยกชนิดอยางชัดเจน

การดูแลตนเอง แบงออกเปน 3 ระยะ


ระยะที่ 1 ปองกันการเกิดโรค สามารถทําโดยวิธีดังนี้
- คนหาสาเหตุ และสังเกตอาหารที่รับประทาน วาทําใหรางกายเกิดความผิดปกติหรือ ไม อยางไร
- ไมรับประทานยาแกปวดโดยปราศจากแพทยสั่ง และควรหลีกเลีย่ งสารเสพติด และเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล รวมทั้งของหมักดอง
- พักผอนใหเพียงพอ ทําจิตใจใหสบายไมเครียด
- หากมีอาการของโรคติดเชื้อชนิดตาง ๆ เชน ไขเลือดออก มาลาเรีย ไทฟอยด ไขหวัดใหญ ควรรีบ
รักษาใหหายขาดโดยเร็ว
ระยะที่ 2 การรักษาเมื่อมีอาการอักเสบ
- พบแพทยสม่ําเสมอตามเวลานัด โดยทั่วไปแพทยจะใหรับประทานยาน้ําหรือยาเม็ด โดยพิจารณา
จากความรุนแรงของอาการ โดยปกติผปู วยที่มีอาการระยะรุนแรงแพทยจะใหรับประทานยานํ้า เนื่องจาก
ออกฤทธิ์เร็ว
- ควรรับประทานอาหารที่ยอยงาย และมีรสชาติออน
- พักผอนใหเพียงพอ
ระยะที่ 3 หลังจากไดรับการรักษา
Page 133

- งดอาหารที่เปนปจจัยเสี่ยง เชน เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ชา กาแฟ อาหารรสจัด รอนจัด เย็นจัด


ของหมักดอง รวมทั้งอาหารทีท่ ําใหเกิดกาซในกระเพาะอาหาร
- ทําจิตใจใหสดชื่นแจมใส และพักผอนอยางเพียงพอ
- ดื่มน้ํามาก ๆ ปองกันอาการทองผูก และควรเคี้ยวอาหารใหละเอียด เพื่อไมใหกระ เพาะอาหาร
ทํางานหนัก
โรคแผลในกระเพาะอาหารเปนเหมือนภัยเงียบที่คอยบัน่ ทอนสุขภาพ หากละเลยไมใหความใสใจ
ดูแลสังเกตอาการของตนเอง อาจทําใหความรุนแรงของโรคเพิ่มมากขึน้ และอาจถึงแกชีวิตได ดังนัน้ เมื่อมี
อาการที่ใกลเคียงกับทีก่ ลาวมา จึงควรพบแพทยเพื่อตรวจโดยเร็ว เพราะถาหากทิ้งไวนานจะสงผลใหการ
รักษาไมไดประสิทธิภาพเทาที่ควร
การแพทยแผนจีน จัดใหแผลในกระเพาะอาหารอยูใ นกลุม WeiWanTong (epigastric pain) มี
สาเหตุจากสมองถูกรบกวนการทํางานจากชีต่ ับติดขัด และผลสืบเนื่องจากกระเพาะอาหารถูกชี่ตับรุกราน
หรือสุขนิสัยการรับประทานอาหารไมถูกตอง เชน รับประทานอาหารไมเปนเวลา หรือชอบรับประทาน
อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เย็นหรือรสชาติจัดจาน กอใหเกิดการบาดเจ็บตอกระเพาะอาหารและมาม สาเหตุของ
แผลในกระเพาะอาหารคือการคั่งของชี่และเลือดทําใหกระทบตอกระเพาะอาหาร มามและตับ

การรักษา
แผลในกระเพาะอาหารแบงตามสาเหตุไดเปน 5 ชนิดคือ 1) ชี่ของกระเพาะอาหารและตับติดขัด 2) ชี่
และเลือดคั่ง 3) ความรอนติดขัดในกระเพาะอาหารและตับ 4) อินกระเพาะอา หารพรอง และ 5) ภาวะเย็น
พรองของมามและกระเพาะอาหาร ใชจดุ บนเสนลมปราณกระเพาะอาหาร มาม กระเพาะปสสาวะและตับ
เพื่อรักษา

1. ชี่ของกระเพาะอาหารและตับติดขัด
อาการ: ปวดแนนบริเวณลิน้ ป จุกเสียดชายโครง เรอหรือเรอเปรี้ยว เบื่ออาหาร อาการ
แยลงหากอารมณไมดี
ลิ้น บางฝาขาว ; ชีพจร ตึง (XianMai)
หลักการรักษา: ลดชี่ตับติดขัด ปรับการไหลเวียนของชี่ ปรับสมดุลกระเพาะอาหารเพื่อลดอาการ
ปวด
จุดหลัก:
- ระบาย GeShu (BL 17), GanShu (BL 18), TaiChong (LR3), QiMen (LR 14)
- บํารุงระบายเทากัน WeiShu (BL 21), ZhongWan (CV 12), ZuSanLi (ST 36
อธิบาย: GanShu (BL 18) จุดซู และ QiMen (LR 14) จุดมูของตับจะชวยสงบตับและกระจายชีต่ ับ
ที่ติดขัด; GeShu (BL 17) ปรับเสริมการไหลเวียนของชี่บริเวณทรวงอก; WeiShu (BL 21) จุดซู และ
Page 134

ZhongWan (CV 12) จุดมูของกระเพาะอาหารและ ZuSanLi (ST 36) จุดเหอลางของกระเพาะอาหาร ใช


เพื่อปรับควบคุมชี่ของจงเจียวและลดอาการปวด
จุดเสริม: กระตุนระบายทีจ่ ุดตามอาการ ดังนี้
- คลื่นไสอาเจียน – NeiGuan (PC 6)
- ปวดลิ้นปมาก – LiangMen (ST 21), LiangQiu (ST 34)
- เรอเปรีย้ วและจุกแนนทอง – PiShu(BL 20)

2. ชี่และเลือดคั่ง
อาการ: ปวดบริเวณลิ้นปเหมือนมีดบาด ไมราวไปที่ใด กดนวดแลวอาการเปนมากขึ้น อาจมีอาการ
อาเจียนเปนเลือด หรือถายอุจจาระเปนเลือดรวมดวย
ลิ้น สีมวงคล้ํามีจุดเลือดกระจาย ; ชีพจร จม หรือจมฝด (ChenMai or ChenSeMai)
หลักการรักษา: กระตุนการไหลเวียนของชี่และเลือด ลดการคั่งของเลือด หยุดเลือด ออกและอาการ
ปวด
จุดหลัก:
- ระบาย GeShu (BL 17), GanShu (BL 18), PiShu (BL 20), ZhongWan (CV12)
- บํารุงระบายเทากัน ZuSanLi (ST 36)
อธิบาย: GeShu (BL 17) จุดอิทธิพลของเลือด, GanShu (BL 18) จุดซูของตับใชควบคุมกํากับการ
ไหลเวียนของชี่ตับใหราบรื่นและเปนทีเ่ ก็บเลือด; PiShu (BL 20) จุดซูของมาม ซึ่งมามมีหนาที่สรางเลือด
และหมุนเวียนเลือดในกระแสโลหิตใชเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของชี่ ลดอาการเลือดคั่งและหยุดเลือดออก;
ZhongWan (CV 12) และ ZuSanLi (ST 36) เสริมบํารุงมามควบคุมการทํางานของกระเพาะอาหาร
จุดเสริม: อาเจียนเปนเลือดหรือถายเปนเลือด – ระบาย NeiGuan (PC 6),
SanYinJiao (SP 6) และ XueHai (SP 10)

3. ความรอนติดขัดในกระเพาะอาหารและตับ
อาการ: ปวดบริเวณลิ้นปอยางฉับพลัน รวมกับอาการแสบรอน อาการเปนมากขึน้ จากการ
รับประทานอาหาร ปากแหง ขมในปาก เรอเปรี้ยวและจุกแนนทอง ถายแข็งแหง ปสสาวะสีเขม ลิ้นแดงฝา
เหลือง ชีพจรตึงเร็ว
จุดหลัก: ระบาย GanShu (BL 18), WeiShu (BL 21), ZhongWan(CV 12),
ZuSanLi (ST 36), NeiTing (ST 44), XingJian (LR 2)
อธิบาย : GanShu (BL 18) และ XingJian (LR 2) ใชระบายไฟจากตับ; WeiShu (BL 21) และ
ZhongWan(CV 12) จุดซูมูของกระเพาะอาหารชวยประสานการทํางานของจงเจียวและลดปวด;
Page 135

ZuSanLi(ST 36) และ NeiTing(ST 44) ควบคุมชี่ของกระเพาะอาหาร ระบายความรอนในกระเพาะอาหาร


และระงับปวด
จุดเสริม:- ปวดลิ้นปมาก: ระบาย LiangQiu (ST 34) และ SanYinJiao (SP 6)
- ทองผูก; ระบาย ZhiGou (TE 6) และ ChengShan (BL 57)

4. อินกระเพาะอาหารพรอง
อาการ: ปวดลิ้นปแบบอืดแนน ไมสบายในทอง รูสึกหิวแตไมอยากรับประทานอาหาร หลัง
รับประทานอาหารจะรูสึกแนนอึดอัดในทอง กระวนกระวาย นอนไมหลับ กระหายน้ํา ปากแหง ทองผูกถาย
แข็งแหง
ลิ้น แดงฝาบาง ; ชีพจร เล็ก-เร็ว (Xi-ShuMai)
หลักการรักษา: บํารุงอิน ปรับสมดุลกระเพาะอาหาร
จุดหลัก:- บํารุง PiShu (BL 20), WeiShu (BL 21), ZuSanLi(ST 36),
SanYinJiao(SP 6), TaiXi(KI 3)
- บํารุงระบายเทากัน ZhongWan (CV 12), NeiGuan (PC 6)
อธิบาย: PiShu (BL 20) และ SanYinJiao (SP 6) เสริมหนาที่ของมามเพื่อบํารุงจงเจียวและสราง
ของเหลว; WeiShu (BL 21) และ ZhongWan (CV 12) บํารุงกระเพาะอาหาร สรางของเหลว ระบายความ
รอนจากกระเพาะอาหาร; NeiGuan (PC 6) และ TaiXi (KI 3) ระบายความรอน เสริมอิน และลดปวด;
ZuSanLi (ST 36) บํารุงกระเพาะอาหารและแกปวด
จุดเสริม: กระตุนบํารุงระบายเทากัน ตามอาการ ดังนี้
- เบื่ออาหารจุกแนนลิน้ ป – LiangMen (ST 21) และ TianShu (ST 25)
- ทองผูกถายแข็งแหง - ZhiGou (TE 6) และ ChengShan (BL 57)

5. ภาวะเย็นพรองของมามและกระเพาะอาหาร
อาการ: ปวดแนนลิน้ ป อาการเปนมากขึ้นเมื่อหิว และดีขึ้นเมื่อทานอาหารเขาไป ชอบความอุนและ
ชอบกดนวด ดูซีด เหนื่อยออนเพลีย ถายเหลว ลิ้นซีดฝาขาว
หลักการรักษา: เสริมบํารุงมามและชี่ อุนจงเจียวเพื่อปรับสมดุลกระเพาะอาหาร
จุดหลัก:- บํารุงหรือรมยา PiShu (BL20), WeiShu (BL21), ZhongWan (CV12),
TianShu (ST25), ZuSanLi (ST36), QiHai (CV6)
- บํารุงระบายเทากัน ZhangMen (LR 13)
อธิบาย : PiShu (BL 20), WeiShu (BL 21), ZhongWan (CV 12) และ ZhangMen (LR 13) จุดซูมู
ของมามและกระเพาะอาหาร ใชอนุ มามและกระเพาะอาหาร ขจัดความเย็น; QiHai (CV 6) และ ZuSanLi
(ST 36) ใชอุนหยางเสริมชี;่ ZhongWan (CV 12), TianShu (ST 25) และ QiHai (CV 6) เปนจุดตามคัมภีร
Page 136

โบราณที่กลาววาเปนจุดสี่ประตู (Four Door Points) มีประสิทธิภาพในการรักษาอาการแนนอึดอัดทอง


ปวดทอง และถายเหลว
จุดเสริม: กระตุนบํารุงหรือรมยา ทีจ่ ุดตามอาการ ดังนี้
- ถายเหลว – TianShu (ST25)
- อาเจียนเปนเลือด ถายเปนเลือด – GeShu (BL17)

การรักษาดวยเทคนิคอื่น
1. ปก 5 จุด
ขอบงใช: แผลในกระเพาะอาหารหรือลําไสเล็กสวนตน
จุดที่ใช: NeiGuan (PC 6), ZuSanLi (ST 36), ZhongWan (CV 12)
วิธีการ: ใชเข็ม 2 ชุน กระตุน ดวยการหมุนเข็ม ยกเข็มขึ้นลง แบบบํารุงระบายเทากัน ใชความแรงใน
การกระตุนปานกลาง หลังจากไดชี่แลว คาเข็มไว 40 นาที กระตุนเข็มทุก 10 นาที ฝงเข็มวันละครั้ง ฝงทุก
วัน ฝงครบ 10 ครั้งเปน 1 รอบการรักษา หลังครบรอบการรักษาเวนระยะ 3 – 5 วัน จึงเริ่มรอบการรักษา
ใหม ใชทั้งหมด 3 รอบการรักษา

2. การฝงเข็มหู
จุดทีใ่ ช: Stomach, Duodenum, Abdomen, Spleen, Liver, Sympathetic, Subcortex, ShenMen
วิธีการ: ใหใชเทคนิคการฝงเข็มใบหูตามมาตรฐาน

3. การครอบกระปุก
จุดที่ใช: ZhongWan (CV 12), LiangMen (ST 21), YouMen (KI 21),
GanShu (BL 18), PiShu (BL 20), WeiShu (BL 21)
วิธีการ: ใชกระปุกขนาดใหญหรือกลาง ใชเวลา 10 – 15 นาที

4. การใชเข็มน้ํา
จุดที่ใช: WeiShu (BL 21), PiShu (BL 20), ZhongWan (CV 12),
NeiGuan (PC 6) และ ZuSanLi (ST 36)
วิธีการ: เลือก 1 – 3 จุดในแตละครั้งของการรักษา ใช procaine 1% ปริมาณ 1 – 2 ซีซีฉดี จุดที่เลือก
ไว ทําการรักษาวันละครั้ง

ความเห็นเพิม่ เติม : โดยเหตุที่ความปรวนแปรของอารมณ และการรับประทานอาหารที่ไม


เหมาะสม ตางลวนเปนสาเหตุที่สําคัญ ที่จะไปกระตุนใหอาการแผลในกระเพาะอาหารและลําไสเล็ก ทวี
ความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ดังนัน้ แลวควรแนะนําผูป วย ใหหลีกเลีย่ งอาหารและเครื่องดื่มที่เย็น อาหารที่มัน
Page 137

หรือกอใหเกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหารและลําไส ไมควรดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล หรือสูบบุหรี่ใน


ระหวางที่มารับการรักษา สวนผูปวยที่จัดอยูในกลุมพรองนั้น การรมยาตอเนื่องในระยะยาวจะทําใหไดผล
ในการรักษาที่ดีมากขึน้

การรักษาในกรณีฉุกเฉิน Acute Perforation of Gastroduodenal Ulcer


จุดที่ใช: ZuSanLi (ST 36), ZhongWan (CV 12),
TianShu (ST 25), NeiGuan (PC 6)
วิธีการ: ปกเข็มกระตุน แรงแบบระบาย เมื่อไดชี่แลวคาเข็มไว 30 – 60 นาที และกระ ตุน ซ้ํา ทุก 10 –
15 นาที ทําการรักษาทุก 4 – 6 ชั่วโมง สามารถใชเครื่องกระตุนไฟฟาได โดยใชคลื่น continuous ความถี่สูง
แรงเทาที่ผปู วยทนไดนาน 30 – 60 นาที
หมายเหตุ: การรักษาแผลกระเพาะอาหารและลําไสเล็กสวนตนทะลุ ดวยการฝงเข็มนั้น จะไดผลดี
ในกรณีทเี่ ปนแผลขนาดเล็ก และผูปวยมีสุขภาพแข็งแรง ซึ่งการฝงเข็มสามารถลดอาการปวดไดดี แตหาก
วาใหการรักษาไปแลว 1 – 2 รอบการรักษา อาการตาง ๆ ไมดีขึ้นใหรีบสงตอเพื่อตรวจเพิ่มเติมและใหการ
รักษาที่เหมาะสมตอไป
Page 138

รูปที่ 24 แสดงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหาร
จากชี่กระเพาะและตับติดขัด

รูปที่ 25 แสดงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหาร
จากชี่และเลือดคั่ง
Page 139

รูปที่ 26 แสดงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหาร
จากกระเพาะรอน
Page 140

รูปที่ 27 แสดงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหาร
จากอินกระเพาะพรอง
Page 141

รูปที่ 28 แสดงจุดฝงเข็มรักษาแผลกระเพาะอาหาร
จากเย็นพรอง

กรดไหลยอน
( Acid Regurgitation : 胃反酸 )
โรคกรดไหลยอน (Acid Regurgitation or Gastroesophageal Reflux Disease: GERD) หมายถึง
โรคที่มีอาการซึ่งเกิดจากการไหลยอนกลับของกรดหรือน้ํายอยในกระเพาะอาหาร ขึ้นไปในหลอดอาหาร
สวนบนอยางผิดปกติ ซึ่งสามารถเกิดขึน้ ไดในเวลากลางวัน หรือกลางคืน หรือแมแตผูปวยไมไดรับประทาน
อาหารก็ตาม ทําใหเกิดอาการจากการระคายเคืองของกรด เชน อาจทําใหเกิดหลอดอาหารอักเสบและมี
แผล หรือ หลอดอาหารอักเสบโดยไมเกิดแผล หรือถากรดไหลยอนขึ้นมาเหนือกลามเนื้อหูรูดของหลอด
อาหารสวนบน อาจทําใหเกิดอาการนอกหลอดอาหาร (atypical or extraesophageal GERD) เชน อาการ
ทางปอด หรือ อาการทางคอและกลองเสียง (laryngopharyngeal reflux : LPR)
โดยปกติ รางกายจะมีกลไกปองกันไมใหเกิดภาวะไหลยอนกลับของกรดในกระเพาะอาหาร ขึ้นไปใน
ระบบทางเดินอาหารสวนบน เชน การบีบตัวของหลอดอาหาร การทํางานของกลามเนื้อหูรูดของหลอด
Page 142

อาหารสวนบน และสวนลาง เยื่อบุของหลอดอาหารมีกลไกปองกันการทําลายจากกรด การที่เกิดโรคกรด


ไหลยอนนั้นเชื่อวาเกิดจากกลามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารสวนลาง มีการคลายตัวอยางผิดปกติ ทําใหมี
การไหลยอนกลับของกรดขึ้นไปในหลอดอาหารไดงาย โดยปกติถากรดไหลยอนขึน้ ไปในคอหอย จะกระตุน
ใหกลามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารสวนบนหดตัว ปองกันไมใหกรดไหลยอนขึ้นไป ผูปวยทีเ่ ปนโรคกรดไหล
ยอนนั้น เชื่อวามีการทํางานของระบบปองกันดังกลาวเสียไป จึงมีกรดไหลยอนขึ้นไปในคอหอย, กลองเสียง
และปอดได

อาการของผูปวยขึ้นอยูก ับอวัยวะที่ถูกระคายเคืองโดยกรด เชน


1. อาการทางคอหอยและหลอดอาหาร
- อาการปวดแสบรอนบริเวณหนาอก และลิ้นป บางครัง้ อาจราวไปที่บริเวณคอได
- รูสึกคลายมีกอนอยูในคอ
- กลืนลําบาก หรือกลืนเจ็บ
- เจ็บคอ หรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเชา
- รูสึกเหมือนมีรสขมของน้ําดี หรือรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก
- มีเสมหะอยูในลําคอ หรือระคายคอตลอดเวลา
- เรอบอย คลื่นไส
- รูสึกจุกแนนอยูใ นหนาอก คลายอาหารไมยอย
2. อาการทางกลองเสียง และปอด
- เสียงแหบเรื้อรัง หรือ แหบเฉพาะตอนเชา หรือมีเสียงผิดปกติไปจากเดิม
- ไอเรื้อรัง
- ไอ หรือ รูสึกสําลักในเวลากลางคืน
- กระแอมไอบอย
- อาการหอบหืดที่เคยเปนอยูแยลง(ถามี)
- เจ็บหนาอก
- เปนโรคปอดอักเสบ เปนๆ หายๆ

การรักษา
1. การปรับเปลี่ยนนิสยั และการดําเนินชีวิตประจําวัน
การรักษาวิธีนี้มีความสําคัญมากในการทําใหผูปวยมีอาการนอยลง ปองกันไมใหเกิดอาการ และเพิ่ม
คุณภาพชีวิตของผูปวย โดยลดปริมาณกรดในกระเพาะอาหาร และปองกันไมใหกรดไหลยอนกลับขึ้นไปใน
ระบบทางเดินอาหาร และทางเดินหายใจสวนบนมากขึ้น การรักษาโดยวิธีนคี้ วรปฏิบัติไปตลอดชีวิต แมวา
Page 143

ผูปวยจะมีอาการดีขึ้นแลวก็ตาม หรือแมวาผูปวยจะหายดีแลวโดยไมตองกินยาแลวก็ตาม ผูป วยควรปฏิบัติ


ตน ดังนี้
• นิสัยสวนตัว
- ถาเปนไปได ควรพยายามลดน้ําหนัก ถาน้ําหนักเกิน เนื่องจากภาวะน้ําหนักเกินจะทําใหความดัน
ในชองทองมากขึ้น ทําใหกรดไหลยอนไดมากขึน้
- พยายามหลีกเลี่ยงอยาใหเครียด และถาสูบบุหรี่อยู ควรเลิก เพราะความเครียดและการสูบบุหรีท่ ํา
ใหเกิดการหลั่งกรดมากขึน้ ถาไมเคยสูบบุหรี่ ควรหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ หรือควันบุหรี่
- หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผาที่คับเกินไป โดยเฉพาะบริเวณรอบเอว
• นิสัยในการรับประทานอาหาร
- หลังการรับประทานอาหารทันที พยายามหลีกเลีย่ งการนอนราบ, การออกกําลัง, การยกของหนัก,
การเอี้ยวหรือกมตัว
- หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารมื้อดึกและไมควรรับประทานอาหารใดๆ อยางนอยภายใน
ระยะเวลา 3 ชั่วโมงกอนนอน
- พยายามรับประทานอาหารที่มีไขมันต่ํา และพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงดวยการทอด, อาหาร
มัน, พืชผักบางชนิด เชน หัวหอม, กระเทียม, มะเขือเทศ, ฟาสทฟูด, ช็อกโกแลต, ถั่ว, ลูกอม,
peppermints, เนย, ไข, นม หรืออาหารที่มีรสจัด เชน เผ็ดจัด เปรีย้ วจัด เค็มจัด หวานจัด
- รับประทานอาหารปริมาณพอดีในแตละมื้อ ไมควรรับประทานอาหารมากเกินไป ควรรับประทาน
อาหารปริมาณทีละนอยๆ แตบอยครั้ง
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มบางประเภท เชน กาแฟ (แมวาเปนกาแฟที่ไมมีคาเฟอีนก็ไมควรดื่ม) ชา
น้ําอัดลม เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล เชน เบียร วิสกี้ ไวน โดยเฉพาะในตอนเย็น
• นิสัยในการนอน
- ถาจะนอนหลังรับประทานอาหาร ควรรอประมาณ 3 ชั่วโมง
- เวลานอน ควรหนุนหัวเตียงใหสูงขึ้น ประมาณ 6-10 นิ้วจากพื้นราบ โดยใชวัสดุรองขาเตียง เชน ไม
อิฐ อยายกศีรษะใหสูงขึน้ โดยการใชหมอนรองศีรษะ เพราะจะทําใหความดันในชองทองเพิ่มมากขึ้น
2. การรับประทานยา
เพื่อลดปริมาณกรดในกระเพาะอาหาร และ/หรือ เพิ่มการเคลื่อนตัวของระบบทางเดินอาหารในการ
กําจัดกรด ปจจุบนั ยาลดกรดกลุม proton pump inhibitor เปนยาที่สามารถยับยั้งการหลั่งกรดไดดี
สามารถเห็นผลการรักษาเร็ว ควรรับประทานยาสม่ําเสมอ ไมควรลดขนาดยา หรือ หยุดยาเอง และควรมา
พบแพทยตามนัดอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง ใชเวลาในการรักษาประมาณ 1 - 3 เดือน และปรับเปลี่ยน
นิสัยการรับประทานอาหาร และการดําเนินชีวิตประจําวันที่ระบุไวในขอ 1 หลีกเลีย่ งการซื้อยารับประทาน
เอง เนื่องจากยาบางชนิด จะทําใหกระเพาะอาหารมีการหลั่งกรดเพิ่มขึ้น หรือกลามเนื้อหูรูดของหลอด
Page 144

อาหารสวนลางคลายตัวมากขึ้น เชน progesterone, theophyllin, anticholinergics, beta-blockers,


alpha-blockers, calcium channel blockers, aspirin, NSAID, vitamin C, benzodiazepines พบวา
ประมาณรอยละ 90 ของผูปวยที่มีอาการของโรคกรดไหลยอน สามารถควบคุมอาการไดดวยยา
3. การผาตัด
เพื่อปองกันไมใหกรดในกระเพาะอาหาร ไหลยอนกลับขึ้นไปในระบบทางเดินหายใจ และระบบ
ทางเดินอาหารสวนบน การรักษาวิธีนจี้ ะทําในผูปวยที่มอี าการรุนแรง ซึ่งใหการรักษาโดยการใชยาอยาง
เต็มที่แลวไมดีขึ้น หรือไมสามารถรับประทานยาทีใ่ ชในการรักษาภาวะนี้ได หรือผูปวยทีด่ ีขึ้นหลังจากการใช
ยา แตไมตองการทีจ่ ะกินยาตอ ซึง่ ผูปวยที่ตองทําการผาตัดมีเพียงรอยละ 10 เทานั้น การรักษาโดยการ
ผาตัดมีหลายวิธี เชน endoscopic fundoplication, radiofrequency therapy, injection / implantation
therapy

โรคกรดไหลยอนในทัศนะของการแพทยแผนจีน
ภาวะกรดไหลยอน ในศาสตรการแพทยแผนจีน เรียกวา TunSuan มีสาเหตุจากไฟตับลุกโชนและ
รุนแรงทําใหเกิดการเสียสมดุลระหวางตับและกระเพาะอาหาร และสาเหตุจากภาวะเย็นพรองของมามและ
กระเพาะอาหาร จากทั้งสองสาเหตุ จะนําไปสูการลมเหลวของการขนสงอาหารและน้ํา ทําใหเกิดการไหล
ยอนขึ้นของชีท่ ี่ไมสะอาด

การวินิจฉัยแยกกลุมโรค
1. ไฟตับลุกโชน
อาการ: มีภาวะกรดไหลยอน อาเจียนเปนน้ํากรดในกระเพาะอาหาร มีอาการแสบรอนบริเวณลิน้ ป
อาการรวม มีกระวนกระวาย ปากแหง ขมในปาก มีกลิ่นปาก
ลิ้น ปลายลิ้นมีสีแดง ฝาเหลือง-บาง ; ชีพจรตึง หรือ เร็ว (XianMai or ShuMai)
2. เย็นพรองของมามและกระเพาะอาหาร
อาการ: มีภาวะกรดไหลยอน อาเจียนเปนน้ํากรดในกระเพาะอาหาร รูสึกอืดแนนบริ เวณลิน้ ป อาจมี
อาการเรอ อาเจียน และดีขนึ้ ดวยการกดนวด
ลิ้น ซีด ฝาขาว ; ชีพจร ตึง-เล็ก (Xian-XiMai)

การรักษา
1. ไฟตับลุกโชน
หลักการรักษา: ขจัดไฟตับ
จุดหลัก: YangLingQuan (GB 34), TaiChong (LR 3), ZhongWan (CV 12),
NeiGuan(PC 6), ZuSanLi(ST 36)
Page 145

วิธีการ: ใชการกระตุนระบาย คาเข็มไว 10 – 20 นาที


อธิบาย: TaiChong (LR 3) ใชเพื่อลดไฟตับ เมื่อใชรวมกับ YangLingQuan(GB 34) จะชวยขจัดไฟ
จากตับและถุงน้ําดี รวมทั้งปองกันไฟตับรุกรานกระเพาะอาหาร ; ZhongWan (CV 12) จุดมูของกระเพาะ
อาหารใชรวมกับ NeiGuan (PC 6) จะชวยเสริมชี่ของซางเจียวและจงเจียว; ZuSanLi (ST 36) จุดเหอลาง
ของกระเพาะอาหาร เมื่อใชรวมกับ ZhongWan (CV 12) และ NeiGuan (PC 6) จะดึงชีท่ ี่ยอนขึ้นไปอยาง
ผิดปกติใหลงมา และหยุดอาการกรดไหลยอน
2. มามและกระเพาะอาหารเย็นพรอง
หลักการรักษา: อุนบํารุงมามและกระเพาะอาหาร
จุดหลัก: PiShu (BL 20), WeiShu (BL 21), ZhongWan (CV 12), NeiGuan (PC 6),
และ ZuSanLi (ST 36)
วิธีการ: ใชการกระตุนบํารุง คาเข็มไว 10 – 20 นาที หรือรมยา หรือใชเข็มอุน
อธิบาย: PiShu (BL 20) และ WeiShu (BL 21) ใชเพื่อปรับสมดุลจงเจียว การรมยาสามารถอุนจง
เจียวและกําจัดความเย็น; ZhongWan (CV 12), NeiGuan (PC 6) และ ZuSanLi (ST 36) ใชรวมกันเพื่อ
ดึงชี่ทยี่ อนขึ้นไปอยางผิดปกติใหลงมา และหยุดอาการกรดไหลยอน

วิธีการรักษาในคัมภีรโบราณ
1. Illustrated Supplementary to the Classified Canon (Lei Jing Tu Yi) อาการกรดไหลยอนและ
อาเจียนเปนเศษอาหารที่ไมยอย ใชจุด RiYue (GB 24), PiShu (BL 20) and WeiShu (BL 21)
2. A Complete Work of Acupuncture and Moxibustion (Zhen Jiu Da Quan) มามและกระเพาะ
อาหารเย็นพรอง ใชจดุ NeiTing (ST 44), ZhongWan (CV 12), QiHai (CV 4) และ GongSun (SP 4)

หมายเหตุ: ในเวชปฏิบัตทิ ั่วไป ภาวะกรดไหลยอน มักเปนหนึ่งในหลายอาการของโรคหลายโรค ผูปวย


ตองพยายามหลีกเลี่ยงอารมณซึมเศรา และรับประทานอาหารใหไดตาม ปกติ ผูปวยที่มีสาเหตุจากมาม
และกระเพาะอาหารเย็นพรอง ควรใหความสนใจในการรักษาความอบอุนหลังรับประทานอาหารเปนพิเศษ
เพื่อหลีกเลี่ยงการรุกรานของลมเย็น
Page 146

รูปที่ 29 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคกรดไหลยอนจากไฟตับ

รูปที่ 30 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคกรดไหลยอน
จากมาม และกระเพาะเย็นพรอง
ถุงน้ําดีอักเสบ
( Cholecystitis : 胆囊炎)
ถุงน้ําดีอักเสบ มีไดทั้งการอักเสบแบบฉับพลันหรือเรื้อรัง สาเหตุสวนใหญเกี่ยวของกับนิ่วในถุงน้ําดี
หรือรับประทานอาหารไมเหมาะสม ถุงน้ําดีอักเสบฉับพลัน จะมีอาการปวดมากทันทีบริเวณทองดานขวา
Page 147

ใตชายโครง และอาการปวดกําเริบมากขึน้ เปนชวง ๆ และปวดราวไปไหลขวาและหลังได มักมีอาการ


คลื่นไส อาเจียนและไขรวมดวย สวนใหญพบในเพศหญิงวัยกลางคนรวมกับการรับประทานอาหารมัน ถุง
น้ําดีอักเสบเฉียบพลันสามารถพบไดในภาวะถุงน้ําดีอักเสบเรื้อรัง อาการจะเปนเชนเดียวกับการอักเสบ
เฉียบพลันของถุงน้ําดี ในชวงโรคสงบของถุงน้ําดีอกั เสบเรื้อรัง จะมีอาการเดนชัด คือ หลังทานอาหารจะ
รูสึกแนนอึดอัดทองชวงบน เรอ กลัวอาหารมัน มักมีอาการปวดราวไปไหลขวา และหลังรวมดวย อาการจะ
เปนมากขึ้น เมื่อยืนขึ้น เคลื่อนไหว หรืออาบน้ําเย็น
ถุงน้ําดีอักเสบ สาเหตุสวนใหญเกิดจากนิ่วในถุงน้ําดีอุดตันทางเดินของทอน้ําดี ทําใหเกิดการคัง่ ของ
น้ําดี ทอน้ําดีบวม เกิดการอักเสบติดเชื้อตามมา สวนใหญเปนเชื้อ E. coli และกลุมเชื้อ Bacteroides และ
เกิดการอักเสบของผนังของถุงน้ําดี เกิดการขาดเลือดเนาตายและฉีกขาด มีการลุกลามของเชื้อโรคไปสู
อวัยวะขางเคียง เชน ลําไสและกระบังลม สาเหตุสวนนอยเกิดจากการอักเสบโดยไมมีนิ่วในถุงน้ําดี มักพบ
ในผูปวยที่ชวยเหลือตัวเองไมได หรือผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บ
นิ่วในถุงน้ําดี เมื่อเกิดการอุดตันจะกอใหเกิดการปวดทองกะทันหัน ในกรณีที่เปนถุงน้ําดีอักเสบเรื้อรัง
มักจะเกิดการอักเสบที่ไมรุนแรง โดยผนังของถุงน้ําดีจากหนาตัวขึ้นมาก

อาการและการแสดง
มักจะมีอาการปวดทองบริเวณชองทองสวนบนดานขวา อาการปวดจะปวดรุนแรงตลอดเวลา ใน
ระยะแรก อาจมีอาการปวดบริเวณสะบักขวาซึ่งเปน referred pain ได อาการเหลานี้อาจเกิดไดหลังจาก
ทานอาหารทอด หรืออาหารมัน และจะมีไขต่ํา ๆ ทองเดิน คลื่นไส อาเจียน เม็ดเลือดขาวในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
อาจมีอาการเจ็บปวดที่ถงุ น้ําดี หากอาการรุนแรงมากขึ้น จะมีไขสูงขึ้น ตัวตาเหลืองหรือช็อคหมดสติ เปน
ภาวะที่มีการติดเชื้อเปนหนองที่ถุงน้ําดี หรือถุงน้ําดีแตกทะลุ อีกภาวะที่เกิดขึ้นไดคือการอุดตันของลําไส
เล็ก ทีเ่ กิดจากการแตกทะลุของถุงน้ําดีเขาไปในลําไสเล็กที่อยูขางเคียง
ถุงน้ําดีอักเสบเรื้อรัง จะมีอาการแสดงออกที่ไมเฉพาะ เชน คลืน่ ไส ปวดทองไมชัดเจน เรอ และ
ทองเดิน

การวินิจฉัย
โดยการซักประวัติได ดังทีก่ ลาวมารวมกับการตรวจพบ ดังนี้
1) ไข มักมีไขต่ํา ๆ ในกรณีไมมีภาวะแทรกซอนอื่นใด
2) ปวดทองบริเวณชองทองขวาสวนบน อาจพบหรือไมพบ Murphy’s sign
3) Ortner’s sign เมื่อกดบริเวณชายโครงดานขวาจะรูสึกเจ็บ
4) Georgievskiy – Myussi’s sign (phrenic nerve sign) เมื่อกดระหวางขอบของกลามเนือ้
sternocleidomastoid จะรูสึกปวด
Page 148

5) Boas’s sign มีความรูสึกระคายเคืองเพิ่มขึน้ บริเวณขอบลางของสะบักขวา ซึ่งเกิดจากการระคาย


เคือง phrenic nerve
การตรวจทางหองปฏิบัติการและภาพรังสีตาง ๆ สามารถชวยยืนยันการวินิจฉัยและคัดสาเหตุอื่น
ออกไป การตรวจอัลตราซาวดชวยยืนยันและแยกโรคได

การวินิจฉัยแยกโรค
1. แผลกระเพาะอาหารทะลุ
2. แผลกระเพาะอาหารและลําไสเล็กสวนตนกําเริบ
3. ฝในตับจากเชื้อ amoebic
4. การอักเสบของตับและลําไสสวน colon จากเชื้อ amoebic
5. ตับออนอักเสบฉับพลัน
6. ลําไสอุดตันฉับพลัน
7. นิ่วในไต
8. ไสติ่งอักเสบฉับพลัน ชนิด retro-colic
ถุงน้ําดีอักเสบเรื้อรัง จะมีอาการที่ไมเฉพาะเจาะจง ซึ่งอาจทําใหการวินิจฉัยผิดพลาดไดงาย ตองแยก
อาการจากโรคเหลานี้
1. แผลกระเพาะอาหารและลําไสเล็กสวนตน
2. Hiatus Hernia
3. ลําไสสวน colon อักเสบ
4. Functional Bowel Syndrome

การตรวจทางหองปฏิบัติการ
1. การตรวจเลือด
จะพบการเพิ่มขึ้นของ alkaline phosphatase จากการเพิ่มขึ้นของ bilirubin (ตองแยกจากนิ่วในถุง
น้ําดี) อาจพบการเพิ่มขึ้นของเม็ดเลือดขาว, CRP (C-reactive protein) สูงขึ้น ความผิดปกติของการตรวจ
เหลานี้ จะสัมพันธกับความรุนแรงของโรค แตถุงน้ําดีอักเสบเรื้อรังจะพบวา การตรวจเลือดจะคอนขางปกติ
เปนสวนใหญ
2. การตรวจทางรังสี
การตรวจดวยคลืน่ เสียงความถี่สูง เปนการตรวจที่ถือเปนมาตรฐาน เนื่องจากมีความไวและจําเพาะ
สูง โดยมีความไวเฉลี่ยรอยละ 88 และความจําเพาะรอยละ 80 โดยมีเกณฑหลัก 2 ขอ คือ ตรวจพบนิ่วใน
ถุงน้ําดี และตรวจ Murphy’s sign ดวยเครื่องอัลตราซาวดไดผลบวก เกณฑรอง 3 ขอคือ ผนังถุงน้ําดีหนา
ตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป ตรวจพบของเหลวรอบๆถุงน้ําดี และถุงน้ําดีขยายตัว
Page 149

การตรวจดวยเครื่อง CT scan มีความแมนยํารอยละ 90 – 95 สามารถบอกไดถึงการอักเสบของถุง


น้ําดีและเนื้อเยื่อขางเคียง บอกถึงนิ่วที่อยูนอกถุงน้ําดี ตําแหนงของหนองหรือแกสรอบ ๆ ถุงน้ําดีได แตไม
สามารถตรวจพบนิ่วที่ตรวจดวยรังสีไมได และตรวจ Murphy’s sign เหมือนเครื่องอัลตราซาวดไมได

การรักษา
การรักษาทีเ่ ปนมาตรฐาน คือ การผาตัดถุงน้ําดีออก ในระหวางเตรียมการผาตัด แพทยอาจให
น้ําเกลือหรือสารน้ําอื่นเพื่อชดเชยการขาดสารน้ํา และใหยาปฏิชีวนะทีค่ รอบคลุมเชื้อไดกวาง การผาตัด มี
ทั้งการผาตัดเปดชองทอง หรือผาตัดผานกลอง Laparoscope ปจจุบนั นิยมผาตัดผานกลอง
Laparoscope เปนสวนใหญ เนื่องจากจะชวยลดภาวะแทรกซอนและลดระยะเวลาการนอนรักษาที่
โรงพยาบาลลงไดมากกวา สวนการผาตัดเปดชองทองจะใชในกรณีที่มีภาวะแทรกซอนของโรคมาก หรือ
เปนผูปวยทีเ่ คยมีผาตัดในบริเวณนี้มากอน หรือการผาตัดดวยกลอง Laparoscope ทําไดยากหรือทําไมได
ภาวะแทรกซอนของการผาตัดถุงน้ําดี
1) น้ําดีรั่ว (biloma)
2) บาดเจ็บตอทอน้ําดี
3) อักเสบเปนหนอง
4) แผลผาตัดติดเชื้อ
5) เสียเลือด (ผิวเนื้อของตับและหลอดเลือด cystic ถูกทําลาย)
6) Hernia
7) การบาดเจ็บตออวัยวะอื่น
8) การอุดตันในหลอดเลือดดําใหญ (deep vein thrombosis)
9) การดูดซึมกรดไขมันและวิตามินที่ละลายในไขมันผิดปกติไป
การแพทยแผนจีน จัดภาวะถุงน้ําดีอักเสบ อยูในกลุม XieTong (hypochondriac pain) มีสาเหตุจาก
ความรอนชื้นทัง้ จากภายนอกหรือภายใน กอใหเกิดความชื้นและรอนในถุงน้ําดีและตับ กอใหเกิดผล
ตามมาดวยการทํางานไมประสานกันของมามและกระเพาะอาหาร

การรักษา
ถุงน้ําดีอักเสบ แบงตามสาเหตุไดเปน 2 ชนิด คือ ความรอนชื้นในตับและถุงน้ําดี และ ชี่ของถุงน้ําดี
และตับติดขัด เลือกใชจุดบนเสนลมปราณตับและถุงน้ําดีเพื่อการรักษา

1. ความรอนชื้นในตับและถุงน้ําดี
อาการ: อาการปวดเกิดขึน้ แบบทันทีในบริเวณใตชายโครงขวา เบื่ออาหาร ขมปาก คลื่นไส อาเจียน
ทองผูก ปสสาวะเหลืองมากขึ้น มีไข
Page 150

ลิ้น แดง ฝาเหลืองเหนียว ; ชีพจร ตึง-เร็ว (Xian-ShuMai)


หลักการรักษา: ขจัดความรอนชื้น ปรับชี่ตบั ใหสมดุล รักษาหนาที่ของถุงน้ําดี
จุดหลัก: ระบาย RiYue (GB 24), DanShu (BL 19), QiMen(LR 14), QuChi(LI 11),
YangLingQuan (GB 34), XingJian (LR 2), DanNang (EX-LE 6), YinLingQuan (SP 9)
อธิบาย: RiYue (GB 24) และ DanShu (BL 19) จุดซู-มูข องถุงน้ําดี และ QiMen (LR 14) จุดมูของ
ตับ ทุกจุดเปนจุดใกลที่อยูบริเวณถุงน้ําดีที่อักเสบอยู ใชเพื่อชวยขจัดความรอนชื้นของถุงน้ําดีและตับ และ
เพิ่มการไหลเวียนของชี่และเลือด เพื่อลดอาการปวดชายโครง; QuChi (LI 11) ใชเพื่อระบายความรอน;
XingJian (LR 2) ใชเพื่อขจัดความรอนชื้นในเสนลมปราณตับ เพิ่มการไหลเวียนของชี่ตับ; DanNang (EX-
LE 6) และ YangLingQuan (GB 34) ขจัดความรอนชืน้ จากถุงน้ําดีและลดอาการปวด
จุดเสริม: กระตุนระบาย ทีจ่ ุดตามอาการ ดังนี้
- ไข – DaZhui (GV 14) และ HeGu (LI 4)
- ทองผูก – ZhiGou (TE 6)
- ทองอืดแนน คลืน่ ไสอาเจียน – ZhongWan (CV 12) และ ZuSanLi (ST 36)
- ดีซาน – ZhiYang (GV 9)

2. ชี่ของถุงน้ําดีและตับติดขัด
อาการ: ปวดแนนบริเวณใตชายโครงดานขวา อาจปวดราวไปที่ไหลขวา รูสึกไมสบายในทอง เบื่อ
อาหาร เรอเปรี้ยว คลื่นไส อาการเปนมากขึ้นเมื่อโกรธ หรือทานอาหารมัน
ลิ้น แดง ฝาเหลือง ; ชีพจร ตึง (XianMai)
หลักการรักษา: ลดการติดขัดของชี่ตับ ปรับการทํางานของถุงน้ําดี

จุดหลัก:
- ระบาย TaiChong (LR 3), YangLingQuan (GB 34)
- บํารุงระบายเทากัน QiMen (LR 14), RiYue (GB 24), GanShu (BL 18),
DanShu (BL 19), ZhongWan (CV 12)
- บํารุง ZuSanLi (ST 36)
อธิบาย: QiMen (LR 14), RiYue (GB 24), GanShu (BL 18) และ DanShu (BL 19) จุดซู-มูของตับ
และถุงน้ําดี ใชสงบตับและถุงน้ําดี ลดชีต่ ิดขัดของตับและถุงน้ําดี; TaiChong (LR 3) และ YangLingQuan
(GB 34) ชวยการทํางานของจุดซู-มู เพื่อควบคุมการทํางานของตับและถุงน้ําดี ลดอาการปวดชายโครง;
ZuSanLi (ST 36) และ ZhongWan (CV 12) เสริมบํารุงจงเจียว ปองกันชี่ของตับรุกรานมามและกระเพาะ
อาหาร
จุดเสริม: ปวดเสียดชายโครงราวไปหนาอกและหัวไหล: ระบาย JianJing (GB 21)
Page 151

และ NeiGuan (PC 6)

การรักษาวิธีอื่นเพิ่มเติม
1. ปกจุดแบบโทว
จุดที่ใช: QuChi (LI 11), QiuXu (GB 40) โทว Zhaohai (KI 6)
วิธีการ: ใชเข็ม 2 ชุน ปกทีจ่ ุด QuChi (LI 11) ทั้งสองขางกอน หลังจากไดชี่แลวใหคาเข็มไว แลวปก
เข็มที่จดุ QiuXu (GB 40) ทั้งสองขางปกใหลึกลงไปจนปลายเข็มไปถึงบริเวณใตผิวหนังเหนือจุด ZhaoHai
(KI 6) กระตุน ใหไดชี่ คาเข็มไว 30 – 50 นาที โดยกระตุน ดวยความแรงปานกลางแบบเรื่อย ๆ สม่ําเสมอ
ในขณะที่ผูปวยมีอาการปวดอยู โดยทั่วไปภายในหนึง่ รอบการรักษา อาการปวดจะทุเลาลงอยางมาก
ฝงเข็มรักษาวันละครั้ง 10 ครั้ง เปน 1 รอบการรักษา แลวเวนระยะหาง 3 – 5 วัน จึงเริม่ รอบการรักษาใหม

2. รมยาที่จุด ShenQue (CV 8)


ขอบงใช: การอักเสบแบบเฉียบพลันของภาวะถุงน้ําดีอักเสบเรื้อรัง ที่มีอาการปวด
เสียดชายโครงดานขวา
จุดที่ใช: ShenQue (CV 8)
วิธีการ: ใหผูปวยนอนตะแคงทับขางซาย ใชแทงโกศจุฬาลัมพาที่จุดไฟแลวนํามาจอที่บริเวณเหนือ
สะดือราว 1 – 2 ชุน และหมุนแทงโกฐฯ วนรอบจุดชา ๆ หลังจากรมยาไดราว 15 นาที ผูปวยจะเริ่มรูสกึ รอน
บริเวณสะดือและรอบ ๆ ใหรอนเทาที่ผูปวยทนได โดยทัว่ ไปในระหวางที่รมยาหรือเมื่อครบเวลาการรมยา
ผูปวยจะรูสึกดีขึ้นอยางมาก

3. การฝงเข็มหู
จุดที่ใช: Pancreas, Gallbladder, Liver, Abdomen, Thoracic, Vertex, Spleen, Stomach,
SanJiao, ErMen, Endocrine
วิธีการ: ใชการปกและกระตุน จุดดวยวิธีมาตรฐานของการฝงเข็มที่หู

ความคิดเห็น: การรักษาดวยวิธีการฝงเข็มและรมยา เปนวิธีที่ไดผลดีในการรักษาอาการของ


ถุงน้ําดีอักเสบ โดยเฉพาะอาการปวดเสียดชายโครง อยางไรก็ตามการรักษาดวยวิธีการแพทยแผนปจจุบัน
ควบคูไปกับการฝงเข็มรมยาจะชวยเสริมใหการรักษาโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
Page 152

รูปที่ 31 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคถุงน้ําดีอักเสบ
จากรอนชื้น
Page 153

รูปที่ 32 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคถุงน้ําดีอักเสบ
จากชี่ติดขัด

นิ่วในถุงน้ําดี และถุงน้ําดีอักเสบ
(Gall Stone and Cholecystitis : 胆结石和胆囊炎 )
ภาวะนิ่วในถุงน้ําดีและถุงน้ําดีอักเสบ พบไดบอยในวัยผูใหญ พบในเพศหญิงมากกวาเพศชาย สอง
ภาวะนี้มีความสัมพันธซึ่งกันและกัน และกอใหเกิดอีกภาวะหนึ่งได นิ่วในถุงน้ําดีกอใหเกิดภาวะถุงน้ําดี
อักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง และภาวะการอักเสบของถุงน้ําดีกเ็ ปนหนึง่ ในสาเหตุหลักของการเกิด
นิ่วในถุงน้ําดี ภาวะทั้งสองมักพบรวมกันไดบอยและมีอาการคลายกันหลายอยาง เชน อาการปวดมักปวด
บริเวณทองดานขวาแถวชายโครงหรือใตซี่โครง และมักปวดราวไปบริเวณสะบักขวา หากเปนภาวะนิ่วในถุง
น้ําดีจะมีอาการปวดเปน ๆ หาย ๆ ได จะปวดหลังทานอาหารมันปริมาณมากเขาไป
Page 154

นิ่วในถุงน้ําดี เกิดจากภาวะไมสมดุลของสารประกอบในน้ําดี ซึ่งเมื่อมีนิ่วเกิดขึน้ แลว อาจมีอาการ


ตั้งแต ทองอืด อาหารไมยอย บางครั้งนิ่วไปอุดทอถุงน้ําดี ทําใหมีอาการปวดแบบปวดดิ้น หรือถานิ่วตกลง
ไปอุดทอน้ําดีใหญ จะทําใหมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง ในบางรายอาจตรวจพบนิ่วในถุงน้ําดีแตไมมีอาการ
ไดเชนกัน แตอาการดังกลาวขางตนจะเกิดเมื่อใดก็ได ในผูปวยที่เปนมะเร็งถุงน้ําดี พบวามีนิ่วรวมดวยเปน
สวนใหญ นิ่วในถุงน้ําดี ไมสามารถรักษาไดโดยใชเครื่องสลายนิ่ว การรักษาโดยใชยาละลายนิ่วใชได
เฉพาะนิ่วบางชนิดเทานั้น ซึ่งสวนใหญตองรับประทานยาเปนเวลานาน และเมื่อหยุดยาก็อาจเกิดนิ่วในถุง
น้ําดีไดอีก อีกทั้งนิ่วของคนไทยสวนมากมักไมละลายโดยใชยา ดังนั้นการรักษาที่ดที ี่สุด คือการผาตัดเอาถุง
น้ําดีออก ซึ่งการตัดถุงน้ําดี ไมมีผลตอการยอยอาหาร เพราะน้ําดีสรางมาจากตับ ถุงน้ําดีเปนเพียงทีเ่ ก็บพัก
น้ําดีเทานั้น

อาการและอาการแสดง
ผูที่มีนิ่วในถุงน้ําดี อาจไมมีอาการเลย หรือมีอาการบางอยาง ดังตอไปนี้ โดยไมจําเปนตองมีครบทุก
อาการ ไดแก
- ทองอืด
- แนนทองหลังรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอาหารที่มีไขมันมาก
- ปวดทองใตชายโครงขวาเปนครั้งคราว
- ปวดทองรุนแรง และปวดราวไปถึงสะบักดานขาว
- ไขสูงเฉียบพลัน ถามีการอักเสบของถุงน้ําดีอยางเฉียบพลัน
- ตัวเหลือง ตาเหลือง ปสสาวะสีเขม
วิธีที่ใชวนิ ิจฉัยวามีนิ่วในถุงน้ําดี คือการตรวจดวยเครื่องอัลตราซาวด

การรักษา
การผาตัดเอาถุงน้ําดีออกเปนการแกปญ หาทีถ่ าวร เพื่อไมใหเกิดนิ่วในถุงน้ําดีขึ้นไดอีกตอไป และ
ปองกันภาวะแทรกซอนที่รุนแรงตาง ๆ การผาตัดถุงน้ําดีในปจจุบัน มี 2 วิธี
1. ผาตัดแบบเดิม โดยการผาตัดเปดหนาทอง (Open Cholecystectomy) ปจจุบันจะเลือกใชในการ
ผาตัดถุงน้ําดีที่มีอาการอักเสบมากหรือแตกทะลุในชองทอง
2. ผาตัดภายใตกลอง โดยการเจาะรูเล็ก ๆ ที่หนาทอง (Laparoscopic Cholecystec-tomy) ถา
ผูปวยไมมีถุงน้ําดีอักเสบเฉียบพลัน สามารถทําไดสําเร็จถึงรอยละ 95 ถาถุงน้ําดีอักเสบเฉียบพลันเกิน 3 วัน
โอกาสผาตัดโดยวิธีนี้ไดสําเร็จจะนอยลง

- วิธีการผาตัดภายใตกลอง
Page 155

- เจาะรูเล็ก ๆ บริเวณหนาทอง 4 แหง ดวยเครื่องมือที่ออกแบบเฉพาะสําหรับการเจาะหนาทองอยาง


ปลอดภัย ขนาดของรูประมาณ 0.5 ซม. 3 ตําแหนง และขนาด 1 ซม.ที่สะดืออีก 1 ตําแหนง
- ใสกลองที่มีกานยาว ๆ และเครื่องมือตาง ๆ ผานรูทผี่ นังหนาทองลงไป ศัลยแพทยจะสามารถ
มองเห็นถุงน้ําดีและอวัยวะตาง ๆ จากจอโทรทัศนซึ่งกลองสงสัญญาณภาพมา
- ศัลยแพทยสามารถเลาะแยกถุงน้ําดีออกจากตับ และใชคลิปหนีบหามเลือดแทนไหมเย็บแผลกอน
ตัดขั้วของถุงน้ําดี แลวเลาะสวนที่เหลือใหหลุดออก
- เมื่อตัดถุงน้ําดีไดแลว บรรจุใสถุงที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ แลวดึงออกจากรางกาย
บริเวณรูสะดือ จากนั้น ศัลยแพทยจะสํารวจความเรียบรอยเปนขั้นตอนสุดทาย กอนดึง
เครื่องมือและกลองออกแลวเย็บปดแผล
- ในผูปวยบางรายถามีการอักเสบมาก อาจตองมีการใสทอ ระบายไว 2-3 วัน
- ผลดีของการผาตัดถุงน้ําดีภายใตกลอง
- อาการปวดแผลหลังผาตัดนอยกวา เพราะแผลมีขนาดเล็กกวา
- อยูโรงพยาบาล ประมาณ 1 - 2 วัน ซึ่งถาผาตัดแบบเดิม อยูโรงพยาบาล ประมาณ 7 - 10 วัน
- การพักฟนหลังผาตัดใชเวลาประมาณ 1 สัปดาห ทําใหกลับไปทํางานตามปกติไดเร็วกวา ถาผาตัด
แบบเดิม ใชเวลาพักฟนประมาณ 1 เดือน
- แผลขนาดเล็กดูแลงายกวา และมีโอกาสติดเชื้อนอยกวาแผลขนาดใหญ
- เมื่อแผลหายจะเปนรอยเล็ก ๆ บนหนาทองเทานัน้

สาเหตุในทางศาสตรการแพทยแผนจีน คือ จากอารมณซมึ เศรา ไมสามารถปรับราง กายตามสภาพ


ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป รับประทานอาหารไมเหมาะสม โดยเฉพาะทานอาหารมันเปนปริมาณมาก
เกินไป หรือเสียชี่ภายนอกรุกราน รวมทั้งการสะสมตกคางของความรอนชื้น หรือแมกระทั่งจากพยาธิ ซึ่งจะ
กอใหเกิดการขัดขวางการไหลเวียนของชี่และเลือดของตับและถุงน้ําดี เปนเหตุใหหนาที่ของตับและถุงน้ําดี
ถูกรบกวนและเสียหนาที่ไป

การรักษา
หลักการรักษา: ปรับสมดุลและหนาที่ของชี่ของถุงน้ําดี ควบคุมการทํางานของกระเพาะอาหารและ
จงเจียว เลือกจุดบนเสนเทาเจวี๋ยอิน เสนเทาหยางหมิงและเสนเทาเซาหยางเพื่อรักษา
จุดที่ใช:
1)จุดมูของตับ ถุงน้ําดี กระเพาะอาหารและลําไสใหญ ไดแก QiMen (LR 14),
RiYue (GB 24), ZhongWan (CV 12) และ TianShu (ST 25) เสริมดวยจุดเหอลางของ
Page 156

ถุงน้ําดี คือ YangLingQuan (GB 34) โดยเลือกเฉพาะจุดฝงขวา ยกเวน ZhongWan (CV 12) กระตุนจุด
แบบระบาย ดวยวิธกี ารหมุนเข็มเร็วเปนวงกวาง เมื่อไดชี่แลวใหคาเข็มไว 10 นาที ถอนเข็มออกโดยใหชองรู
เข็มบนผิวหนังเปดกวาง
2) เลือกจุดนอกระบบ XiSiXue (extra-point ตําแหนง 4 ชุนเหนือขอบบนดานนอกของกระดูก
สะบาของเขาที่งออยู) รวมกับจุด YangLingQuan (GB 34) และ QiMen (LR 14) โดยใหผูปวยนอนหงาย
เลือกจุดของขาขวา ปกเข็มตั้งฉากทีจ่ ุด XiSiXue กระตุนจนกระทั่งไดชี่แลวใหหมุนเข็มทวนเข็มนาฬิกา, จุด
YangLingQuan (GB 34) ใหปกเข็มตั้งฉาก กระตุนเข็มจนไดชี่ แลวหมุนเข็มทวนเข็มนาฬิกาเชนกัน หาก
กระตุนถูกวิธีจะไดความรูสึกวิ่งขึน้ บนตามแนวตนขา, จุด QiMen (LR 14) ใหปกเฉียงกระตุนจนไดชี่แลว
หมุนเข็ม ตามเข็มนาฬิกา จะไดความรูสึกมึนชา อาการปวดแนนในชองทองจะทุเลาลง กระตุนเข็มทุก 10
นาที และคาเข็มไว 30 นาที
3) ปกเข็มแบบโทว เลือกจุด QiMen (LR 14) โทว ZhangMen (LR 13) ควรระวังปลายเข็มที่อาจ
ทะลุเขาชองอก หรือเลือกจุด JuQue (CV 14) โทว ShangWan(CV 13) หรือเลือกจุด JiaJi จากตําแหนง
กระดูกสันหลังสวนอกที่ 9 ไปถึงกระดูกสันหลังสวนอกที่ 10 หรือจุด GanShu (BL 18) โทว DanShu (BL
19) ใหปกตรงลึก 0.3 ชุนแลวเอียงเข็มปกเลียดไปถึงอีกจุดหนึ่ง กระตุนจนไดชี่ ใหคาเข็มไวปดทับดวยพลา
สเตอร ทิ้งไว 2 – 3 วันแลวถอนเข็มออก (หมายเหตุผเู รียบเรียง: ไมแนะนําใหคาเข็มไวเนื่องจากอาจมี
อันตรายที่รุนแรงได)
4) เลือกจุดกดเจ็บ (reacting tender points) บริเวณหลังดานขวาโดยใหผูปวยอยูในทานั่งทําทา
กอดแขนทั้งสองขางเพื่อกางกระดูกสะบักออกไป คลํากดจุดเจ็บในบริเวณระหวางดานขวาของกระดูกสัน
หลัง และขอบดานในของกระดูกสะบัก ดวยอุงนิ้วดานในของนิ้วหัวแม มือขวา มักพบจุดกดเจ็บบริเวณตรง
กลางหรือขางลางของขอบกระดูกสะบัก ใหปก เข็มเปนมุมเอียงราว 30 องศากับผิวหนังกระตุนแบบระบาย
ดวยการยกเข็มขึ้นลงและหมุนเร็วแรง ใชเวลา 5 – 10 นาที จึงถอนเข็มออก ตามดวยการครอบกระปุกอีก
10 – 15 นาที หากมีไขใหเพิ่มจุด DaZhui (GV 14) และ QuChi (LI 11) ปกเข็มคาไว 15 - 30 นาที กระตุน
ทุก 5นาที แตหากไขสูงอาจคาเข็มไวนาน 1 ชั่วโมง กระตุนทุก 10 – 20 นาที หากมีอาการปวดเสียดชาย
โครงเพิ่มจุด YangLingQuan (GB 34) หากปวดจุกแนนทอง และอาเจียนเพิ่ม ZhongWan (CV 12) และ
ZuSanLi (ST 36) โดยทั่วไปหลังฝงเข็มเสร็จในแตละครั้ง อาการตาง ๆ จะดีขนึ้ ใน 30 – 60 นาที รวมทั้งไขก็
จะลดลงดวย ฝงเข็ม 5 – 7 ครั้ง เปน 1 รอบการรักษา เวนไป 1- 2 วันเริ่มการรักษารอบใหม อาการโดยรวม
จะดีขึ้นหลังใหการรักษา 2 รอบการรักษา และ 3 - 5 รอบการรักษาอาการตาง ๆ จะหายไปได ในกรณีของ
ถุงน้ําดีอักเสบเรื้อรัง อาจมีอาการกลับเปนซ้ําได การรักษาดวยการฝงเข็มก็ยังใหผลดีเชนเดิม
5) ใชการปกจุดดานตรงขาม โดยเลือกจุด QiuXu (GB 40) โทว ZhaoHai (KI 6) ที่เทาซายเมื่อ
อาการปวดอยูขางขวาหรือกลับกัน โดยใชเข็มสองชุน ปกที่จุด QiuXu (GB 40) แลวปกโทวไปที่จดุ
Page 157

ZhaoHai (KI 6) ที่อยูต่ําลงไปราวหนึ่งชุน เมื่อรูสึกไดชี่หรือรูสึกเสียวแปล็บบริเวณจุดปกเข็มแสดงถึง


ผลการรักษาทีจ่ ะไดจากการฝงเข็มตามมา ใชเมื่อมีอาการปวดในทรวงอกหรือดานขางของทรวงอก
6) ปกจุด DanShu (B L19) ทั้งสองขาง โดยใชเข็ม 1.5 ชุน ปกลึก 1 ชุน ปกเอียงเขาหาแนวกระดูก
สันหลังในทาที่ผูปวยนอนคว่ําอยู กระตุนแบบระบายจนไดชี่ แลวกระตุนตอดวยเครื่องกระตุน ไฟฟานาน 40
นาที ดวยคลืน่ continuous แรงเทาที่ผูปวยจะทนได
7) การใชเข็มน้ํา เลือกจุด QiMen (LV 14) ขางขวาและ ZuSanLi (ST 36) ขางขวาโดยใช 0.5%
Novocain ปริมาณ 2.5 ซีซีตอจุดฉีดทั้งสองจุด ทําการรักษาวันละ 1 – 2 ครั้ง
8) การกดนวดจุด เลือกจุด GanShu (BL 18) และ DanShu (BL 19) โดยใชนิ้วหัวแมมือกดที่จุดทั้ง
สอง นาน 5 – 10 นาที วันละ 1 หรือ 2 ครั้ง

หมายเหตุ: การฝงเข็มไดผลเปนที่นาพอใจพอสมควร ในการขับนิ่วจากถุงน้ําดี โดยใชการรักษา 1 –


4 รอบการรักษา และหากขนาดของกอนนิ่วนอยกวา 8 มิลลิเมตร จะไดผลนาพอใจมากขึน้ แตหากขนาด
ของกอนนิ่วมากกวา 12 มิลลิเมตรการขับนิ่วจะยากมาก นิ่วที่มีองคประกอบของน้ําดีและไขมัน (bile
pigment calculus and bile pigment cholesterol) จะพบไดถึง 2 ใน 3 ของนิ่วที่หลุดออกมาจากการ
รักษาดวยการฝงเข็ม แนะนําใหตรวจหากอนนิ่วในอุจจาระเพื่อพิจารณาผลของการรักษา
Page 158

รูปที่ 33 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคนิ่วในถุงน้ําดี และถุงน้ําดีอักเสบ

พยาธิไสเดือนในทางเดินน้ําดี
(Biliary Ascariasis : 胆道回虫症 )

พยาธิไสเดือน เปนพยาธิทพี่ บไดบอย และมีประชากรนับพันลานคนที่เปนโรคพยาธิไสเดือน อาการ


ของการมีพยาธิมีไดหลากหลาย อยางไรก็ตามอาการที่เปนอันตรายที่สุดจากการเปนโรคพยาธิไสเดือน ก็
คือ ภาวะพยาธิไสเดือนไชถุงน้ําดีหรือตับออน ถึงแมวา โรคนี้จะพบไดนอยมากในประเทศที่พัฒนาแลวก็
ตาม แตแพทยก็อาจพบผูปวยดวยภาวะพยาธิไส เดือนไชถุงน้ําดีหรือตับออนไดเชนกัน

อาการและอาการแสดง
ในภาวะพยาธิไสเดือนไชถุงน้ําดี สามารถแบงกลุมผูปว ยออกเปนสองกลุม ใหญคือ กลุมที่ไมมี
ภาวะแทรกซอนอื่นใด และกลุมที่มีภาวะแทรกซอนรวมดวย
กลุมที่ไมมีภาวะแทรกซอนอืน่ ใด จะมีอาการเหมือนกับภาวะถุงน้ําดีอักเสบชนิดที่ไมมนี ิ่วในถุงน้ําดี มี
ไขต่ํา ๆ ปวดทองและกดเจ็บ มีกลามเนื้อแข็งเกร็งบริเวณชองทองดานขวาบน คลําไดถุงน้ําดีโต ตัวตา
เหลือง แตไมมีภาวะตับโต กลุมที่มีภาวะแทรกซอน อาการที่พบไดบอย คือ ทางเดินน้ําดีอักเสบ จะมีไขสูง
ปวดทองและกดเจ็บบริเวณชองทองดานขวาบน ตับโตและกดเจ็บ มีระดับของ bilirubin, alkaline
phosphatase และ ALTs สูงขึ้น อาจมีหนองในทางเดินน้าํ ดีซึ่งผูปวยอาจมาดวยอาการช็อคหมดสติ

การตรวจวินิจฉัย
การตรวจภาพรังสี และการตรวจดวยเครื่องอัลตราซาวด เปนการตรวจมาตรฐานที่ไดผลดีในการ
วินิจฉัย สวนการตรวจดวย CT scan, endoscopy และ endoscopic retrograde cholangiography เปน
การตรวจวินจิ ฉัยเพื่อยืนยันตัวพยาธิไสเดือน
ภาพจากเครื่องอัลตราซาวด จะเห็นลักษณะเปนทอตามยาวหรือวงกลมตัดขวางที่มชี องวางภายใน
โดยไมมีเงาทึบในทอน้ําดีรวม แสดงถึงพยาธิไสเดือนในทอน้ําดี หากดูดวย
ภาพเคลื่อนไหวอาจพบการเคลื่อนไหวของพยาธิไสเดือนในทอน้ําดีได
Page 159

การรักษา
หลังวินิจฉัยไดแลว ใหการรักษาตามอาการ เชน ใหสารน้ํา ใหยาลดการหดเกร็งของกลามเนื้อเรียบ
โดยทั่วไปพยาธิจะหลุดออกมาเขาในลําไสเล็กไดเองประมาณรอยละ 98 เมื่อตรวจซ้ําไมพบพยาธิในทอ
น้ําดี จึงใหยาฆาพยาธิ ซึ่งยังไมใหเมื่อพยาธิยงั คางอยูใ นทอน้ําดี การรักษาไดผลดีมาก กรณีที่ไมมี
ภาวะแทรกซอนอื่นใด อัตราการเสียชีวิตนอยกวารอยละ 1
หากพยาธิไมหลุดออกมา หรือพยาธิไชเขาไปในถุงน้าํ ดีจนหมดทั้งตัว จะใชการรักษาดวย
endoscopic sphincterotomy เพื่อนําพยาธิออกมาจากถุงน้ําดีตอไป
ภาวะพยาธิไสเดือนไชถุงน้ําดี ถึงแมจะพบไดไมบอย แตก็ตองคํานึงถึงอยูเสมอเมื่อผูปวยมีอาการ
ของถุงน้ําดีอักเสบ หรืออาการปวดที่สัมพันธกับถุงน้ําดี และเด็กที่มีไข ตัวตาเหลืองและปวดทองมาก ใหนกึ
ถึงภาวะพยาธิไสเดือนไชถุงน้ําดีไวเสมอ
ศาสตรการแพทยจีน จัดภาวะพยาธิตัวกลมในทางเดินน้ําดีอยูในกลุม YouJue (绕厥: colic cause
by ascaris) ภาวะพยาธิตัวกลมในทางเดินน้ําดี ถือเปนภาวะที่เปนปญหาของชองทองที่สําคัญอีกปญหา
หนึ่ง อาการประกอบดวย ปวดทองกะทันหันบริเวณทองขวาดานบนเปน ๆ หาย ๆ มีอาการคลื่นไส อาเจียน
หรือดูซีดเซียว แขนขาเย็น

การรักษา
ภาวะพยาธิตัวกลมในทางเดินน้ําดี มักจะวินจิ ฉัยวาเปนอาการชี่ติดขัด ในขณะทีเ่ กิดภาวะนี้ขนึ้ จุด
บนเสนลมปราณกระเพาะอาหาร ถุงน้ําดี และตับใชเปนจุดรักษาภาวะนี้
สาเหตุ : ชี่ติดขัด (Qi Obstruction)
อาการ: มีอาการปวดทองกะทันหันบริเวณทองขวาดานบนเปน ๆ หาย ๆ มีอาการคลืน่ ไส อาเจียน
หรือดูซีดเซียว แขนขาเย็น
ลิ้นสีมวง ; ชีพจรตึง หรือตึงแนน (XianMai or JinMai)
หลักการรักษา: ทําใหพยาธิสงบลง (calm the ascaris) เสริมกระตุนหนาที่ของถุงน้ําดี ลดอาการ
เกร็ง (spasm) และลดปวด
จุดหลัก:- ระบาย BuRong (ST 19), YangLingQuan (GB 34), ShangWan (CV 13), TaiChong
(LR 3), NeiGuan (PC 6)
- บํารุงระบายเทากัน QiMen (LR 14)
อธิบาย: กระตุนเข็มดวยการยกขึ้นปกลงและหมุนกระตุน จนอาการปวดทุเลาลง สามารถกระตุนได
มากกวาสองครั้งตอวัน ขึ้นกับอาการของผูปวย, BuRong (ST 19) เปนจุดที่อยูตรงตําแหนงของโรค
เชนเดียวกับ QiMen (LR 14) ซึ่งเปนจุดมูของตับดวย ใชเพื่อเสริมการไหลเวียนของชี่ตบั และถุงน้ําดี และ
ลดอาการปวด, YangLingQuan (GB 34) เสริมการเดินชี่ของถุงน้ําดี หยุดปวด, ShangWan (CV 13)
Page 160

และ NeiGuan (PC 6) ควบคุมกระเพาะไมใหอาเจียน, TaiChong (LR 3) คู NeiGuan (PC 6) เสริมการ
ไหลเวียนของชี่ลดอาการปวด
จุดเสริม: ทองผูกและอืดแนน – ระบาย TianShu (ST 25) และ ZhiGou (TE 6)

การรักษาดวยวิธีอื่นเพิ่มเติม
1. ปกโทวจากจุด YingXiang (LI 20) ไปจุด SiBai (ST 2)
ขอบเขตการใช: ภาวะพยาธิตัวกลมในทางเดินน้ําดี
จุดที่ใช: YingXiang (LI 20), SiBai (ST 2)
การกระตุน: ใชเข็ม 1.5 ชุน ปกที่จุด YingXiang (LI 20) ลึก 0.5 เซ็นติเมตร กระตุน ใหไดชี่ แลวเอียง
เข็มลงในแนวราบปลายเข็มชี้ไปที่จดุ SiBai (ST 2) เดินเข็มใหถึงตําแหนงจุด SiBai (ST 2) แลวกระตุนใหได
ชี่ แลวคาเข็มไว กระตุนทุก 5 – 10 นาที จนกระทั่งอาการปวดทุเลาลงจึงถอนเข็มออก
2. เลือกจุดพิเศษ JinLing
ขอบเขตการใช: ภาวะพยาธิตัวกลมในทางเดินน้ําดี
จุดที่ใช: JinLing จุดอยูดานหลังมือบริเวณชองระหวางนิว้ นางและนิ้วกอยโดยจะเปน
จุดกึ่งกลางของเสนที่ลากจากเสนขวางขอมือกับเสนเชื่อมหัวกระดูกนิ้วที่ 4 และ 5
การกระตุน: ใชเข็ม 1 ชุน ปกจุด JinLing ลึก 0.3 – 0.5 ชุน กระตุนดวยการหมุนเข็ม ยกเข็มขึน้ ลง
ใหไดความรูสึกตึงชาวิ่งไปที่ปลายนิ้ว หากอาการปวดยังไมลดลงใหคาเข็มไว 10 นาที แลวกระตุนซ้ํา
โดยทั่วไป อาการปวดจะดีขนึ้ ใน 10 นาที หลังกระตุน จนไดชี่ในครั้งแรก
3. กระตุนดวยนิ้วที่จุด DanNang (EX-LE 6)
ขอบเขตการใช: ภาวะพยาธิตัวกลมในทางเดินน้ําดี
จุดที่ใช: DanNang (EX-LE 6) จุดอยูตําแหนงหนาแขงบนดานนอกเฉียงไปดานหนาและลางตอหัว
กระดูก Fibula 2 ชุน
การกระตุน: ใหกดจุด DanNang (EX-LE 6) ทั้งสองขาง ดวยนิ้วหัวแมมือสองขางดวยความแรง
นานประมาณ 3 นาที หลังจากนั้นใหนวดคลึงที่จุดทั้งสอง จนกระทั่งอาการปวดหายไป
4. ปกจุดแบบโทว
จุดที่ใช: GaoHuangShu (BL 43) ปกโทว GeShu (BL 17) ขางขวา
วิธีการ: ใชเข็มเบอร 32 ขนาดมาตรฐานปกใตชนั้ ผิวหนังจากจุด GaoHuangShu (BL 43) ปกโทวไป
จุด GeShu (BL 17) แลวกระตุนดวยการหมุนเข็มนาน 3 นาที คาเข็มไว 1 ชั่วโมง เปนการเลือกจุดใกลเพื่อ
ใชรักษา ดังคํากลาวที่วา “จุดดานหลังใชรักษาโรคดานหนา”
5. ปกจุดมู
จุดที่ใช: JuQue (CV 14) และ TianShu (ST 25) ดานขวา
วิธีการ: ปกจุดทั้งสอง กระตุน เข็มตามปกติ คาเข็มไว 60 นาที
Page 161

6. ปกจุดทีส่ ัมพันธกบั ตําแหนงโรค


จุดที่ใช: เลือกจุด JiaJi ที่ตําแหนงกระดูกสันหลังสวนอกขอที่ 7 หรือเลือกจุด ZhiYang (GV 9) เปน
จุดหลัก และเลือกจุด DanShu (BL 19), PiShu (BL 20) และ WeiCang (BL 50) ของขางขวาเปนจุดรอง
วิธีการ: ปกตั้งฉากที่จุด JiaJi ลงไปถึงชัน้ ใตผิวหนังแลวเอียงเข็มเปนมุมประมาณ 65 องศาปกลงไป
อีกประมาณ 1 ชุน เขาหากระดูกสันหลัง ใหปลายเข็มถึงเยื่อหุมกระดูก กระตุนแบบระบาย แตใชมุมเข็ม
แคบแคเพียงใหผูปวยรูสึกสบายและผอนคลายในชองทรวงอกและชองทอง กระตุนเข็มทุก 5 นาที คาเข็มไว
20 – 30 นาที สวนจุดรองใหฝงเข็มและกระตุนเข็มแบบปกติ
7. ปกที่จุด HuiJueXue
จุดที่ใช: HuiJueXue ตําแหนงอยูท ี่รองบุมของผิวหนังใตตําแหนงปลายกระดูกของกระดูกสันหลัง
สวนอกขอที่ 8
วิธีการ: ใหผปู วยนอนคว่ํา ใชเข็มยาว 2.5 ชุน ปกเฉียงขึน้ เขาไปในชองวางระหวางกระดูกสันหลังใต
ตําแหนงปลายกระดูกของกระดูกสันหลังสวนอกขอที่ 8 ลึก 1.5 – 2 ชุน กระตุน เข็มทุก 5 นาที คาเข็มไว 15
– 30 นาที
8. ปกที่จุดสะทอนของโรคพยาธิตัวกลมในถุงน้ําดี
จุดที่ใช: เปนจุดกดเจ็บอยูที่ตําแหนงต่ํากวาจุด ZuSanLi (ST 36) ทั้งสองขาง
วิธีการ: ใชเข็มเบอร 28 – 30 ยาว 3.5 – 4 ชุน ปกที่จดุ นี้ เมื่อกระตุน จนไดชี่แลว ใหปกลึกลงไปอีก
ประมาณ 3 ชุน แลวจะรูสึกไดชี่อีกครั้ง ใหไดชี่ ปกจุดอีกขางหนึ่งดวยวิธกี ารเดียวกัน กระตุนเข็มทั้งสองเลม
พรอมกันแบบระบาย ดวยการหมุนเข็มยกเข็มขึน้ ลง กระตุน จนอาการปวดทุเลาลงหรือหายไป กระตุน ซ้ําอีก
2 ครั้ง ระหวางคาเข็มไว 30 นาที
9. ปกดวยเข็ม 7 ชุน
จุดที่ใช: JiuWei (CV 15)
วิธีการ: ใชเข็มเบอร 28 ยาว 5 – 7 ชุนปกทีจ่ ุด JiuWei (CV 15) เอียงขนานใตผิวหนังปลายเข็มชี้ไปที่
จุด ShenQue (CV 8) เดินเข็มชา ๆ เมื่อถึงจุด ShuiFen (CV 9) ใหกระตุนเข็มดวยการหมุนเข็มยกเข็มขึ้น
ลง จนกระทั่งอาการปวดทุเลาลง คาเข็มไว 10 – 20 นาที โดยทั่วไปใชการรักษา 1 รอบการรักษาก็สามารถ
รักษาอาการปวดใหหายได [หมายเหตุผเู รียบรียง: หากไมมั่นใจหรือไมเชีย่ วชาญการใชเข็ม ไมแนะนําใหทํา
สิ่งที่นํามากลาวไวเปนเพียงความรูทถี่ ูกบันทึกไวใหทราบวามีวิธีการรักษาเชนนีเ้ ทานั้น]
ความคิดเห็น : การรักษาดวยการฝงเข็มและรมยาไดผลดี ในภาวะพยาธิตัวกลมในทางเดินน้ําดี
และไมกอใหเกิดผลขางเคียงแตอยางใด โดยทั่วไปสามารถใชการฝงเข็มและรมยาเปนการรักษาเบื้องตนใน
ภาวะที่มีอาการอยางเฉียบพลัน อยางไรก็ตามหลังอาการปวดทุเลาลงควรตองรักษาสาเหตุโดยตรงเพื่อให
เกิดผลดีตอผูปวยตอไป
Page 162

รูปที่ 34 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคพยาธิไสเดือนในทางเดินน้ําดี

ลําไสอุดตันเฉียบพลัน
( Acute Intestinal Obstruction : 急性肠梗阻)

ภาวะลําไสอุดตันอยางเฉียบพลัน จะมีอาการทองอืดแนน อาเจียน ปวดทองอยางเฉียบพลัน เปน


ภาวะที่มีการกีดขวางทางเดินอาหาร ซึ่งมีหลายสาเหตุ

สาเหตุของลําไสอุดตัน
1. ลําไสไมทํางาน
- ยาบางชนิด เชนยาแกปวดประเภทมอรฟน
Page 163

- การติดเชื้อในชองทอง
- เลือดไมสามารถไปเลี้ยงลําไสไดเพียงพอ
- ภาวะแทรกซอนจากการผาตัดในชองทอง
- โรคไตบางชนิด
- โพแทสเซียมในเลือดต่ํา
การที่ลําไสไมทํางานก็จะนําไปสูภาวะแทรกซอนอื่น ๆ อีก ไดแก อาการเหลือง และมีเกลือแรในเลือด
ที่ผิดปกติ ในเด็กแรกเกิดมักสัมพันธกับโรคที่มีการติดเชื้อในลําไส แลวทําใหลําไสตายที่เรียกวา NEC
(Necrotizing enterocolitis) ซึ่งเปนภาวะที่อาจเปนอันตรายถึงชีวิต และนําไปสูการติดเชื้อในกระแสเลือด
ตามมา ในเด็กโตและผูใ หญ การที่มีลําไสไมทํา งาน มักสัมพันธกับโรคลําไสอักเสบ การอักเสบในชองทอง
และไสติ่งแตก อาการ ของลําไสไมทํางาน ไดแก ทองอืด และปวดทอง
2. การอุดตันในลําไส
มักเกิดขึ้นจากการมีสิ่งกีดขวางทางเดินอาหาร และทําใหเกิดการอุดตันของลําไสตามมา ไดแก
สาเหตุดังตอไปนี้
- ไสเลื่อน
- ภาวะแทรกซอนจากการผาตัดในชองทอง
- อุจจาระแข็งมากจนอุดกั้นทางเดินอาหาร
- นิ่ว
- มะเร็งหรือเนื้องอกในลําไส
- ลําไสกลืนกัน หรือบิดพันกัน
- การรับประทานสิ่งแปลกปลอมเขาไปอุดกั้นทางเดินอาหาร
- ถาสิ่งกีดขวางมีผลทําใหเลือดที่ไปเลี้ยงลําไสลดลง ลําไสอาจตายได และทําใหเกิดการติดเชื้อ
ตามมา

อาการและอาการแสดง
- อืด แนนทอง มักมีอาการทองอืด มากหรือนอยแลวแตระดับการอุดตันของลําไส
- ทองโตขึ้น
- ปวดทอง ลักษณะอาการปวดทองมักปวดเปนพัก ๆ คือมีชวงเวลาที่ปวดมากและชวงเวลาที่คลาย
ปวด
- อาเจียน ลักษณะของอาเจียน อาจเปนอาหารปนกับน้ําดี หรืออาหารที่มีกลิ่นของอุจจาระ แลวแต
ระดับ
- การอุดตันของลําไส
Page 164

- ไมถายอุจจาระ ถาการอุดตันเปนเพียงบางสวน อาจมีอจุ จาระผานออกมาไดบาง แตถาการอุดตัน


สมบูรณ ผูปวยจะไมมีอุจจาระออกมาเลย ไมผายลมดวย

การตรวจวินิจฉัย
โดยการฟงเสียงลําไส ถาไมมีเสียงการทํางานของลําไส หรือหางกันนานเกินไปก็อาจเปนสัญญาณที่
บงบอกถึงความผิดปกติ
การตรวจรางกายรวมทัง้ การตรวจทางทวารหนัก
การเจาะเลือด ตรวจนับเม็ดเลือดขาวและเกลือแร

การตรวจทางรังสี
- การเอกซเรยชองทอง
- การทดสอบโดยการกลืนสารทึบรังสีแลวถายเอกซเรย
- การเอกซเรยคอมพิวเตอร
การรักษา
1. ใหน้ําเกลือเขาทางหลอดเลือดดํา เพื่อทดแทนน้ํา และเกลือแร
2. ใสสายยางขนาดเล็กทางจมูกลงไปในกระเพาะอาหาร เพื่อดูดลมและเศษอาหาร
3. ใสสายสวนปสสาวะ ดูอัตราการไหลของปสสาวะ บงถึงการทดแทนน้ําทีเ่ พียงพอ
4. งดอาหารทางปาก
ในผูปวยที่มีลําไสอุดตันบางสวน การใหการรักษาดังขางตนอาจพอเพียง แตในผูปวยที่อาการไมดี
ขึ้น หรือมีการอุดตันลําไสแบบสมบูรณ ผูปวยตองไดรับการผาตัดทันที หลังจากที่ไดรับการเตรียมรางกาย
พรอมแลว
โดยสรุป ความรุนแรงของภาวะลําไสอุดตัน ขึ้นอยูกับสาเหตุที่กอใหเกิดโรค ถาผูปวยมาพบแพทย
และไดรับการรักษาทันทวงที จะลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซอนที่รนุ แรงลงได
ภาวะแทรกซอนของลําไสอุดตัน
- การติดเชื้อ
- ลําไสตาย
- มีการฉีกขาดหรือลําไสทะลุ
การปองกัน
หากมีสาเหตุ ใหรักษาสาเหตุกอน (เชน ไสเลื่อน หรือเนื้องอกในลําไส) เพื่อลดความเสี่ยง แตอยางไร
ก็ตาม สาเหตุบางอยางก็ไมสามารถปองกันได
ศาสตรการแพทยแผนจีน จัดวามีสาเหตุจากการอุดกัน้ การไหลเวียนของชี่และเลือด
Page 165

ความรอนและความเย็นคั่งคาง การสะสมตกคางของอาหาร หรือพยาธิในลําไส ซึ่งกอใหเกิด


การอุดตันของทางเดินอาหารตามมา

การรักษา
หลักการรักษา: ขจัดการอุดกั้น ปรับสมดุลกระเพาะ หยุดอาเจียน และเสริมการไหล เวียนของชีใ่ น
ทางเดินอาหาร โดยเลือกจุดหลักบนเสนลมปราณเทาหยางหมิงเปนหลัก
จุดที่ใช:
- ระบาย ShangJuXu (ST 37), XiaJuXu (ST 39), TianShu (ST 25), DaChangShu (BL 25),
NeiGuan (PC 6), ZuSanLi (ST 36), FuJie (SP 14), DaHeng (SP15)
- บํารุงระบายเทากัน GuanYuan (CV 4)
อธิบาย : แบงการรักษาเปน 3 รูปแบบ ดังนี้
1. เลือกจุด TianShu (ST 25), DaChangShu (BL 25), ZuSanLi (ST 36), FuJie (SP 14),
DaHeng (SP 15) เปนการเลือกจุดซู-มูเพื่อใชรักษา กระตุนเข็มแบบระบาย กระตุนซ้ําไดวันละสองครั้ง
หรือมากกวาขึ้นกับอาการของผูปวย
2. เลือกจุด ShangJuXu (ST 37), XiaJuXu (ST 39) และ ZuSanLi (ST 36) เปนการเลือกจุด
เหอลางและจุดบนลางในแนวเดียวกันของเสนลมปราณ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา และกระตุน การ
ทํางานของอวัยวะใหดีขนึ้ กระตุนเข็มแบบระบาย
3. เลือกจุด DaHeng (SP 15) ปกเข็มลึก 4 ชุน กระตุน เข็มแรงแบบระบาย ไมคาเข็ม กระตุนวันละ 2
ครั้ง โดยทั่วไป อาการจะดีขึ้นภายใน 24 – 48 ชั่วโมง หลังฝงเข็ม

การรักษาเพิ่มเติม
1. การรมยา
เลือกจุด ShenQue (CV 8) รมโดยใชขิงคัน่ ครั้งละ 15 – 20 นาที วันละ 3 ครั้ง

2. กระตุนจุดบนลาง
เลือกจุด TianShu (ST 25) และ ZuSanLi (ST 36) โดยปกและกระตุน ทีจ่ ุด ZuSanLi (ST 36) กอน
เพื่อลดอาการคลื่นไสอาเจียน อันเนื่องมาจากชี่ของกระเพาะอาหารวิ่งยอนขึ้นบน คาเข็มไว 10 นาที และ
ปกเข็มที่จุด TianShu (ST 25) ใชเครื่องกระตุน ไฟฟา กระตุนเข็ม โดยติดขั้วลบที่ TianShu (ST 25) และติด
ขั้วบวกที่จุด ZuSanLi (ST 36) ใชคลืน่ dense-disperse นาน 30 นาที
3. ฝงเข็มหู
จุดที่ใช: Ear-ShenMen, Large Intestine, Stomach, Small Intestine, Abdomen
การกระตุน: เมื่อเกิดอาการปวดเกร็งในทองใหปกและกระตุนแรง คาเข็มไว 30 – 60 นาที กระตุน
ทุก 10 นาที จนกวาอาการปวดเกร็งจะหายไป ในหนึ่งวันสามารถปกไดทุก 4 – 6 ชั่วโมง
Page 166

4. การใชเข็มน้ํา
จุดที่ใช: ZuSanLi (ST 36) ทั้งสองขาง
วิธีการ: ใช Neostigmine ปริมาณ 0.25 mg ตอจุดฉีดทั้งสองจุด วิธีนใี้ ชสําหรับภาวะลําไสอุดตัน
ชนิดไมเคลื่อนไหว (paralytic intestinal obstruction)

หมายเหตุ :
1. การฝงเข็มและรมยาไดผลดีในการรักษาโรค แตหากอาการไมดีขึ้นภายใน 6 - 24 ชั่วโมง ควร
พิจารณาสงแผนกศัลยกรรมตอไป
2. การฝงเข็มรมยา ไดผลดีในการลดอาการปวด จากภาวะลําไสอุดตันจากการเคลื่อน ไหวที่ผิดปกติ
(dynamic obstruction) และผลที่ไดก็คงอยูนาน สวนภาวะลําไสอุดตันจากการอุดตันภายใน
(mechanical obstruction) ก็สามารถลดอาการปวดไดดเี ชนกัน แตผลคงอยูไดไมนาน
Page 167

รูปที่ 35 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคลําไสอุดตันเฉียบพลัน

ไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน
( Acute Appendicitis : 急性阑尾炎)
ภาวะไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน จะมีอาการปวดบริเวณลิน้ ป หรือรอบสะดือในระยะแรก ตอมาอาการ
ปวดจะเลื่อนลงมาบริเวณทองนอยสวนลางดานขวา อาการปวดจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ปวดมากเมื่อกด อาจมี
การเกร็งของกลามเนื้อหนาทองบริเวณทีป่ วดได มักนอนงอขา เหยียดขาขวาตรงไมได อาจมีไขรวมดวย
กลัวหนาว
ไสติ่งอักเสบ เปนโรคทีเ่ กิดกับไสติ่ง เปนภาวะฉุกเฉินทางการแพทย ผูปวยไสติ่งอักเสบทุกรายตอง
ไดรับการผาตัดเอาไสติ่งออก หากไมไดรับการรักษาแลวจะมีอัตราการเสียชีวิตสูง การเสียชีวิตสวนใหญ
เกิดจากภาวะเยื่อบุชองทองอักเสบและภาวะช็อค
โรคไสติ่งอักเสบ ไดรับการอธิบายเปนครัง้ แรกโดย Reginald Fitz ในป พ.ศ. 2429 ปจจุบัน ไดรับการ
ยอมรับวาเปนหนึ่งในสาเหตุของอาการปวดทองรุนแรงเฉียบพลัน ทีพ่ บบอยที่สุดทั่วโลก
ไสติ่งเปนสวนขยายของลําไสใหญสวนตน มีรูปรางเรียวหยาวคลายหนอน ทําใหมีคําเรียกใน
ภาษาอังกฤษวา vermiform appendix (ติ่งรูปหนอน) ความยาวโดยเฉลี่ย 8 - 10 เซนติเมตร (มีขนาดได
ตั้งแต 2 - 20 เซนติเมตร) เจริญขึ้นในเดือนทีห่ าของการตั้งครรภ และมีเนื้อเยื่อน้ําเหลือง (lymphoid
follicle) ทั่วชัน้ เยื่อเมือก เนื้อเยื่อน้ําเหลืองเหลานี้จะมีจํานวนมากขึ้นและขยายขนาดเมื่อมีอายุ 8 - 20 ป
จากหลักฐานในปจจุบัน เชื่อกันวา โรคไสติ่งอักเสบเปนผลที่เกิดจากการมีการอุดตันของไสติ่ง เมื่อ
เกิดมีการอุดตันเกิดขึ้นแลว สวนที่อุดตันนี้จะมีการคั่งของมูกมาอัดแนนและบวมขึน้ มีความดันภายในสวน
ที่อุดตันนี้และตัวผนังไสติ่งเองสูงขึ้น เกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดขนาดเล็ก ขัดขวางการไหลเวียนของ
เลือดและน้ําเหลือง หากอาการดําเนินมาถึงระดับนี้แลวพบวาการกลับหายเปนปกติไดเองพบไดนอย เมื่อ
อาการดําเนินตอไปไสติ่งจะขาดเลือดและตายเฉพาะสวนไป ตอมาแบคทีเรียที่มีอยูแลวในลําไสจะผานผนัง
Page 168

ไสติ่งที่ตายแลวนี้ออกมา เกิดหนองขึ้นรอบ ๆ ไสติ่ง จนสุดทายแลวไสติ่งที่อักเสบมากนี้จะแตกออกทําให


เกิดเยื่อบุชองทองอักเสบ ซึ่งอาจทําใหเกิดภาวะเลือดเปนพิษและเสียชีวิตได
ในบรรดาสาเหตุตาง ๆ ของการอุดตันของไสติ่ง เชน การมีวัตถุแปลกปลอม การมีบาดแผล พยาธิ
สาเหตุที่ไดรบั ความสนใจมากสาเหตุหนึ่งคือการมีนิ่วอุจจาระไปอุดตัน พบวามีความชุกของการพบนิ่ว
อุจจาระ ในผูป วยไสติ่งอักเสบในประเทศพัฒนาแลวมากกวาในประเทศกําลังพัฒนา และการมีนิ่วอุจจาระ
อุดตันในไสติ่ง มักพบวามีความสัมพันธกับไสตงิ่ อักเสบรุนแรง นอกจากนี้ภาวะทองผูกก็อาจมีสวนดวย
ดังที่พบวาผูปวยไสติ่งอักเสบมีจํานวนครั้งการถายอุจจาระตอสัปดาหนอยกวากลุมควบคุมปกติอยางมี
นัยสําคัญ การเกิดมีนิ่วอุจจาระในไสติ่งสัมพันธกับการทีม่ ีที่เก็บอุจจาระคั่งในลําไสใหญสวนขึ้นและการมี
ชวงเวลาในการบีบไลอุจจาระนาน จากขอมูลทางระบาดวิทยาพบวาในกลุมประชากรที่ไมเปนโรคไสติ่ง
อักเสบ ไมพบผูปวยโรคกระเปาะลําไสหรือติ่งเนื้อเลย และพบผูปวยมะเร็งลําไสใหญนอยมาก นอกจากนี้ยัง
พบวาผูปวยมะเร็งลําไสใหญและมะเร็งไสตรงมักเปนโรคไสติ่งอักเสบนํามากอนดวย มีหลายการศึกษา
พบวาการกินอาหารที่มกี ากใยต่ํา มีสวนในการทําใหเกิดโรคไสติ่งอักเสบ ซึ่งตรงกันกับขอมูลที่วาการกิน
อาหารที่มีกากใยต่ําทําใหมชี วงเวลาในการบีบไลอุจจาระนานขึ้น

อาการและอาการแสดง
อาการของไสติ่งอักเสบเฉียบพลันนั้นอาจแบงไดเปนสองชนิด คือ ชนิดตรงไปตรงมาและชนิดไม
ตรงไปตรงมา ประวัติของผูปวยไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน ชนิดตรงไปตรงมานัน้ จะเริ่มจากมีอาการปวด
บริเวณรอบสะดือ กอนที่จะยายไปปวดบริเวณหนาทองดานลางขวา ลักษณะนีเ้ กิดจากการที่อาการปวดใน
ชวงแรกเกิดจากเสนประสาทอวัยวะภายในที่รับความ รูสึกจากไสติ่งนั้น แบงแยกตําแหนงความเจ็บปวดได
ไมชัดเจน เทาอาการปวดในชวงหลังทีเ่ กิดจากอักเสบลุกลามไปยังเยื่อบุชองทองซึง่ มีเสนประสาทโซมาติกที่
สามารถระบุตําแหนงอาการปวดไดชัดเจนกวา อาการปวดทองมักมีรวมกับอาการเบื่ออาหารและมีไข
อยางไรก็ดีไขไมใชอาการที่จําเปนตองมีเสมอไป อาจมีอาการคลื่นไสและอาเจียน รูสึกงวงซึม และรูสึกไม
สบาย ดวยอาการแบบตรงไปตรงมานี้ การวินจิ ฉัยสามารถทําไดงาย ผูปวยมักไดรับการผาตัดรวดเร็วและ
ผลออกมาดีไมมีรุนแรง
อาการที่ไมตรงไปตรงมานั้นอาจเริ่มจากมีอาการปวดเริ่มทีห่ นาทองดานลางขวาตัง้ แตตน ทองเสีย
และมีการดําเนินโรคที่ยาวนานคอยเปนคอยไป หากไสตงิ่ ที่อักเสบสัมผัสกับกระเพาะปสสาวะอาจทําใหมี
อาการปสสาวะบอย หากไสติ่งที่อักเสบอยูดานหลังลําไสเล็กตอนปลายอาจมีอาการคลื่นไสรุนแรงได บาง
รายอาจรูสึกปวดเบง
โรคไสติ่งอักเสบเรื้อรังตางจากโรคไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน อาการอาจแตกตางไดมากในผูปวยแตละ
คน ดังมีคํากลาววา "ไมมีลักษณะเฉพาะหรือการตรวจทัว่ ไปใด ๆ ที่จะใชวนิ ิจฉัยไสตงิ่ อักเสบเรื้อรังเปนซ้ํา
ได จะตองวินิจฉัยโดยการคัดโรคอื่นออกเทานั้น..."
Page 169

อาการและอาการแสดง
ผลจากการมีไสติ่งอักเสบจะทําใหผนังชองทองออนไหวตอการสัมผัสเบาๆ มากขึ้น มีอาการกดปลอย
แลวเจ็บ (rebound tenderness) ในกรณีที่ไสติ่งของผูปวยอยูตําแหนงหลังลําไสใหญอาจทําใหไมมีอาการ
เจ็บจากการตรวจทางหนาทองไดเพราะลําไสใหญที่เต็มไปดวยอากาศจะกันไมใหแรงกดไปสัมผัสโดนไสติ่ง
ที่อักเสบ ในกรณีเดียวกัน ถาไสติ่งอยูต่ําลงมาภายในอุง เชิงกรานก็จะตรวจไมพบอาการเจ็บหนาทองหรือ
หนาทองแข็งเชนกัน ในกรณีเชนนี้การตรวจทางทวารหนักจะตรวจพบอาการเจ็บใน rectovesical pouch
ได การกระทําใดๆ ที่เพิ่มแรงดันในชองทอง เชน การไอ จะทําใหมีอาการเจ็บที่ตําแหนง McBurney's point
และเปนวิธีตรวจหาตําแหนงของไสติ่งที่อักเสบที่เจ็บนอยทีส่ ุด ถาตรวจหนาทองแลวพบวาหนาทองแข็ง
อยางมากโดยที่ผูปวยไมไดตั้งใจเกร็งหนาทองแลวเปนไปไดมากวาจะมีภาวะเยื่อบุชองทองอักเสบแลว ซึ่ง
ตองไดรับการผาตัดโดยดวน
- Rovsing's sign
การกดตรวจลึกบริเวณ iliac fossa ทางดานซายอาจทําใหมีอาการเจ็บบริเวณ iliac fossa ทาง
ดานขวา นี่เปนลักษณะของ Rovsing's sign หรือ Rovsing's symptom ใชวนิ ิจฉัยไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน
ได
- Psoas sign
บางครั้งไสติ่งที่อักเสบอาจมีตําแหนงอยูบนกลามเนื้อ psoas จะทําใหผูปวยนอนงอสะโพกขวาเพื่อ
คลายความเจ็บปวดที่ปวดมาก
- Obturator sign
ถาไสติ่งที่อักเสบอยูติดกับกลามเนื้อ obturator internus จะตรวจพบการเกร็งของกลามเนื้อโดยงอ
และหมุนขอสะโพกเขาดานใน การกระทําเชนนีจ้ ะทําใหผปู วยมีอาการเจ็บที่บริเวณทองนอย

การรักษา
- การผาตัดเอาไสติ่งอักเสบออก
ไสติ่งอักเสบรักษาโดยการผาตัดเอาไสติ่งออก ในชวงแรกผูปวยจะไดรบั การเตรียมการผาตัดโดยให
สารน้ําทางหลอดเลือดดําเพื่อปองกันไมใหรางกายขาดน้ําในขณะที่งดน้ําและงดอาหาร อาจมีการใหยา
ปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดําเพื่อชวยฆาเชื้อแบคทีเรียและลดการแพร กระจายของการติดเชื้อในชองทอง
รวมถึงลดภาวะแทรกซอนหลังการผาตัดดวย ถาผูปวยทองวางอาจใชการผาตัดโดยการวางยาสลบ หรือ
ไมเชนนั้นอาจใชการทําใหชาโดยฉีดยาเขาชองน้ําไขสันหลัง
การผาตัดเอาไสติ่งออกในปจจุบันนิยมใชการผาตัดโดยการใชกลองสองตรวจผานทางชองทอง สวน
ในประเทศไทยยังนิยมใชการผาตัดโดยการเปดชองทองบริเวณ McBurney's point ตรงตําแหนงทีเ่ ปนไส
ติ่ง วิธีการกรีดแผลที่เปนทีน่ ิยมที่สุดคือการผาโดยใชแนว gridion (แนวเฉียง) หรือแนวนอน มีรายงานการ
ผาตัดเอาไสติ่งออกในผูปวยสตรีโดยการใชกลองสองตรวจผานทางชองคลอดในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551
Page 170

การพยากรณโรค
ผลการรักษาไสติ่งอักเสบไมวาจะมีภาวะแทรกซอนเกิดขึ้นหรือไมก็ตามสวนใหญไดผลดี ผูปวยสวน
ใหญสามารถกลับสูภาวะปกติในเวลาไมนานหลังการผาตัด และหลังจาก
นั้นสามารถใชชีวติ ไดตามปกติ
พยากรณโรคโดยทั่วไปดีมาก อัตราการตายโดยรวมนอยกวา 1% ภาวะเปนโรคสวนใหญ ขึ้นอยูกบั
วาไสติ่งนั้นอักเสบเฉียบพลันมากหรือไม หรือมีการแตกของไสติ่งที่อักเสบหรือไม ภาวะแทรกซอนที่พบบอย
ที่สุดคือการติดเชื้อของแผลผาตัด พบในผูปวยไสติ่งแตกประมาณ 1-5%
สาเหตุทางศาสตรการแพทยแผนจีนเกิดจากการรับประทานอาหารที่ไมเหมาะสม รับประทานมาก
เกินไปหรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล รับประทานอาหารที่มันและเย็นซึ่งจะกอใหเกิดการบาดเจ็บตอ
กระเพาะอาหารและลําไส ทําใหมกี ารสะสมคั่งคางของเสมหะและความรอนในชองทองสวนลาง หรือมีการ
เคลื่อนไหวอยางรุนแรงหลังรับประทานอาหารทําใหการทํางานของลําไสผิดปกติไป เกิดการไหลเวียนของ
เลือดและชี่ติดขัด ในที่สุดจะเกิดการอักเสบตามมาจากความรอนที่หมุนเวียนอยูใ นชองทองสวนลาง และ
การไหลเวียนที่ติดขัดของเลือด ชี่ และเสมหะ

การรักษา
หลักการรักษา: ปรับการไหลเวียนชี่ของอวัยวะกลวง ขจัดความรอนที่ตกคาง เลือกจุดหลักจากเสน
ลมปราณหยางหมิงมือและเทา
- การรักษาดวยการฝงเข็ม
1. ปกจุดคู
เลือกจุด ZuSanLi (ST 36) และ ShangJuXu (ST 37) หรือ LanWei (EX-LE 7) ปกจุดและกระตุน
แบบระบายทัง้ สองจุด คาเข็มไว 1 ชั่วโมง กระตุนเข็มทุก 10 นาที ฝงเข็มวันละ 2 – 3 ครั้งจนอาการปวด
ทองเมื่อกดหายไป หากมีไข ใหเพิ่มจุด QuChi (LI 11) หากทองอืดแนนใหเพิ่มจุด DaChangShu (BL 25)
และ CiLiao (BL 32) [กรณีศึกษา ผูปวยไสติ่งอักเสบ 590 รายรักษาดวยวิธีดังกลาว พบวา รักษาหาย
356 ราย, อาการดีขึ้น 162 ราย, ไมเปลี่ยน แปลง 72 ราย]
2. ปกจุดพิเศษ XiSiXue ทั้งสองขาง และ DaHeng (SP 15) ทั้งสองขาง ปกเข็มตั้งฉากที่จดุ
XiSiXue (Extra point ตําแหนง 4 ชุนเหนือขอบบน นอกของกระดูกสะบาของเขาที่งออยู) กระตุนแรงใหได
ชี่และไดความรูสึกแผ ออกไปถึงขาหนีบไปจนถึงทองนอย สวนจุด DaHeng(SP 15) ใหปกเฉียงลงไป
หาขาหนีบกระตุนใหไดชี่และไดความรูสึกแผกระจายไปถึงขาหนีบเชนกัน เมื่อ กระตุนจุดทั้ง
สองขางใหไดความรูสึกแผกระจายเขาหากันอาการปวดแนนใน ทองก็จะทุเลาลง คาเข็มไว 30 นาที
กระตุนทุก 10 นาที
Page 171

3. ปกที่จุดสะทอนของลําไสเล็ก: จุดจะอยูตําแหนงระหวางโหนกแกม (zygoma) และปกจมูก


ทั้งสองขาง สามารถปกไดสองวิธีคือ วิธีแรกปกแบบเฉียง โดยปก เข็มที่ตําแหนง 1/3 ดานในระหวางปก
จมูกและโหนกแกมใหเปนมุมประมาณ 25 องศากับแนวรองขอบจมูก ลึก 0.2 – 0.3 ชุนกระตุนแบบผิงปู
ผิงเซีย่ ใหไดชี่ สวนวิธีที่สองใหปกตรงตั้งฉากทีจ่ ุดเดียวกันลึก 0.1 ชุนกระตุนใหไดชี่ แลวใชสําลี สเตอ
ไรซปดทับเข็มทิ้งไว 12 ชั่วโมง(บางรายอาจนาน 12 – 24 ชั่วโมง) ทําวันละครั้ง อาการจะทุเลาลงและดีขึ้น
4. เลือกจุด ZuSanLi (ST 36) เสริมดวยจุด QuChi (LI11) และNeiTing (ST 44) ปกเข็ม
กระตุนใหไดชี่ แลวกระตุน เข็มแรง คาเข็มไว 1 ชั่วโมง ทําการรักษาวันละ 2 – 3 ครั้ง และลดลงเหลือวันละ 1
– 2 ครั้ง เมื่ออาการดีขึ้น หากอาการไมดีขึ้น หรือทรุดหนักลง ใหรักษาดวยการผาตัดตอไป
5. การรมยา
5.1 รมยาที่จุด QiHai (CV 6) โดยใชโกฐแทงรมยานาน 30 นาที วันละครั้ง ในผูปวยที่มีอาการมาก
อาจรักษาตอเนื่อง 2 – 3 วัน โดยทั่วไปไขจะลดลงและหายไปหลังการรักษาได 2 หรือ 3 ครั้ง [กรณีศึกษา
ผูปวยไสติ่งอักเสบรวม 40 รายรักษาดวยวิธนี ี้ หายดี 38 ราย ไมไดผล 2 ราย]
5.2 รมยาที่จุด DaDun (LR 1) ทั้งสองขางและจุดกดเจ็บ(McBurney’s point) โดยใชโกฐจุฬาปน
เปนรูปโคนขนาดเทาเมล็ดขาวสาลีวางที่จดุ DaDun(LR 1) ทั้งสองขาง รมยาจนรูสึกแสบรอนก็เปลี่ยนโกฐ
ใหม ทําซ้ําจนเห็นผิวหนังแดงจึงหยุด ระวังอยาใหเกิดตุมน้ําพุพอง ปกติจะใชโกฐประมาณ 5 กอนตอขาง
สวนที่จุด McBurney’s point ใหใชโกฐแทงรมแบบรวดเร็วรอบจุดนาน 20 – 30 นาทีทําไปทีละจุดจน
ผิวหนังแดงไดความรูสึกรอนผานผิวหนังลงไปถึงกลามเนื้อดานลาง ใหระวังอยาใหเกิดตุมน้ําพุพองเชนกัน
โดยทั่วไปทําวันละ 1 – 2 ครั้ง
5.3 รมยาที่จดุ ZhouJian (EX-UE 1) ทั้งสองขาง โดยรมยาเปนวงรอบจุดทั้งสองขางนาน 20 – 30
นาที วิธีนปี้ รากฏอยูในหนังสือ “รมยาในกรณีฉุกเฉิน” (Moxibustion for Emergency) ซึ่งบันทึกไววา “ซุน
ซือเหมีย่ ว Sun SiMiao กลาววา การอักเสบของลําไสรักษาดวยการรมยาแบบรวดเร็วทีจ่ ุด ZhouJian(EX-
UE 1) โดยใชโกฐขนาดเทาเมล็ดถั่วเขียว จํานวน 100 กอนเพื่อใหเกิดการถายเปนเลือดและหนอง”
บันทึกเพิ่มเติม : ภาวะไสติ่งอักเสบเปนภาวะที่เกิดจากความรอนแกรงจากภายในทําไมจึงใชการรม
ยารักษาได ในมุมมองของผูแตงตํารามองวาไสติ่งอักเสบสาเหตุหลักคือภาวะการไหลเวียนที่ติดขัดของ
เลือดที่สะสมกันนาน การรักษาคือการขจัดกอนที่ติดขัดดวยวิธีการอุนและกระตุน การไหลเวียนของเลือด
เพื่อลดการคั่ง การรมยากอใหเกิดความอุนที่สามารถขจัดการคั่งติดขัดได และเสริมการไหลเวียนของเลือด
และชี่ เพิ่มความแข็งแรงของเวยชีเ่ พื่อตอตานเสียชี่
6. การเจาะปลอยเลือดและการครอบกระปุก
จุดทีใ่ ชมี 3 กลุมจุดคือ 1- DaZhui(CV 14) และ PiShu(BL 20), 2- ShenZhu (GV 12) และ
DaChangShu(BL 25), 3- GuanYuan(CV 4) QiHai(CV 6) TianShu(ST 25) และ Ah-Shi point โดยใน
Page 172

แตละครั้งของการรักษาใหใชครั้งละหนึ่งกลุม จุดและวันหนึ่งใหทําการรักษา 1 – 3 ครั้ง เริ่มจากใชเข็ม


สามเหลี่ยมปกทีละจุดนาน 3 วินาทีเพื่อปลอยเลือดและครอบกระปุกตอใหเลือดออกนาน 10 นาทีตอจุด
7. การฝงเข็มใบหู
จุดที่ใช : จุดกดเจ็บทีต่ ําแหนงลําไสใหญหรือลําไสเล็กบนใบหูและจุด LanWei (EX-LE 7) ปกเข็ม
และกระตุนแรงแบบระบายทีจ่ ุดทั้งสองหลังจากไดชี่แลวคาเข็มไว 1 – 2 ชั่วโมง ทําการรักษาวันละ 1 – 4
ครั้ง โดยทั่วไปเมื่อกระตุน เข็มแลวอาการปวดที่ทองนอยดานขวาจะหายไปหรือลดลงอยางมากแตตองใช
เวลาในการรักษา 2 – 3 วันตอเนื่องเพื่อใหอาการปวดทองเมื่อกดและปวดเมื่อปลอยหายไป [กรณีศกึ ษา
ผูปวยไสติ่งอักเสบจํานาน 25 รายรักษาดวยวิธีนี้ หายได 21 ราย ดีขึ้นมาก 3 ราย ไมไดผล 1 ราย]

8. การฝงเข็มและกระตุนดวยเครื่องกระตุนไฟฟา
จุดทีใ่ ช LanWei (EX-LE 7) ทั้งสองขาง เสริมดวยจุด TianShu (ST 25) ขางขวาและจุด ZuSanLi
(ST 36) ขางขวา โดยการปกเข็มทีจ่ ุด LanWei (EX-LE 7) ลึก 1 ชุนกระตุนเข็มดวยเทคนิคทีเ่ รียกวา
นกกระจอกจิก (sparrow-pecking) แลวคาเข็มไว กระตุน ตอดวยเครื่องกระตุนไฟฟาทุกจุดแรงเทาที่ผูปวย
ทนได นาน 30 นาที ทําวันละ 3 ครั้งหากอาการไมดีขึ้นใหปกจุดที่เหลือเพิ่มเติม
9. การรักษาดวยลําแสงเลเซอร
จุดทีใ่ ช LanWei (EX-LE 7) ทั้งสองขางและที่ตําแหนง McBurney’s point ใชเครื่องเลเซอร He-Ne
ใชกําลัง 3 – 5 mw ฉายที่ตําแหนง McBurney’s point นาน 10 นาที และทีจ่ ุด LanWei(EX-LE 7) ขางละ 5
นาที โดยมีระยะหาง 30 – 60 ซม.จากผิวหนัง ทําการรักษาวันละ 2 ครั้ง เหมาะสําหรับผูท ี่กลัวการฝงเข็ม
เด็ก และผูที่มีรางกายออนแอ

หมายเหตุ
1. การฝงเข็มและรมยาเหมาะสําหรับภาวะไสติ่งอักเสบชนิดเฉียบพลันที่เปนระยะแรกและอาการไม
รุนแรง และถือเปนการรักษาเสริมและประคับประคองสําหรับภาวะไสติ่งอักเสบชนิดอื่น หากมีแนวโนมวา
ไสติ่งอักเสบรุนแรงและอาจแตกได ควรรักษาดวยการผาตัดตอไป
2. การฝงเข็มและรมยา สามารถเพิ่มฤทธิ์การตานการอักเสบในระดับเซลล
(anti-inflammation) เพิ่มความสามารถในการกําจัดสิ่งแปลกปลอมของเม็ดเลือดขาวได (phagocytosis)
เพิ่มการเคลื่อนไหวของไสติ่ง ลดการหลั่งสารในชองไสติ่ง และเพิ่มการไหลเวียนของเลือดได จึงเปรียบเชนมี
ฤทธิ์ตานการอักเสบนั่นเอง
Page 173

รูปที่ 36 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน

นิ่วในไต
(Renal Colic and Stone : 肾结石)
ปวดจากนิ่วในไตเปนภาวะทีก่ อใหเกิดการบาดเจ็บทั้งในบริเวณทีเ่ ปนนิ่ว เกิดภาวะขาดเลือด และ
กอใหเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปสสาวะตามมา นิ่วคือกอนหินปูนหรือผลึกเกลือแรซึ่งเกิดในระบบ
Page 174

ทางเดินน้ําปสสาวะ ระบบทางเดินน้ําปสสาวะจะประกอบดวยไต และน้ําปสสาวะจากไต จะไหลผาน


หลอดไตเขาสูกระเพาะปสสาวะ หลังจากนั้นผูป วยก็จะขับปสสาวะ ออกมาผานทางทอปสสาวะ สําหรับนิ่ว
ที่เกิดขึน้ ในระบบทางเดินปสสาวะ จะเกิดขึน้ ที่ไตกอน แลวอาจจะหลุดมาติดอยูในหลอดไตหรือหลุดมาอยู
ในกระเพาะปสสาวะ ของนิ่วมี หลายอยาง เชน แคลเซียม ออกซาเลต กรดยูริค

สาเหตุของการเกิดนิ่วในทางเดินปสสาวะ
สาเหตุของการทีท่ ําใหเกิดมีการรวมตัวกันของผลึกของเกลือแรหรือ หินปูนเปน กอนนิ่วยังไมทราบ
แนนอน แตจะมีเหตุบางอยางซึ่งจะชวยสงเสริมทําใหมีนิ่วเกิดขึน้ ไดงาย เชน ภาวะที่มีการคั่งของน้ํา
ปสสาวะอยูในกระเพาะปสสาวะ ในผูปวยชายซึ่งเปนโรคตอมลูก หมากโต ปสสาวะที่คางในกระเพาะ
ปสสาวะก็จะเปนสาเหตุใหเกิดมีนิ่วเกิดขึ้น หรือในผูปวยบางประเภท ซึ่งน้ําปสสาวะมีความเขมขนของ
เกลือแรมาก เชน ดื่มน้ํานอยกวาปกติ หรือรับประทานอาหารบางประเภท ซึ่งมีเกลือแรขับออก มาทางน้ํา
ปสสาวะมาก เชน พวกเครื่องในสัตวหรือพวกผักสด หนอไม เปนตน เหลานี้จะเปนสาเหตุใหเกิดนิ่วใน
ทางเดินปสสาวะได การรับประทานอาหารพวกเครื่องในสัตวมาก หรือ ประเภทเนื้อ พบวามีการขับเกลือแร
ชนิดหนึ่งคือ กรดยูริคแอซิค ออกมาในน้ําปสสาวะมากอาจกอใหเกิดนิ่วได หรือในกลุม ที่รับประทานผักสด
หรือหนอไมมากๆ ก็จะมีโอกาสทําใหเกิดนิ่ว ชนิดออกซาเลตได ฉะนั้นผูปวยที่เคยเปนนิ่วชนิดนี้มากอนก็จะ
มีโอกาสเปนนิ่วชนิดนี้ไดอีกบอย ๆ

จากสถิตทิ ั่ว ๆ ไป พบวานิ่วเปนมากในผูชายมากกวาผูหญิงประมาณ 2 เทา แตที่นาสังเกตก็คือ


เด็กผูช ายในภาคอีสานเปนนิ่วในกระเพาะปสสาวะมาก จากการวิจัยพบวาเด็กขาดธาตุอาหารโดยเฉพาะ
โปรตีนบางชนิด และมักชอบรับประทานผักบางชนิด ซึ่งมีโอกาสทําใหเกิดนิ่วชนิดหนึง่ ในกระเพาะปสสาวะ

อาการและการแสดง
อาการของผูปวยเปนโรคนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะขึ้นอยูกับวา เปนนิ่วที่ตําแหนงใด ถาเปนนิ่วที่
ไตหรือหลอดไต ผูปวยจะมีอาการปวด เอวขางที่มีนิ่ว หรือปสสาวะบอย ขุนหรือมีเลือด สวนผูป วยทีเ่ ปนนิ่ว
ที่กระเพาะปสสาวะมักมีอาการถายปสสาวะลําบาก ปสสาวะบอย หรือปสสาวะไมออกก็ได หากผูปวยมีนิ่ว
ที่ไตทั้ง 2 ขางแลวไต ไมทํางานทั้ง 2 ขาง อาจมีผลทําใหผปู วยมีความเสี่ยงจากไตวาย

การตรวจ
ผูปวยที่สงสัยวาเปนโรคนิ่ว ควรจะมาพบแพทย เพื่อทําการซักประวัติ ตรวจรางกาย และตรวจน้ํา
ปสสาวะ ซึ่งอาจจะพบวามีเม็ดเลือดแดงหรือเม็ดเลือดขาว ในน้ํา ปสสาวะ และอาจตองสงผูป วยไป
เอกซเรยบริเวณไตและกระเพาะปสสาวะ ซึง่ จะบอกไดวาผูปวยมีนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะหรือไม
Page 175

การรักษา
การรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะปจจุบนั มีการรักษาอยู 2 วิธีคือ
1. รักษาโดยไมใชการผาตัด โดยเฉพาะผูปวยที่เปนนิ่วในหลอดไต ที่ขนาดเล็กมากๆ จะหลุดได
เองมาอยูที่กระเพาะปสสาวะ แพทยจะแนะนําใหดื่มน้ํามาก ๆ อยางนอยวันละ 10-15 แกวตอวัน ถามี
อาการปวดก็จะใหยาแกปวด
2. รักษาโดยการผาตัด จะใชวิธีนี้กต็ อเมื่อ นิ่วนัน้ ทําใหเกิดมีการเสียการทํางาน ของไต หรือทําให
ผูปวยปสสาวะไมออก โดยเฉพาะผูปวยที่เปนนิ่วที่กระเพาะปสสาวะ

วิธีปองกัน

สําหรับการปองกันผูปวยทีเ่ ปนนิ่วไมใหเปนใหมนนั้ ไมมีวิธีปองกันที่ไดผลสมบูรณ แตมีวิธีปองกันที่


จะใหเกิดเปนนิ่วใหมไดยากโดยแนะนําผูปวยดังนี้

1.แนะนําใหผูปวยดื่มน้ํามาก ๆ อยางนอยวันละ 10-15 แกว


2. ใหผปู วยรักษาอาการติดเชื้อของระบบทางเดินปสสาวะ ซึ่งจะเปนสาเหตุ ใหเกิดนิ่วไดงาย
3. ผูปวยทีเ่ ปนนิ่วควรจะไดทราบจากแพทยวาเปนนิ่วชนิดใด โดยการเอานิ่วไป ตรวจและรับ
คําแนะนําจากแพทยวาควรหลีกเลีย่ งการรับประทานอาหารประเภทใด ซึง่ จะเปนเหตุทําใหเกิดนิ่วชนิดนัน้
ๆ การกลั้นปสสาวะนานจะทําใหเกิดการอักเสบของกระเพาะปสสาวะ โดยเฉพาะในผูหญิง การกลัน้
ปสสาวะนาน ๆ ประมาณ 6 - 8 ช.ม. ไมทําใหเกิดเปนนิ่วใน กระเพาะปสสาวะ แตการคั่งของน้ําปสสาวะใน
กระเพาะปสสาวะ ในผูปวยที่ปสสาวะไมหมดนั้น ตองใชเวลานานเปนเดือนถึงจะมีนิ่วเกิดขึ้นได

ศัลยแพทยระบบทางเดินปสสาวะ จะตองระวังการเกิดเปนนิ่วใหม โดยรักษาตนเหตุทที่ ําใหเกิดมี


การคั่งของน้ําปสสาวะ เชน ผูปวยที่เปนตอมลูกหมากโต ควรจะตองรักษาเรื่องตอมลูกหมากโต เปนตน

ศาสตรการแพทยแผนจีนพบวา มีสาเหตุจากการรับประทานอาหารที่มีรสจัด หรือรอน หรือมัน


มากเกินไป หรือดื่มสุรามากเกินไป กอใหเกิดความรอนชื้นไหลลงสูไตและกระเพาะปสสาวะ หรือเกิดจาก
สุขอนามัยที่ไมดีของทางเดินปสสาวะกอใหเกิดการสะสมของเชื้อกอโรคทําใหเกิดความรอนชื้นสะสมใน
ระบบทางเดินปสสาวะ หากมีการสะสมของความรอนชื้นเหลานีน้ านจะแปรเปลีย่ นเปนทรายและกอเกิด
กอนนิ่วขึ้นมาไดทั้งในไตและกระเพาะ ปสสาวะ เกิดการขัดขวางการไหลของปสสาวะและหนาที่การขับ
ปสสาวะตามปกติรวมถึงขัดขวางการไหลเวียนของชี่ดวย
อาการจะประกอบดวยการปวดแบบเฉียบพลันเสมือนถูกมีดบาดในบริเวณชวงเอวหรือทองนอย
และมีปสสาวะเปนเลือด อาการปวดอาจอยูน านราว 2 – 3 นาที แลวหายไป ปวดเปน ๆ หาย ๆ หรืออาจ
ปวดนานเปนชั่วโมงหรือกวานัน้ ก็ได มักจะปวดตัง้ แตบริเวณเอวชวงไตราวลงมาทองนอยฝงเดียวกันลงไป
Page 176

จนถึงทอปสสาวะหรืออวัยวะเพศภายนอกได หรือบางรายอาจเลยไปจนถึงตนขาดานในก็ได มีอาการ


คลื่นไสอาเจียนรวมดวยหรืออาจถึงขั้นเปนลมหมดสติได

หลักการรักษา : ขจัดความรอนชื้น บรรเทาอาการปวด และปรับการทํางานของระบบปสสาวะ จุดที่


เลือกใชเปนจุดที่อยูบนสนลมปราณกระเพาะปสสาวะ ไต และมาม
จุดทีเ่ ลือกใช : ปกระบายที่จดุ Ah-Shi point, ShenShu(BL 23), JingMen (GB 25),
ZhiShi(BL 52), YangLingQuan(GB 34), GuanYuan (CV 4),
ZhongJi(CV 3), ShuiQuan(KI 5), JiaoXin(KI 8), YangJiao(GB 35),
KunLun(BL 60), FuJie(SP 14)
อธิบาย :
1. เลือกปกจุดตามตําแหนงของนิ่ว
นิ่วในไตจนถึงทางเดินปสสาวะชวงตน ใหเลือกใชจุด Ah-Shi point, ShenShu (BL 23),
JingMen (GB 25), ZhiShi (BL 52)
นิ่วในทางเดินปสสาวะชวงกลางลงไปเลือกใชจุด YangLingQuan (GB 34)
นิ่วในกระเพาะปสสาวะเลือกใชจดุ GuanYuan (CV 4) ปกโทว ZhongJi (CV 3)

Ah-Shi Point หมายถึงจุดดังตอไปนี้


- จุดกดเจ็บ เปนจุดที่ไดจากการคลําตําแหนงตางๆบริเวณหลังตั้งแตแนวกระดูกสันหลัง
ชวงทรวงอกขอที่ 10 ลงไปจนถึงกระดูกสันหลังชวงเอวขอที่ 1 เมื่อนิ่วอยูใ นไตและสวน
ของทางเดินปสสาวะสวนบน(upper part of ureter)
- จุดตามแนวที่มีอาการปวดราว อาจเริ่มตั้งแตบริเวณชวงเอวลงไปในทองนอย หรือไป
ถึงบริเวณตนขาดานใน ซึ่งหมายถึงนิ่วในทางเดินปสสาวะสวนกลางลงมา สวนนิ่วใน
กระเพาะปสสาวะมักปวดราวไปบริเวณฝเย็บ(perineum)
- จุดที่ตรงกับตําแหนงของนิ่วที่ไดจากการเอกซเรย
การกระตุนเข็ม :
- ตําแหนงที่อยูสงู กวาแนวกระดูกสันหลังสวนเอวขอที่สองขึ้นไป ใหปก เฉียงเขาหา
กระดูกสันหลัง และกระตุน ดวยการหมุนเข็ม
- ตําแหนงตั้งแตแนวกระดูกสันหลังสวนเอวขอที่สองลงมา ใหปกตั้งฉากตรง กระตุน
ดวยการหมุนเข็ม ยกเข็มขึ้นลงได
- จุดกดเจ็บที่บริเวณทองใหปกลงลึกใกลเยื่อหุมชองทอง(peritoneum) กระตุนดวยการ
ยกเข็มขึน้ ลงชาๆ หรือใชวิธีการเกาเข็ม
Page 177

- การปกทีจ่ ุด GuanYuan (CV 4) โทวจุด ZhongJi (CV 3) ใหใชเข็มยาว 3 ชุนปกตั้ง


ฉากลงที่จดุ GuanYuan (CV 4) ลึก 1 - 2 ชุน เมื่อรูสึกไดชแี่ ลวใหกระตุน ดวยการยก
เข็มขึ้นลงสองครั้งใหไดชี่วิ่งลงไปถึงบริเวณอวัยวะสืบพันธุด านนอกหรือบริเวณฝเย็บ
แลวถอนเข็นขึน้ มาใหปลายเข็มถึงตําแหนงชัน้ ใตผิวหนังแลวปกเฉียงลงลึกไปทีจ่ ุด
ZhongJi (CV 3) กระตุนใหไดชี่รวมสองครั้ง
- จุด YangLingQuan (GB 34) และ JingMen (GB 25) กระตุน
เข็มตามปกติ
- ขณะเกิดอาการปวด เมื่อเลือกจุดไดแลวใหกระตุน จุดไปจนอาการปวดทุเลาลงและ
หายไป คาเข็มไวหนึง่ ถึงสองชั่วโมง กระตุนทุก 10 – 20 นาที ฝงเข็มวันละครั้ง หาก
ฝงเข็มในชวงที่ไมมีอาการปวดใหคาเข็มนาน 30 นาที 7 ครั้งเปน 1 การรักษา
2. เลือกปกจุดซี่
จุดหลัก ShuiQuan (KI 5), JiaoXin (KI 8) และ YangJiao (GB 35)
จุดเสริม ShenShu (BL 23), KunLun(BL 60), FuJie(SP 14),
GuanYuan (CV 4) และ Ah-Shi point
การกระตุนเข็ม :
- จุดหลักเปนจุดซี่ทงั้ หมด ShuiQuan(KI 5) เปนจุดซี่ของไต, JiaoXin
(KI 8) เปนจุดซี่ของเสนลมปราณอินเฉียว และ YangJiao (GB 35) เปนจุดซี่ของเสนลมปราณหยางเหวย
ทุกจุดกระตุนแรง สําหรับจุด JiaoXin(KI 8) นั้นเมื่อกระตุน จุดอาจมีความรูสึกเหมือนกระแสไฟวิ่งขึ้นไปที่
ตําแหนงของไตหรือรูสึกอุนที่บริเวณเอวทั้งดานหนาและดานลางและอาจปวดหนวงทองนอยรวมกับ
ปสสาวะบอยมากขึ้น การกระตุนจุดทีเ่ หลือหากรางกายผูป วยแข็งแรงก็สามารถกระตุนแรงได หากออนแอ
ใหกระตุน แรงปานกลาง คาเข็มไว 15 – 30 นาที กระตุน ถีห่ รือหางขึ้นกับอาการของผูปวย ในหนึ่งวันอาจปก
เข็มกระตุน ไดหลายครั้ง
3. เลือกจุดหยวน
เลือกใชจุด TaiXi (KI 3)
ปกจุด TaiXi (KI 3) พรอมกันทั้งสองขาง กระตุนแรงปานกลางจนไดความรูสึกชากระจายลงไปที่
เทา คาเข็มไว 30 – 90 นาที กระตุน เข็มถี่หางดูจากความรูส ึกชาทีเ่ ทาใหกระตุน เมื่อชานอยลงหรือหายไป
หากมีอาการคลื่นไสอาเจียนรวมดวยใหปกกระตุนจุด NeiGuan(PC 6) ทั้งสองขาง

การรักษาอื่น :
1. การรมยา
จุดทีใ่ ช : GuanYuan(CV 4) และ DaDun(LR 1)
Page 178

วิธีการ : เมื่อมีอาการปวดใชแทงโกฐจุฬารมทีจ่ ุดทัง้ สองเพือ่ กระตุนการไหลเวียนในเสนลมปราณ


และลดอาการปวด สามารถรมยาไดวันละหลายครั้งซึ่งวิธกี ารนี้ไดผลดีดังทีป่ รากฏในตํารา Classic of
Fundamentals of Acupuncture and Moxibustion วา “นิ่วในไตรักษาดวยการรมยาที่ GuanYuan(CV 4)
หรือ QiMen(LR 14) หรือ DaDun(LR 1) จํานวน 30 moxa cones”
2. กระตุนจุดดวยเครื่องกระตุนไฟฟา
จุดทีใ่ ช : - นิ่วในไต ใชจดุ Ah-Shi ตรงตําแหนงนิ่วที่ปวด และจุด ShenShu (BL23)
- นิ่วที่สวนบนของ ureter ใชจุด ShenShu (BL 23) และ
PangGuangShu (BL 28) หรือ GuanYuan (CV 4)
- นิ่วที่สวนกลางของ ureter ใชจดุ GuanYuand (CV 4) และ ShenShu
(BL 23) หรือจุด Ah-Shi ที่ตําแหนง 1 ซม. เหนือตําแหนงของนิ่ว แทนจุดShenShu(BL 23)
- นิ่วที่สวนปลายของ ureter ใชจุด GuanYuan (CV 4) และจุด Ah-Shi หรือ
จุด SanYinJiao (SP 6) แทนจุด Ah-Sh
วิธีการ : 30 นาทีกอนการรักษาใหผูปวยดื่มน้ําประมาณ 1 ลิตรหรือมาก เทาที่จะ
ดื่มได แลวจัดผูปวยใหอยูในทานอนหงายหรือคว่ําขึ้นกับจุดทีเ่ ลือก ฝงเข็ม
ใหลึกและใหไดชี่ที่แรงแลวใหกระตุนจุดที่ฝงดวยเครื่องกระตุนไฟฟา โดย
ใหขั้วลบอยูใกลไต ขั้วบวกอยู ใกลกระเพาะปสสาวะ ใชคลื่น dense-
disperse ดวยความแรงใหมากเทาที่ผปู วยจะทนได ใชเวลารวม 30
นาที ฝงเข็มวันละครั้ง ครบ 10 ครั้งนับเปน 1 รอบการรักษา
ในขณะที่ทําการรักษาอยูผูปวยจะมีความรูสึกถึงการไหลลงไปตาม
ทอไต และไมควรมีความผิดปกติอื่นใด ผูปวยสวนใหญจะปสสาวะออก
ทันทีหลัง การรักษาและรูสึกดีขนึ้ อยางมาก ในขณะที่อาจมีนิ่วออกมากับ
ปสสาวะดวย
3. ปกจุดพิเศษ
จุดทีใ่ ช : YaoTongDian(EX-UE 7)
วิธีการ : จุด YaoTongDian(EX-UE 7) ตําแหนงของจุดจะอยูหลังมือมีสองจุดตอขาง อยูระหวาง
กระดูกฝามือที่ 1st – 2nd และ 3th – 4th กึ่งกลางระหวางเสนที่เชื่อมขอตอกระดูกฝามือกับกระดูกนิ้วมือ
และเสนรอยพับของขอมือดานหลัง เลือกจุดขางเดียวกับทีป่ วดหลังใชเข็ม 1 ชุนปกตั้งฉากลึก 0.5 ชุน
กระตุนแบบระบายจนรูสึกไดชี่และอาการปวดลดลง คาเข็มไว 20 นาที หากมีอาการปวดซ้ําใหกระตุนทุก 5
– 10 นาที
4. ปกจุด TaiXi(KI 3)
วิธีการ : ปกเข็มโดยใหผูปวยนอนลง ปกจุดทั้งสองขางใชเข็ม 1 ชุนปกลึก 0.5 ชุน
Page 179

ปลายเข็มชี้ไปที่จดุ KunLun(BL60) กระตุนแรงแบบระบายใหไดความรูสึกแผกระจายไปทั่วเทา คาเข็มไว


30 – 90 นาที
5. ฝงเข็มที่หู
5.1 จุดทีใ่ ช : Kidney, Urinary Bladder, Ureter, SanJiao, Ear-ShenMen,
External Genitalia
5.2 วิธีการ : ใหติดเม็ดหวังปูห ลิวสิงตามจุดและปดพลาสเตอรทับ ใหดื่มน้ํา 250 –
500 ซีซี ทุกครั้งทีจ่ ะกระตุน จุดที่ใบหู ติดไวนา
น 3 วันแลวเปลี่ยนขาง ครบ 10 ครั้งเปน
1 รอบการรักษาและควรออกกําลังกายรวมดวยเพื่อเสริมใหนิ่วออกไดงายขึ้น
6. เจาะปลอยเลือด
6.1 จุดที่ใช ShenShu (BL 23) และ YaoYangGuang (GV 3) เสริมดวย
YinLingQuan(SP 9) และ YangJiao(GB 35)
6.2 วิธีการ : ใชเข็มสามเหลีย่ มปกที่จดุ เพื่อใหเลือดออกปริมาณเล็กนอย อาการ
ปวดก็จะทุเลาลง เนื่องมาจากเมื่อมีการเสียเลือดจะกระตุนใหมีการไหลเวียนของเลือด และลดภาวะ
อักเสบของระบบทางเดินปสสาวะได อาการปวดเกร็งของทอไตจะลดลงและอาการปวดบริเวณเอวจะทุเลา
ลง
7. การรักษาแบบหลายวิธีพรอมกัน
7.1 จุดที่ใช : ShenShu(BL 23) และ JingMen(GB 25) ของขางที่ปวด
7.2 วิธีการ : จัดใหผูปวยนอนตะแคง ใหขางที่ปวดอยูบน ปกจุด ShenShu
(BL 23) และ JingMen (GB 25) แบบระบาย กระตุน ใหไดชี่แลวกระตุน ตอดวยเครื่องกระตุน
ไฟฟาดวยคลื่น continuous ดวยความถี่ 200 ครั้ง/นาที นาน 15นาทีถอดขั้วไฟฟาออก แลวใชเข็ม7 ดาว
เคาะรอบจุดที่ปกเข็มสักครูแลวตามดวยการครอบกระปุกอีกระยะเวลาหนึ่ง ถอน กระปุกแลวเคาะดวยเข็ม
7 ดาวอีกสัก 1 – 2 นาที ทําวันละครั้ง ครบ 10 ครั้งเปน 1 รอบการรักษา โดยทั่วไปนิ่วขนาดเล็กสามารถถูก
ขับออกมาไดตั้งแตการรักษาในครั้งแรก

หมายเหตุ :
1. การรักษาดวยการฝงเข็มไดผลดีในการลดอาการปวดแตหากมีอาการ
ปวดที่รุนแรงมาก โดยทีก่ ารฝงเข็มไมสามารถบรรเทาอาการใหดีขึ้นได ใหพจิ ารณารักษาดวยการแพทย
แผนปจจุบันตอไป
2. หากผูปวยอายุยงั นอย มีอาการแบบฉับพลันและเปนมาไมนาน การดื่ม
น้ํามาก ๆ รวมกับออกกําลังกายอยางหนัก อาจทําใหนิ่วที่คางอยูหลุดออกมาไดงายขึน้
Page 180

3. ในผูทยี่ ังไมเปนโรคนิ่วหรือหลังจากรักษาโรคนิ่วใหหายเปนปกติดีแลว
การดื่มน้ําปริมาณมากเปนประจํา รวมกับหลีกเลีย่ งอาหารที่มีธาตุแคลเซี่ยมจะชวยปองกันไมใหเกิดโรค
นิ่วในระบบทางเดินปสสาวะได
4. สําหรับนิ่วในกรวยไต หากนิ่วอยูสวนลางใหผูปวยนอนTrendelenburg
เพื่อทําการรักษา หากนิ่วอยูดานขางใหผูปวยนอนตะแคง ใหดานที่มีนิ่วอยูบนและใหอยูนิ่งขณะทําการ
รักษา
Page 181

รูปที่ 37 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคนิ่วในไต

ปวดปสสาวะ และปสสาวะผิดปกติ
(Stranguria : 淋症)
ในทางการแพทยปจจุบัน หมายถึงภาวะที่มกี ารปสสาวะออกมาดวยความยาก ลําบาก ออกทีละ
นอย ปวดปสสาวะ ปวดเบง รูสึกปสสาวะไมหมด ปสสาวะแตละหยดเหมือนกับตองบีบเคนอยางแรงจึงจะ
ออกมาได อาการปวดขณะปสสาวะจะกระจายไปทั่วอุง เชิงกรานและในผูชายจะปวดราวไปจนสุดปลาย
องคชาติ
อาการที่ปวดปสสาวะอยางมาก เกิดจากการระคายเคืองเนื้อเยื่อ urothelium (epithelium ที่บุอยู
ในทางเดินปสสาวะ) และมีการหดเกร็งของกลามเนื้อ
ภาวะนี้พบไดบอยในโรคของระบบทางเดินปสสาวะ เชน นิ่วในทางเดินปสสาวะ(โดยเฉพาะเมื่อนิ่ว
เคลื่อนที่ลงมาในกระเพาะปสสาวะและกําลังจะออกมาในทอปสสาวะ) การอักเสบในกระเพาะปสสาวะ
หรือมะเร็งของกระเพาะปสสาวะ
การตรวจและรักษา ขึ้นกับภาวะที่ตรวจพบและโรคที่ผูปวยเปนอยู
ศาสตรการแพทยแผนจีนเรียกการปวดปสสาวะบอย กลัน้ ไมได ออกเปนหยด ๆรวมกับอาการ
ปวดเกร็งในทองนอยและอาการเจ็บแสบในทอปสสาวะขณะปสสาวะวา “ภาวะปวดแสบทอปสสาวะ
ขณะปสสาวะ” สาเหตุจากการสะสมของความรอนชืน้ ในเซีย่ เจียวเปนเหตุใหเกิดการขัดขวางหนาที่ของ
กระเพาะปสสาวะใหเสียไป หรือเกิดจากภาวะมามและไตพรองซึ่งไตมีหนาที่แยกน้ําสวนใสและขุน ออกจาก
กันกอใหเกิดการทํางานผิดปกติไปโดยทั่วไปแบงไดเปน 5 ชนิดคือ จากความรอน(热淋ReLin) จากนิ่วใน
ทางเดินปสสาวะ(ShiLin) จากการปสสาวะเปนเลือด(血淋XueLin) จากความผิดปกติของชี่ (气淋QiLin)
และจากการปสสาวะเปนสีขาวขุนคลายน้ํานม (膏淋GaoLin)

อาการและการแสดง :
1. จากความรอน (热淋) จะมีอาการเจ็บแสบรอนในทอปสสาวะ ปสสาวะ
Page 182

เหลืองเขม ออกนอย
2. จากนิ่วในทางเดินปสสาวะ (ShiLin) เมื่อนิ่วอยูในทอปสสาวะจะมีอาการปวดใน
ทองนอยและเจ็บทอปสสาวะ อาจมีอาการปวดเกร็งรวมดวย อาจเห็นนิ่วปนออกมากับปสสาวะ
3. จากการปสสาวะเปนเลือด(血淋) จะมีอาการปวดปสสาวะบอย กลั้นปสสาวะ
ไมไดและมีเลือดปนออกมากับปสสาวะ
4. จากความผิดปกติของชี่ (气淋) จะมีอาการปสสาวะออนแรง ปสสาวะออกเปน
ชวง ๆ
5. จากการปสสาวะเปนสีขาวคลายน้ํานม (膏淋) จะมีปสสาวะออกเปนสีขาวขุน
คลายน้ํานมรวมกับอาการปวดระคายเคืองในทอปสสาวะ

หลักการรักษา :
ปรับหนาที่ของกระเพาะปสสาวะใหเปนปกติ เสริมหนาที่การขับปสสาวะ และลดอาการปวด
เลือกใชจุดซูมูและจุดบนเสนอินทั้งสามเสนเปนหลัก
จุดที่ใช :
จุดหลัก : PangGuangShu (BL 28), ZhongJi (CV 3),
SanYinJiao (SP 6) และ TaiChong (LR 3)
จุดเสริม :
1. ถารูสึกปสสาวะรอนความรอน เพิ่ม QuChi (LI 11), WaiGuan (TE 5),
HeGu (LI 4)
2. ถามีนิ่วในทางเดินปสสาวะ เพิ่ม WeiYang (BL 39) และ RanGu (KI 2)
3. ถาปสสาวะเปนเลือด เพิ่ม XueHai (SP 10) และ GeShu (BL 17)
4. ถาปสสาวะ ไมมีแรงเพิ่ม ShenShu (BL 23), TaiXi (KI 3) และรมยาที่
QiHai(CV 6)
5. ปสสาวะเปนสีขาวขุนคลายน้ํานม GaoLin เพิ่ม PiShu (BL 20), ShenShu (BL 23),
ZuSanLi(ST 36) และ
รมยาที่ GuanYuan(CV 4)

การรักษาเพิ่มเติม :
1.เลือกจุด BaLiao (BL 31 – BL 34) ในแตละครั้งของการรักษาใหเลือกจุดครั้งละสองคู ปกใหลึก
กระตุนใหไดความรูสึกที่แรง คาเข็มไว 30 นาที
2.เลือกจุดพิเศษ XiaZhiBian ใหผูปวยนอนตะแคง ขาลางเหยียดตรง ขาบนงอทํามุมทีห่ ลังขอพับ
เขาไดประมาน 130 องศา ลากจุดเชื่อมระหวาง anterosuperior iliac spine และ จุดกลางของ greater
Page 183

trochanter ถือเปนดานทีห่ นึ่งของรูปสามเหลี่ยมดานเทาชีไ้ ปกระดูกกระเบ็นเหน็บ จุดนีจ้ ะอยูตรงปลายของ


สามเหลี่ยมนี้ตรงจุดตัดของสองดานที่เหลือของสามเหลี่ยม ใชเข็มยาว 3 – 5 ชุนปกเอียงประมาณ 10
องศาชี้ปลายเข็มไปที่ทองกระตุนจนเกิดความรูสึกแผกระจายไปถึงทองนอย บริเวณอวัยวะสืบพันธุและฝ
เย็บ คาเข็มแค 2 – 3 นาทีและถอนออก
3. เลือกจุด ShenShu (BL 23), ZhuBin (KI 9), FuLiu (KI 7), GuiLai (ST 29), FeiYang (BL 58)
และ ZhongJi (CV 3) ใหปกเข็มกระตุน แรงแบบระบาย วันละครั้ง ครบ 10 ครั้งเปน 1 รอบการรักษา
ใชรักษาภาวะการอักเสบติดเชื้อของทางเดินปสสาวะ
4. เลือกใชกลุมจุดดังนี้
4.1 กลุมที่ 1 GuanYuan(CV 4), ZhongJi(CV 3),
YinLingQuan(SP 9) และ SanYinJiao(SP 6)
4.2 กลุมที่ 2 HuiYin(CV 1) และ ShenShu(BL 23)
การกระตุน : เลือกใชกลุมจุดทั้งสองสลับกันทุกวัน ปกจุดแบบระบายโดย
ไมคาเข็มไว สําหรับจุด HuiYin(CV 1) ใชเข็มยาว 3 – 4 ชุน
ปกตรง ลึก 2 – 3 ชุน กระตุน ใหไดชี่แลวหมุนเข็มและยกเข็ม
ขึ้นลงทําซ้ํา 3 – 5 ครั้งแลวถอนเข็มออก สวนจุดอื่นใหปกและ
กระตุนตามวิธีมาตรฐาน วิธีนี้ใชรักษาภาวะตอมลูกหมาก
อักเสบเรื้อรัง
5. การรมยา เลือกจุด ZhongJi(CV 3) โดยใหผูปวยนอนหงาย รมยาดวยวิธีการ

หมุนวนรอบจุดนาน 40 นาทีทําวันละ 2 ครั้ง หลังใหการรักษาผูปวยจะมีอาการดี ขึ้นมากหรือหายไปได ใช


รักษาโรคของทางเดินปสสาวะ
6. การใชเข็มอุน เลือกจุด ShenShu (BL 23), PangGuangShu (BL 28),
CiLiao (BL32), ZhongJi(CV3), และ GuanYuan(CV4) ปกและกระตุน เข็มใหไดชี่แลวใชโกฐจุฬาติดที่
ปลายเข็มทุกเลม ใชโกฐจุฬาจํานวน 3 – 5 ชิ้นตอเข็มหนึ่งเลมทําวันละครั้ง ครบ 10 ครั้งเปน 1 รอบการ
รักษา ใชเพื่อรักษาการอักเสบเรื้อรังของกระเพาะปสสาวะ(urocystitis) และการอักเสบเรื้อรังของไตและ
กรวยไต(chronic pyelonephritis)
7. รมยาทีจ่ ุด ZhongFeng(LR 4) ใชไดทั้งหาภาวะโดยรมยา 14 กอนโกฐ ที่จุด ZhongFeng(LR
4) ซึ่งอยูบนหลอดเลือดดําเล็ก ๆ ที่ตําแหนง 1 ชุนเฉียงมาดานหนาลงลางจากตาตุมดานใน
8. การรมยาถมเกลือทีจ่ ุด ShenQue(CV 8) ใชเกลือแกงปนแหงถมที่สะดือรมยาดวยโกฐจุฬากอน
ใหญรวม 7 กอนทําวันละครั้งเ มื่อผูปวยมีอาการปสสาวะลําบาก ออกเปนหยดและปวดเวลาปสสาวะ หา
กรมยาทีจ่ ุด SanYinJiao (SP 6) ดวยการรักษาจะไดผลดียิ่งขึ้น
Page 184

9. การฝงเข็มผิวหนัง เลือกจุด GuanYuan (CV 4), QuGu (CV 2), GuiLai (ST 29), ShuiDao
(ST 28), บริเวณขาหนีบ(Groin), QuQuan (LR 8), SanYinJiao (SP 6) และจุด JiaJi (14th – 21st
vertebrae) โดยใชเข็มผิวหนังปกตามจุดตาง ๆ ใหเห็นผิวหนังเปนสีแดง
จะปกทิศทางใดก็ไดไปตามแนวการไหลเวียนของเสนลมปราณ ใชรักษาภาวะตอมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง
10. ฝงเข็มหู เลือกจุด Kidney, Urinary bladder, SanJiao, Urethra, Subcortex,
Endocrine และ ShenMen หากใชเข็มปกติใหเลือกครั้งละ 3 – 5 จุดปก กระตุนแลวคาเข็มไว 20 นาที
หรือหากใชเม็ดหวังปูหลิวสิง ใหใชทุกจุด ทําวันละครั้ง 10 – 15 ครั้งเปน 1 รอบการรักษา เวนระยะหาง 3 –
5 วันตอรอบการ รักษาใหม ใชรักษาภาวะปสสาวะเปนสีขาวขุนคลายน้ํานม (chyluria)
11. ยิงแสงเลเซอรที่จุด HuiYin (CV1) โดยใชสาย optic fiber ขนาด80 micron
ผานเครื่องมือเขาไปที่จุด HuiYin (CV1) จนถึงตอมลูกหมากและฉายดวยแสง He-Ne laser
12. การใชเข็มน้ํา เลือกจุด Auricular, Kidney, Urinary bladder, Subcortex,
ShenMen โดยใชวิตามินบี 1 และวิตามินบี 2 ผสมกัน แลวฉีดจุดละ 0.1 ซีซีวันละครั้งตอขาง และ 8 ครั้ง
เปน 1 รอบการรักษา เวนระยะหาง 3 วันตอรอบการรักษา ใชไดผลดีในการรักษาภาวะปสสาวะมีสีขุนขาว
คลายนม(chyluria)

หมายเหตุ : ภาวะแกรงใหกระตุนแบบระบาย ภาวะพรองใหกระตุนแบบเสริม หากมีการตรวจพบการติด


เชื้อในระบบทางเดินปสสาวะ หรือภาวะตอมลูกหมากอักเสบทั้งเฉียบพลันหรือเรื้อรังและภาวะปสสาวะเปน
สีขาวขุน คลายน้ํ านมให สงตรวจ และรักษาดวยการแพทยแผนปจจุบัน ควบคูกัน ไปดวย โดยรักษาดวย
สมุนไพรหรือยาแผนปจจุบันควบคูกันไป สําหรับอาหารที่รับประทานก็เป นสิ่งที่ควรใหค วามสําคัญดวย
เชนกัน โดยแนะนําใหรับประทานขาว ตมที่มีสวนผสมของเมล็ดถั่วแดง เมล็ดบัว แปง รากบัว แอปเปลและ
ลูกแพร และใหหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
Page 185

รูปที่ 38 แสดงจุดฝงเข็มรักษาโรคปวดปสสาวะและปสสาวะผิดปกติ

ภาวะปวดทองอยางรุนแรง
(Acute Catastrophic Abdominal Pain : 急性腹绞痛)
ภาวะปวดทองอยางรุนแรง เปนแบบเฉียบพลัน หรืออาการปวดที่มีอาการเปนลมหมดสติ ความดัน
โลหิตต่ําหรือปวดผิดปกติอยางมากเปนสิ่งที่ตองรีบประเมินอาการโดยเร็ว ภาวะที่ตองนึกถึงคือ ภาวะการ
อุดตัน การทะลุหรือฉีกขาดของอวัยวะภายใน การแยกตัวหรือฉีกขาดของผนังหลอดเลือดใหญ เชน aortic
aneurysm การบาดเจ็บเปนแผล การติดเชื้อในชองทอง ภาวะกรดจากคีโตน และ ภาวะวิกฤตของตอม อดรี
นอล(adrenal crisis) เปนตน

การวินิจฉัยอาการโรค
Page 186

การซักประวัติ ควรไดขอมูลของ อายุ เวลาทีเ่ กิดการปวด กิจกรรมที่ผปู วยทําอยูขณะเกิดอาการ


ปวด ตําแหนงที่ปวดและลักษณะของการปวด อาการปวดราวไปบริเวณอื่น อาการคลื่นไส อาเจียน เบื่อ
อาหาร การรับรูเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของระบบขับถายและประวัติระดู การตรวจรางกาย ให
ความสําคัญกับอาการโดยรวมทั้งหมดกอน เชนการปวดแบบตัวงอ(จากโรคนิ่วในทอไต) หรือปวดแบบนอน
นิ่งๆ(จากผนังชองทองอักเสบหรืออวัยวะภายในทะลุ) ทาทางของผูปวย เชนเอนตัวมาดานหนา(จากตับ
ออนอักเสบหรือกระเพาะอาหารทะลุเขาชอง lesser sac) มีไขหรืออุณหภูมิรางกายต่ํากวาปกติ หายใจ
หอบเร็ว ภาวะเขียวจากขาดอากาศ เสียงการเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหาร การกดแลวเจ็บที่ทองรวม
การกดแลวปลอยเจ็บ กอนทีท่ องเตนตามชีพจร เสียงผิดปกติตางๆของชองทอง ทองมาน เลือดออกที่ทวาร
หนัก ปวดทีท่ วารหนักหรืออุงเชิงกราน และภาวะเลือดออกงายที่สังเกตพบ การตรวจทางหองปฏิบัติการที่
ไดประโยชนคือ การตรวจเปอรเซ็นตอัดแนนของเม็ดเลือดแดง(อาจปกติไดในภาวะที่มีการเสียเลือดใน
ระยะแรกหรืออาจสูงไดในภาวะขาดน้ํา) การตรวจนับและแยกชนิดเม็ดเลือด การตรวจปริมาณออกซิเจนใน
หลอดเลือดแดง การตรวจสมดุลเกลือแร การตรวจยูเรียในกระแสเลือดและการขับครีเอตินนิ การตรวจ
ปริมาณน้ําตาล การตรวจเอนไซมไลเปซหรืออไมเลซ และการตรวจปสสาวะผานกลองจุลทรรศน ผูปวยเพศ
หญิงในชวงวัยเจริญพันธุ ควรตรวจการตั้งครรภดวย การตรวจภาพรังสีควรไดภาพทั้งทานอนราบและทา
นั่งหรือยืน(หากนั่งหรือยืนไมไดควรเปนทานอนตะแคงขวาขึ้น) เพื่อดูขนาดของลําไสและอากาศที่รั่วออก
จากลําไส การตรวจภาพรังสีเพื่อหาขนาดของหลอดเลือดแดงเอออตา การตรวจภาพรังสีดวยระบบ
ภาพรังสีแกนหมุน (CT Scan) เพื่อดูการทะลุของลําไส การอักเสบ อวัยวะภายในที่ขาดเลือดไปเลีย้ ง การ
ตกเลือดหลังชองทอง ฝอักเสบหรือกอนเนื้อผิดปกติ การเจาะเขาชองทองเพื่อระบายของเหลวหรือลางสวน
อาจตรวจพบภาวะเลือดออกในชองทองหรือภาวะเยื่อบุชองทองอักเสบได การตรวจดวยเครื่องอัลตราซาวน
เพื่อยืนยันภาวะฝอักเสบ ถุงน้ําดีอักเสบหรืออุดตัน ทอไตอุดตัน หรือกอนเลือด และตรวจขนาดของหลอด
เลือดเอออตา

การประเมินอาการ และใหการรักษา
ตองประเมินภาวการณไหลเวียนโลหิตของผูปวยเปนลําดับแรกวา เปนปกติหรือไม หากผิดปกติ
ควรนึกถึงภาวะวิกฤต เชน หลอดเลือดเอออตาของชองทองฉีกขาดก็ไมควรชักชารีบนําสงหองผาตัดในทันที
หากภาวะการไหลเวียนโลหิตของผูปวยเปนปกติดี ใหดูวามีภาวะชองทองแข็งเกร็งหรือไม ซึ่งมักพบไดบอย
ในภาวะการฉีกขาดหรืออุดตันของอวัยวะในชองทอง การยืนยันการวินิจฉัยควรใชการถายภาพรังสีของชอง
ทองและทรวงอก
หากไมมีภาวะชองทองแข็งเกร็ง อาจแบงไดสองกลุมใหญคือ อาการปวดที่ระบุตําแหนงไดชดั เจน
กับอาการปวดที่ไมสามารถระบุตําแหนงไดชัดเจน หากมีอาการปวดที่ไมสามารถระบุตําแหนงไดชดั เจน
ภาวะหลอดเลือดเอออตาของชองทองรั่วฉีกขาดก็อาจนึกถึงได หากตรวจไดควรตรวจดวยภาพรังสีดวย
Page 187

ระบบภาพรังสีแกนหมุน(CT Scan) หรืออาจนึกถึงระยะแรกของโรคไสติ่งอักเสบแบบเฉียบพลัน การอุดตัน


ของอวัยวะกลวงระยะแรก การขาดเลือดของเยื่อแขวนสําไส(mesenteric ischemia) การอักเสบของลําไส
ตับออนอักเสบ และโรคของระบบเมตาโบลิสม
อาการปวดที่ระบุตําแหนงไดชัดเจน เชน อาการปวดบริเวณลิ้นปอาจเกี่ยวกับหัวใจ การอักเสบ
หรือทะลุของหลอดอาหาร แผลในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารและลําไสเล็กสวนตนอักเสบ ปวดจาก
ถุงน้ําดีบบี ตัวหรือถุงน้ําดีอักเสบและตับออนอักเสบ อาการปวดบริเวณชองทองดานขวาบนนอกจากนึก
ถึงโรคที่กลาวมาแลว ก็ยังมีภาวะกรวยไตอักเสบหรือนิ่วในไต ฝในตับ ฝใตกระบังลม หลอดเลือดปอดอุด
ตัน หรือปอดบวมหรือภาวะของระบบกระดูกและกลามเนือ้
นอกจากนี้อาการปวดบริเวณชองทองดานซายบนอาจเปนภาวะมามขาดเลือด หรือฉีกขาด มามโต
และแผลในกระเพาะอาหารหรือลําไสเล็กสวนตน อาการปวดบริเวณชองทองดานขวาลางอาจนึกถึงไสติ่ง
อักเสบ ภาวะถุงยื่นของผนังลําไสชนิดเมคเคิล (Meckel’s diverticulum) โรคลําไสเล็กอักเสบ(Crohn’s
disease) ภาวะถุงยื่นของผนังลําไสอักเสบ(diverticulitis) ตอมของเยื่อแขวนลําไสอักเสบ(mesenteric
adenitis) เลือดออกที่กลามเนื้อของผนังหนาทอง ฝอักเสบของกลามเนื้อบัน้ เอว(psoas muscle) ฝอักเสบ
หรือการบิดขั้วของรังไข การตั้งครรภนอกมดลูก ทอนําไขอักเสบ นิ่วในทอไต การติดเชื้ออักเสบของโรค
งูสวัด อาการปวดบริเวณชองทองดานซายลางอาจนึกถึงภาวะถุงยื่นของผนังลําไสอักเสบ การแตกของกอน
เนื้องอก และภาวะอื่นที่กลาวมาได

การรักษา
ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา แกไขภาวะสมดุลของเกลือแรที่เปนภาวะคุกคามตอชีวิต และ
ประเมินความเรงดวนในการนําสงผูปวยเพื่อการผาตัด ตรวจประเมินอาการซ้ําดวยความระมัดระวังใน
ชวงเวลาทีเ่ หมาะสม (หากเปนไปไดควรเปนผูประเมินคนเดิม)ถือเปนสิ่งสําคัญ การใชยาเพื่อระงับอาการ
ปวดยังไมใชมาตรฐานในการรักษากับผูปวยทุกราย โดย ทั่วไปหากยังไมไดการวินจิ ฉัยที่ยืนยันภาวะโรค
หรืออาการของผูปวยก็จะยังไมใหยาระงับอาการปวด เนื่องจากอาจบดบังอาการและการแสดงออกของโรค
ที่เปนอยู และทําใหการรักษาตองลาชาออกไป อยางไรก็ตามยังไมมีรายงานการใชยาระงับอาการปวดที่บด
บังอาการ แสดงออกของผูปวยอยางชัดเจนมากนัก

เตานมอักเสบเฉียบพลัน
(Acute Mastitis : 急性乳腺炎)
Page 188

เตานมอักเสบเฉียบพลัน เปนการอักเสบทีเ่ กิดจากการติดเชื้อ Staphylococcus aureus หรือ


Streptococcus spp. ที่ทอน้ํานมและเนื้อเยื่อเกีย่ วพัน มักเกิดในครรภแรกหลังคลอดราว 2 - 6 สัปดาห โดย
มักเกิดจากหัวนมมีแผล แลวติดเชื้อลุกลามเกิดการอักเสบเปนหนองในเวลาอันสั้น มักมีอาการปวดมาก
อาการและอาการแสดง
1. เตานมที่อักเสบจะปวด บวม แดงและรอน แข็งเปนไต กดเจ็บ หลังจากนั้นจะกลัดหนอง หนอง
มักจะอยูใ นทอน้ํานมใตหัวนมหรือหลังตอมเตานม
2. เมื่อเกิดหนองแลว เวลาที่กดคลําจะรูสึกไดวามีของเหลวกระเพื่อม
3. ตอมน้ําเหลืองบริเวณรักแร ขางเดียวกันบวมกดเจ็บ
4. มีไขตัวรอน กลัวหนาว ออนเพลีย เบื่ออาหาร เม็ดเลือดขาวมีจํานวนมากขึ้น
5. อัลตราซาวดพบลักษณะเปนหนอง หรือเจาะดูดไดหนอง
ระยะของโรค
1. ระยะแรก รูสึกปวดคัดเตานม ปวดมากในขณะใหนมบุตร น้ํานมออกไมสะดวก คลําเตานม
อาจพบลักษณะกอนแข็ง ผิวของเตานมอาจมีสีแดงขึน้ อาจมีไข ไมสบายตัว เบื่ออาหาร หงุดหงิด
2. ระยะกลัดหนอง กอนแข็งในเตานมมีขนาดโตขึ้น ตอมน้ําเหลืองโต ไขสูง หนาวสั่น ออนเพลีย
ทองผูก เม็ดเลือดขาวสูงขึ้น เมื่อเกิดหนองจะปวดตุบ ๆ ผิวหนังแดงแผกวางออกและบางใส เมื่อกดตรง
กลางของกอนแข็ง จะรูสกึ นิ่ม ๆ หากหนองอยูลกึ จะมองไมเห็นผิวแดง และกดคลํารูสกึ วามีหนองไมชัดเจน
บางรายอาจเกิดหลายตําแหนงก็ได
3. ระยะมีหนองไหล หนองที่อยูใ นบริเวณตื้นจะปริออกทางผิวหนังได ทําใหมี
น้ํานมไหลออกตรงบริเวณทีป่ ริแตก แตถาอยูลึกหนองอาจแตกทะลุไปชั้นไขมัน กลามเนื้อทรวงอก และ
หากเปนนานจะทําใหเชื้อเขาสูกระแสเลือด
การวิเคราะหแยกกลุมอาการโรค
1. ชี่ติดขัดมีความรอน (ระยะแรก) บริเวณเตานมบวมแดง คัดเตานม กดพบกอนแข็ง กระหาย
น้ํา เบื่ออาหาร ลิ้น ฝาเหลือง, ชีพจร เร็ว (ShuMai)
2. เกิดเปนพิษรอน (ระยะกลัดหนอง) ขนาดของกอนแข็งจะใหญขึ้น ผิวหนังบวมแดงชัดเจน กด
คลําจะรูสึกวามีหนองและมีไขสูง กระหายน้ํา ปสสาวะเขม ทองผูก ลิ้น แดง ฝาเหลืองเหนียว ชีพจร ใหญ
และเร็ว (HongShuMai)
3. เจิ้งชี่ออนแอเสียชี่ตกคาง (ระยะมีหนองไหล) ภายในสิบวัน หากหนองปริแตกออกที่ผิว หรือ
เจาะดูดหนองออก ไขจะลด ทุเลาปวด แผลอาจปดไดเอง หากมีหนองหลายแหงหนองอาจออกไมหมด ทํา
ใหยังปวดและมีไข ออนเพลีย หนาซีด เบื่ออาหาร ลิ้น ซีด ฝาบาง ชีพจร จมออน (RuoMai)
Page 189

การรักษา
การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
หลักการรักษา : ระยะแรก ระบายรอนกระจายชี่,
ระยะกลัดหนอง ใชการขับรอนขจัดพิษ,
ระยะมีหนองไหล บํารุงเลือดลมใชการรมยาได
จุดหลัก : TanZhong (CV 17), RuGen (ST 18), QiMen (LR 14), JianJing (GB 21)
จุดเสริม
- ชี่ติดขัด เพิ่มจุด HeGu (LI 4), TaiChong (LR 3), QuChi (LI 11)
- มีความรอน มีไข เพิ่มจุด NeiTing (ST 44), DaLing (PC 7)
- เจิง้ ชี่ออนแอ เพิ่มจุด WeiShu (BL 21), ZuSanLi (ST 36), SanYinJiao (SP 6)
- คัดเตานมมาก เพิ่มจุด ShaoZe (SI 1), JueYinShu (BL 14)
- ไขสูงกลัวหนาว เพิ่มจุด WaiGuan (TE 5), HeGu (LI 4), QuChi (LI 11)
- อารมณหงุดหงิด เพิม่ จุด XingJian (LR 2), NeiGuan (PC 6)
การรักษาดวยวิธีอื่น
1. การปลอยเลือด ใหสังเกตหารอยจุดสีที่บริเวณสะบักดานใน ซึ่งกดแลวสีไมจางหายไป โดยใช
เข็มสามเหลี่ยมเจาะใหเลือดออกเล็กนอย หากหาไมพบ ใหเลือกตําแหนงสองนิ้วทาบเหนือจุด
GaoHuangShu (BL 43) แทน
2. การครอบกระปุก มักใชในระยะแรก ใชจุด DaZhui (GV 14), JiaJi (EX-B 2) ระดับ T4,
RuGen (ST 18) โดยใชเข็มสามเหลี่ยมเจาะแลวครอบกระปุก วันละครั้ง
3. การฝงเข็มหู ใชจุด Chest, Endocrine, Adrenal gland, Thoracic vertebrae เลือกใชครั้งละ
2 จุด กระตุน 2 - 3 นาที แลวคาเข็ม 20-30 นาที วันละครั้ง
การปองกัน
1. หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลที่หัวนม ควรทําความสะอาดดวยน้ําอุน อยาใหลกู ดูดนมจนหลับไป
หลังการใหนมบุตรตองทําความสะอาดทุกครั้ง
2. หากเกิดแผลตองระวังการติดเชื้อ
3. ปองกันเตานมคัดโดยการนวดคลึง และประคบดวยผาอุน หรือใชปมนมดูดน้ํานมออก
4. หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ดรอน เพื่อปองกันความรอนสะสม
5. ทําจิตใจใหเบิกบาน
Page 190

รูปที่ 39 แสดงจุดฝงเข็มรักษาอาการเตานมอักเสบเฉียบพลัน
Page 191

ปวดประจําเดือน
(Dysmenorrhea : 痛经)
ปวดประจําเดือนเปนอาการปวดทองนอยชวงกอน ในระหวางหรือหลังมีรอบเดือน ซึ่งจะรบกวน
การทํางานและการดําเนินชีวิตปกติประจําวัน อาจเปนแบบไมทราบสาเหตุหรือมีความผิดปกติจากการ
ทํางานของมดลูก โดยตรวจไมพบการเปลีย่ นแปลงของอวัยวะสืบพันธุ (แบบปฐมภูมิ) หรือทราบสาเหตุ
เนื่องจากมีพยาธิสภาพเปลี่ยนแปลงในอวัยวะสืบพันธุ (แบบทุติยภูม)ิ การรักษาดวยการฝงเข็มจะไดผลดี
ในกรณีปวดประจําเดือนชนิดปฐมภูมิ

อาการและอาการแสดง
- มีประวัติปวดทองนอยซึ่งสัมพันธกบั คาบเวลาที่จะมีรอบเดือนคอนขางชัดเจน
หรืออาจเคยมีประวัติของปริมาณเลือดประจําเดือนที่ผิดปกติ มีบุตรยาก ใชการคุมกําเนิดดวยการใสหวง
และเคยมีประวัติอุงเชิงกรานอักเสบ
- มักจะปวดทองนอยกอนประจําเดือนมา 1 - 2 วัน โดยจะปวดมากที่สุดในวันแรก
ที่มีประจําเดือน อาการปวด มีลักษณะปวดเกร็ง เปนพัก ๆ หรือทองแนนอืดรวมกับหนวงทอง ในรายที่
รุนแรงจะปวดราวไปทีเ่ อวหรือสะโพก ทวารหนัก ชองคลอด ขาหนีบ และอาจมีอาการหนาซีดขาว เหงื่อออก
ตัวเย็น มือเทาเย็น จนเปนลมหมดสติได อยางไรก็ตามอาการปวดนี้จะไมมีลกั ษณะของกลามเนื้อทองเกร็ง
แข็ง หรือปวดเมื่อปลอยมือจากการกด บางรายจะปวดเมือ่ ใกลหมดหรือหลังหมดประจําเดือนแลว 1 - 2 วัน

การตรวจพิเศษทางนรีเวชกรรมและการตรวจภาพรังสี
ตรวจไมพบลักษณะของอุงเชิงกรานอักเสบ กอนเนื้อหรือตุมไต หรือเยื่อบุมดลูกเจริญผิดตําแหนง
รวมถึงการตรวจดวยอุปกรณพเิ ศษ เชน อัลตราซาวด การตรวจดวยกลองเจาะผานชองทอง และการ
ถายภาพรังสีทอรังไข การตรวจโดยสองกลองเขาในโพรงมดลูก เปนตน
นอกจากนี้ควรวินจิ ฉัยแยกโรคที่มีอาการคลายคลึงกันออกดวย เชน ไสติ่งอักเสบ ลําไสอักเสบ
กระเพาะปสสาวะอักเสบ ถุงน้ําในรังไข เปนตน
การวิเคราะหแยกกลุมอาการโรค
1. ความเย็นชื้นตกคาง
ปวดเย็นทองนอยกอน หรือระหวางมีรอบเดือน ปฏิเสธการกด ชอบอุน ประจําเดือนมานอยไม
คลอง สีมวงหรือดําเปนลิ่ม รวมกับมีตัวเย็น แขนขาเย็น ปวดขอ ลิ้น ฝาขาวเหนียว ชีพจร จม หรือจม
ตึงแนน (ChenMai or ChenJinMai)

2. ชี่ติดขัดและเลือดคั่ง
Page 192

ปวดแนนอึดอัดทองนอยกอนหรือระหวางมีรอบเดือน ประจําเดือนมานอยไมคลอง สีมวงหรือดําเปน


ลิ่ม รวมกับแนนทรวงอก ชายโครงและเตานม ลิ้น สีมว งหรือมีจ้ําเลือด
ชีพจร จม หรือจมฝด (ChenMai or ChenSeMai )

3. ชี่และเลือดพรอง
ปวดโลง ๆ บริเวณทองนอยระหวางหรือหลังมีรอบเดือน กดทองแลวรูสึกดีขึ้น ประจํา เดือนสีแดง
จาง รวมกับหนาซีดขาว ออนเพลียไมมีแรง วิงเวียนศีรษะ ลิ้น ซีด ชีพจร เล็กและออนแรง (XiRuoMai)

4. ตับและไตพรองหรือออนแอ
ปวดโลง ๆ บริเวณทองนอยหลังมีรอบเดือน ประจําเดือนไมสม่ําเสมอ อาจมากหรือนอย สีแดงจาง
ไมเปนลิ่ม รวมกับมีอาการปวดเมื่อยออนลาบริเวณหลังและเขา นอนไมหลับ วิงเวียนและมีเสียงดังในหู
ลิ้นฝานอย ชีพจรเล็ก (XiMai)

การรักษา
- การฝงเข็มระบบเสนลมปราณ
จุดหลัก : ZhongJi (CV 3), CiLiao (BL 32), DiJi (SP 8),
SanYinJiao (SP 6)
จุดเสริม :
- ความเย็นชื้นตกคาง เพิ่มจุด GuanYuan (CV 4), ShuiDao (ST 28)
รวมกับการรมยา
- ชี่ติดขัดและเลือดคั่ง เพิม่ จุด TaiChong (LR 3), XueHai (SP 10)
- ชี่และเลือดพรอง เพิ่มจุด PiShu (BL 20), ZuSanLi (ST 36)
- ตับและไตพรองหรือออนแอ เพิ่มจุด GanShu (BL 18),
ShenShu (BL 23), TaiXi (KI 3)
- ถามีอาการคลื่นไส อาเจียน เพิ่มจุด NeiGuan (PC 6),
ZhongWan (CV 12)
- ถามีอาการทองเสีย เพิ่มจุด TianShu (ST 25), ShangJuXu (ST 37)
วิธีการ
การรักษาควรเริ่ม 3 – 5 วันกอนมีรอบเดือน
- CiLiao (BL 32) ปกลึก 1.5 ชุน เฉียงไปยังกระดูกสันหลัง ถาเปนกลุมแกรงใหกระตุนระบาย
ถาเปนกลุมพรองใหกระตุน บํารุง กระตุนเข็มซ้ําจนความรูสึกสงผานไปยังทองนอย สําหรับอาการปวด
รุนแรง ใชเครื่องกระตุน เข็มไฟฟา
Page 193

- ZhongJi (CV 3) กอนปกเข็มตองปสสาวะออกใหหมดกอน ปกเข็มเฉียงลงไปทางหัวหนาว


จนเกิดเตอชี่ไปยังบริเวณทองนอย
- DiJi (SP 8) ปกเข็มแบบระบาย
- SanYinJiao (SP 6) ปกเฉียงขึน้ จนมีความรูสึกของเข็มสงผานไปยังดานบน
กรณีความเย็นชื้นตกคาง ใชเข็มอุน
ชี่ติดขัดและเลือดคั่ง ปกเข็มระบาย
ชี่และเลือดพรอง เชนเดียวกับตับไตพรอง ปกเข็มเสริมบํารุงหรือรวมกับรมยา

การรักษาดวยวิธีอื่น ๆ
1. การฝงเข็มหู
จุดที่ใช : Internal genitalia, Subcortex, Sympathetic nerve, Endocrine, Liver, Kidney
วิธีการ : เลือกครั้งละ 2 – 4 จุด ฝงเข็มกระตุน ปานกลางถึงหนัก หรือใชเมล็ดหวังปูหลิวสิง กดที่หู
สลับทั้งสองขาง 3 – 4 ครั้งตอวัน การรักษาควรเริ่มกอนมีรอบเดือน 3 วัน เพื่อปองกันการเกิดอาการซ้ํา
2. การรมยา
เหมาะในกลุม ความเย็นอุดกัน้ (ทัง้ เย็นแกรงและเย็นพรอง) ซึ่งใชเปนเข็มอุนที่บริเวณทองนอยหรือ
จุดซูดานหลัง หรือใชกลองรมยาก็สะดวกดีในดานขี้เถาไมหลน จํานวนโกฐขึน้ กับสภาพอาการทีเ่ ปนวามาก
หรือนอย โดยทั่วไปอยางนอยตองนาน 30 นาที
3. การใชเข็มดอกเหมยเคาะ
ใหเคาะบริเวณกระเบนเหน็บในแนวเจีย๋ จี่และเคาะตามจุดฝงเข็มที่เกี่ยวของบริเวณทองนอย โดย
ใชแรงเคาะระดับกลางๆคือแคผิวหนังแดงๆก็พอ
4. การใชเข็มน้ํา
ในสาธารณรัฐประชาชนจีนมีการใชยาฉีด เชน ตันเซิน ตังกุย หวงฉี วิตามินบี12 ที่จุด
GanShu (BL 18), ShenShu (BL 23), PiShu (BL 20), GuanYuan (CV 4), GuiLai (ST 29), ZuSanLi
(ST 36), SanYinJiao (SP 6) โดยใชครั้งละ 2 - 3 จุด จุดละ 1 – 2 มล.

การใชจุดตามคัมภีรโบราณ
1. คัมภีรเจินจิวเจี่ยอี่จิง ( ปวดประจําเดือนใหใชจดุ ShuiDao (ST 28) ในกรณ
ปวดแนนอืด ทองนอยปวดราวไปชองคลอด ปวดราวไปบั้นเอว มีกอนในมดลูก เย็นที่บริเวณชองคลอด
ปวดราวไปที่หนาขา
2. คัมภีรเจินจิวตาเฉิง ขณะมีรอบเดือนปวดทองนอย เวียนศีรษะ ใหใชจดุ ZhaoHai (KI 6),
YangJiao (GB 35), NeiTing (ST 44), HeGu ((LI 4)
3. คัมภีรเจินจิวเฟงเหยียน ขณะมีรอบเดือนเวียนศีรษะ ปวดทองนอย ใชจุด HeGu (LI 4),
Page 194

YangJiao (GB 35), NeiTing (ST 44) หากมีคาบเวลาผิดปกติรวมกับปวดทองบริเวณสะดือใช ShenShu


(BL 23), GuanYuan (CV 4), SanYinJiao (SP 6)

ตัวอยางผูป วย
ผูปวยหญิงอายุ 32 ป ปวดประจําเดือน 3-4 ป กอนประจําเดือนมาหนึ่งวันมีอาการ
ปวดทองนอยแบบเกร็ง ตองทานยาจึงจะบรรเทา วางถุงน้ํารอนพอบรรเทา มีอาการรวมคือ คัดหนาอก
อารมณหงุดหงิด บางครั้งทองเสีย ประจําเดือนสีแดงคล้ํา มีลิ่มเลือดเล็กบางใหญบาง ปริมาณปกติ 4-5 วัน
หมด ผูปวยทํางานเปนเลขานุการ งานจะมาก รับประทานอาหารไมเปนเวลา มักดื่มน้ําเย็น กาแฟเย็นเปน
ประจํา อารมณคอนขางเครียด ใบหนามีฝาเล็กนอย บางครั้งเจ็บเสียดชายโครง มักถอนหายใจ ลิ้นแดงอม
คล้ํามีรอยจ้ํา ฝาบาง ขอบลิ้นมีรอยฟน ชีพจร ตึงเล็กเร็ว
การแยกกลุมอาการ พบวาเปนกลุมอาการชี่ตับติดขัด และมีความเย็นอุดกั้น การ
รักษาโดยกระจายชีต่ ับสลายการคั่ง อุนทะลวงเสนลมปราณบริเวณมดลูกแกปวดประจํา เดือน
จุดที่ใช GeShu (BL 17), GanShu (BL 18), ShenShu (BL 23), GuanYuan (CV4), ZhongJi
(CV 3), SanYinJiao (SP 6), YangLingQuan (GB 34)
จุดเสริม คัดหนาอกเพิ่ม NeiGuan (PC 6), TanZhong (CV 17) ; ทองเดินเพิ่ม TianShu (ST
25)
ขอสังเกตหรือแนะนํา
ขอสังเกต
GuanYuan (CV 4) ทําเข็มอุนจํานวน 3 - 5 จวง หรือใชกลองรมยา หากผูป วยรูสึกวามีการ
ไหลเวียนของชี่จะเกิดประสิทธิผลยิง่ ขึ้น จุดอืน่ ผิงปูผิงเซีย่
การครอบกระปุก
ครอบตําแหนง DaBao (SP 21), QiMen (LR 14), ZhongFu (LU 1) และอาซื่อ
คําแนะนํา
1. ควรปรับอารมณจิตใจใหผอนคลาย โดยเฉพาะใกลมีประจําเดือน
2. งดเครื่องดื่มเย็น น้ําแข็ง โดยเฉพาะกอนมีรอบเดือน 5 - 7 วัน รวมทั้งหลีกเลีย่ งบริเวณที่มี
อากาศเย็นมาก เชน ในทีท่ ํางาน หองนอน การวายน้ํา ในระยะเวลาใกลมีรอบเดือน
การระงับอาการปวดประจําเดือนเบื้องตน
1. ใชจุด SanYinJiao (SP 6) กระตุนระบาย หากไมบรรเทาเพิ่มจุด DiJi (SP 8) หรือจะเลือกจุด
CiLiao (BL 32)
2. ในสตรีทยี่ ังไมเคยตั้งครรภ อาการปวดประจําเดือนมักเกิดจากความเย็น ใชการรมยาที่จุด
SanYinJiao (SP 6) และฝงเข็มจุด HeGu (LI 4)
3.ในกรณีปวดทองอันมีสาเหตุจากเยื่อบุมดลูกเจริญผิดตําแหนงใหรมยาจุด SanJiaoJiu (EX-CA
Page 195

3) และฝงเข็มจุด SanYinJiao หรือรมยาจุด BaLiao (BL 31 – BL 34), YaoQi (EX-B 9) หรือฝงเข็มจุด


ZhongJi (CV 3), GuanYuan (CV 4), QiHai (CV 6), SanYinJiao (SP 6), LiGou (LR 5), DiJi (SP 8)

รูปที่ 40 แสดงจุดฝงเข็มรักษาอาการปวดประจําเดือน
Page 196

การบาดเจ็บจากการเลนกีฬา
(Sport Injury : 运动性损伤)
การบาดเจ็บจากการเลนกีฬา ในที่นกี้ ลาวถึง การไดรับบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ ไดแก กลามเนื้อ
พังผืด เอ็นกลามเนื้อ เอ็นกระดูก และเยื่อหุมขอ (Soft tissue injury : Sprain or Strain) โดยไมมีกระดูก
แตกหักเขามาเกีย่ วของ สวนใหญเกิดบริเวณคอ ไหล ขอศอก ขอมือ แขนขา สะโพก หัวเขา ขอเทา ขึน้ กับ
ประเภทของกีฬา อาจเปนแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรังก็ได

อาการและอาการแสดง
มีประวัติไดรับการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา เชน หกลม ไดรับแรงกระแทก หรือบิดตัวผิดทา แลว
มีอาการเจ็บปวด บวมหรือฟกช้ําเฉพาะที่ อาจมีการจํากัดการเคลื่อนไหว หรือเคลื่อนไหวรางกายสวนนั้น
ไมได
กรณีที่มีอาการบวม ฟกช้ําเกิดขึน้ ทันที และเคลื่อนไหวขอหรือรางกายสวนนั้นไมได อาจเกิดจาก
กลามเนื้อ เสนเอ็น หลอดเลือดฉีกขาด หรือมีเลือดออกในขอ และ/หรือมีการผิดรูปของรางกายสวนนัน้ หรือ
มีเหตุใหสงสัยวามีกระดูกหัก การเคลื่อนยายผูป วยจะตองกระทําอยางระมัดระวังและถูกตอง รวมทั้งดาม
บริเวณที่สงสัยวามีกระดูกหักไมใหเคลื่อนไหว จนกวาจะไดรับการวินิจฉัยที่ถกู ตอง

การตรวจภาพรังสี
ภาพรังสีชวยในการวินิจฉัย โดยอาจพบหรือไมพบรองรอยกระดูกหักจากการไดรับบาดเจ็บก็ได

การรักษา
กรณีไมมีกระดูกหัก หลอดเลือดใหญฉกี ขาด หรือเลือดออกในขอรวมดวย ถามี
อาการเฉียบพลันหลังไดรับบาดเจ็บ ปวดเฉพาะที่ มีอาการบวมเล็กนอย ใชประคบเย็นหรือยาพนเฉพาะที่
ถามีอาการมาก รักษาดวยยา ประคบเย็นหรือรอนตามระยะเวลาที่ไดรับบาดเจ็บ อาจรวมกับการดามสวน
ที่ไดรับบาดเจ็บไวชั่วคราวประมาณ 1 – 3 สัปดาห เชน การใชผายืดพัน การใสเฝอกออน ระหวางนี้ควร
พิจารณาการทํากายภาพบําบัดและกายบริหารเพื่อปองกันและฟนฟูกลามเนื้อและการเคลื่อนไหวของขอ

การวินิจฉัยและรักษาดวยศาสตรการแพทยแผนจีน
การบาดเจ็บจากการเลนกีฬา จัดอยูในกลุมอาการบาดเจ็บเสนเอ็น (ShangJin) มีสาเหตุจากการ
ไดรับบาดเจ็บ เชน จากการหกลม การกระแทก การเคลื่อนไหวผิดทา หรือตกจากที่สูง ทําใหชี่ติดขัดและมี
Page 197

เลือดคั่งเฉพาะที่ เกิดอาการปวดและบวมเฉพาะที่ การเคลื่อนไหวสวนของรางกายหรือขอลําบาก เนื่องจาก


เจ็บปวดหรือมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อรอบบริเวณดังกลาว

อาการและอาการแสดง
มีอาการเจ็บปวด บวม เฉพาะที่หลังไดรับบาดเจ็บ ลิ้น ปกติ ชีพจร ปกติ หรือตึง (XianMai)

หลักการรักษา
สลายเลือดคั่ง ทะลวงเสนลมปราณ กระตุน การไหลเวียนของชี่และเลือด ระงับปวด

การรักษา
อาการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา อาจเกิดขึ้นไดขณะฝกซอมหรือลงแขงขัน และตําแหนงของการ
บาดเจ็บมักขึ้นกับประเภทกีฬานั้น ๆ เชน ฮ็อกกี้ มักพบอาการบาดเจ็บบริเวณขอเทาไดบอย กอลฟมักมี
ปญหาบริเวณคอและปวดหลังไดบอย
จุดที่ใชรักษา
- แบบที่ 1 : ใชจดุ ใกล – จุดไกล ระงับปวด รวมกับ ปามายเจียวฮุย , ปาฮุยเซีย่ , จุด
ซี และจุด AShi ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 จุดฝงเข็ม การบาดเจ็บจากการเลนกีฬา

บริเวณทีป่ วด จุดใกล จุดไกล หมายเหตุ


Musculoskeleton YangLingQuan (GB34) HouXi (SI 3) If pain above
diaphragm
YangLingQuan (GB34) Kunlun (BL60) If pain below
diaphragm
Bone , joint , cartilage DaZhu (BL11) XuanZhong (GB39)
Face XiaGuan (ST7) LieQue (LU 7)
QuanLiao (SI18) TaiChong (LR 3)
Neck FengChi (GB20) HouXi (SI 3)
Shoulder JianYu (LI15) TiaoKou (ST 38)
JianLiao (SJ14) YangLao (SI 6)
Thorax TanZhong (CV 17) WaiGuan (SJ 5)
Abdomen ZhongWan (CV 12) NeiTing (ST 44)
TianShu (ST 25) XianGu (ST 43)
Page 198

Location of pain Local acupoint Distal acupoint Notes

Back DaChangShu ( BL 25 ) Loo ’s point Between GB 41 & BL 62


HuanTiao ( GB 30 )
Sciatica HuanTiao ( GB 30 ) KunLun ( BL 60 )
ZiBian ( BL 54 )
Knee DuBi ( ST 35 ) NeiTing ( ST 44 )
NeiHuaiJian ( EX–LE 8)

Location of pain Local acupoint Distal acupoint Notes

8 confluent
Heart , chest , stomach NeiGuan ( PC 6 ) , GongSun ( SP 4 )
Neck , shoulder , back & inner cathus WaiGuan ( SJ 5 ) , ZuLinQi ( GB 41 )
Neck , nape , ear , shoulder , inner canthus ShenMai ( BL 62 ) , HouXi ( SI 3 )
Knee DuBi ( ST 35 ) NeiTing ( ST 44 )
NeiHuaiJian ( EX – LE 8 )
8 influent
Zang organs ( Chest , liver , spleen , kidney ) ZhangMen ( LR 13 )
Fu organs ( Stomach , intestines ) ZhongWan ( RN 12 )
Qi ( Fullness feeling in chest , dyspnea , asthma ) DanZhong ( RN 17 )
Blood ( Blood stagnation , boils , heart problem ) GeShu ( BL 17 )
Tendons ( Joint pain , muscular spasm , paralysis ) YangLingQuan ( GB 34 )
Vessels & pulse ( Cold limbs , heart failure , no pulse ) TaiYuan ( LU 9 )
Bone ( Back pain , emaciation with weakness ) DaZhu ( BL 11 )
Marrow ( Bone pain , aversion to cold , tiredness ) XuanZhong ( GB 39 )
Xi ( Cleft ) point
Hand LU meridian KongZui ( LU 6 ) LI meridian WenLiu ( LI 7 )
PC meridian XiMen ( PC 4 ) SJ meridian HuiZong ( SJ 7 )
HT meridian YinXi ( HT 6 ) SI meridian Yanglao ( SI 6 )
Leg SP meridian DiJi ( SP 8 ) ST meridian LiangQiu ( ST 34 )
LR meridian ZhongDu ( LR 6 ) GB meridian WaiQiu ( GB 36 )
KI meridian ShuiQuan ( KI 5 ) BL meridian JinMen (BL 63 )
Yangqiao mai FuYang ( BL 59 ) Yinqiao mai JiaoXin ( KI 8 )
Page 199

Yangwei mai YangJiao ( GB 35 ) Yinwei mai ZhuBin ( KI 9 )

ขอแนะนํา
1. ใหปกจุดไกลกอนเสมอในกรณีเฉียบพลัน โดยเฉพาะในรายที่ไมแนใจวามีกระดูก
หักรวมดวยหรือไม
2.กรณีเปนเรื้อรัง (Chronic sprain) ใหดูรายละเอียดการรักษาในตําราฝงเข็มเลมอื่นๆ
3. หลังปกเข็ม และปนเข็มแลว ควรใหผปู วยเคลื่อนไหวสวนของรางกายที่มีอาการ
บาดเจ็บ เพื่อกระตุนใหชี่และเลือดไหลเวียนเพิ่มขึ้น ชวยลดอาการปวด
- แบบที่ 2. ใชจุดฝงเข็ม 1 – 2 จุดรักษาอาการ Acute sprain จากการเลนกีฬา ซึ่งมีหลายวิธี
ตามสรุปในตารางที่ 2.
ขอแนะนํา
1. ใชในกรณีเฉียบพลัน ไมมีอาการปวดจากการบาดเจ็บของอวัยวะภายใน ( Non – organic
pain )
2. ผูปวยอาจตอบสนองตอการรักษาดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีประสมกัน ดังนัน้ หลังปกเข็ม
และปนเข็มแลว
ควรใหผูปวยเคลื่อนไหวสวนของรางกายที่มีอาการบาดเจ็บ เพื่อกระตุนใหชี่และเลือดไหลเวียน
เพิ่มขึ้น ชวยลดอาการปวด ถาไมดีขึ้นให Manipulate เข็มซ้ํา 1 – 2 ครั้ง ถาไมไดผลจึงพิจารณาเพิ่มวิธี
อื่นตอไป
3. อาจพิจารณาใหยารวมดวย ในกรณีที่ผูปวยไมสามารถมารักษาไดสม่ําเสมอตามนัด หรือ
ตองการทําใหผปู วยหายเร็วขึ้น ลดอาการทุกขทรมานที่รบกวนการดํารงชีวิต ประจํา วันของผูปวย ทัง้ นี้
อาจเปนยาจีน หรือยาแผนตะวันตกก็ได บอยครั้งที่ผูปวยไดรับการฝงเข็มดีขนึ้ แตยังมีอาการเล็กนอย
รบกวนอยู ก็ใชยารวมดวยเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการรักษา และเพื่อปองกันการเกิดอาการรุนแรงซ้ํา จึงไม
ควรปฏิเสธการใชยา
4. กรณีมีอาการเรื้อรัง (Chronic sprain) ใหดูรายละเอียดการรักษาในตําราฝงเข็มเลมนั้น ๆ
Page 200

ภาคผนวกที่ 1
ดัชนีจุดฝงเข็มตามระบบเสนลมปราณ
Page 201

จุดฝงเข็มบนเสนมือไทอินปอด (LU)
The Lung Meridian of Hand-TaiYin Acupoints
(手太阴肺经穴 Shǒu-Tài-Yīn-Fèi-Jīng-Xué)
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
LU1 中府 Zhōng-Fǔ จงฝู
LU2 云门 Yún-Mén ยฺหวินเหมิน
LU3 天府 Tiān-Fǔ เทียนฝู
LU4 侠白 Xiá-Bái เสียไป
LU5 尺泽 Chǐ-Zé ฉื่อเจอ
LU6 孔最 Kǒng-Zuì ขงจุย
LU7 列缺 Liè-Quē เลี่ยเชฺวีย
LU8 经渠 Jīng-Qú จิงฉฺวี
LU9 太渊 Tài-Yuān ไทเยฺวียน
LU10 鱼际 Yú-Jì ยฺหวีจี้
LU11 少商 Shào-Shāng เสาซาง
จุดบนเสนมือหยางหมิงลําไสใหญ ( LI)
The Large Intestine Meridian of Hand-YangMing Acupoints
(手阳明大肠经穴Shǒu-Yáng-Míng-Dà-Cháng-Jīng-Xué)
LI1 商阳 Shāng-Yáng ซางหยาง
LI2 二间 Èr-Jiān เออรเจียน
LI3 三间 Sān-Jiān ซานเจียน
LI4 合谷 Hé-Gǔ เหอกู
LI5 阳溪 Yáng-Xī หยางซี
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
LI6 偏历 Piān-Lì เพียนลี่
LI7 温溜 Wēn-Liū เวินลิว
LI8 下廉 Xià-Lián เซี่ยเหลียน
LI9 上廉 Shàng-Lián ซางเหลียน
LI10 手三里 Shǒu-Sān-Lǐ โสวซานหลี่
Page 202

LI11 曲池 Qū-Chí ชฺวีฉือ


LI12 肘髎 Zhǒu-Liáo โจวเหลียว
LI13 手五里 Shǒu-Wǔ-Lǐ โสวอูหลี่
LI14 臂臑 Bì-Nào ปเนา
LI15 肩髃 Jiān-Yú เจียนยฺหวี
LI16 巨骨 Jù-Gǔ จฺวี้กู
LI17 天鼎 Tiān-Dǐng เทียนติ่ง
LI18 扶突 Fú-Tū ฝูทู
LI19 口禾髎 Kǒu-Hé-Liáo โขวเหอเหลียว
LI20 迎香 Yíng-Xiāng อิ๋งเซียง
จุดบนเสนเทาหยางหมิงกระเพาะอาหาร (ST)
The Stomach Meridian of Foot-YangMing Acupoints
(足阳明胃经穴 Zú-Yáng-Míng-Wèi-Jīng-Xué)

ST1 承泣 Chéng-Qì เฉิงชี่


ST2 四白 Sì-Baí ซื่อไป
ST3 巨髎 Jù-Liáo จฺวี้เหลียว
ST4 地仓 Dì-Cāng ตี้ชาง
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
ST5 大迎 Dà-Yíng ตาอิ๋ง
ST6 颊车 Jiá-Chē เจี๋ยเชอ
ST7 下关 Xià-Guān เซี่ยกวาน
ST8 头维 Tóu-Wéi โถวเหวย
ST9 人迎 Rén-Yíng เหญินอิ๋ง
ST10 水突 Shǔi-Tū สุยทู
ST11 气舍 Qì-Shè ชี่เซอ
ST12 缺盆 Quē-Pén เชฺวียเผิน
ST13 气户 Qì-Hù ชี่ฮู
ST14 库房 Kù-Fáng คูฝาง
ST15 屋翳 Wū-Yì อูอี้
Page 203

ST16 鹰窗 Yīng-Chuāng อิงชฺวาง


ST17 乳中 Rǔ-Zhōng หูจง
ST18 乳根 Rǔ-Gēn หูเกิน
ST19 不容 Bù-Róng ปูหญง
ST20 承满 Chéng-Mǎn เฉิงหมาน
ST21 梁门 Liáng-Mén เหลียงเหมิน
ST22 关门 Guān-Mén กวานเหมิน
ST23 太乙 Tài-Yí(Tài-Yǐ) ไทอี๋ (ไทอี่)
ST24 滑肉门 Huá-Ròu-Mèn หัวโญวเหมิน
ST25 天枢 Tiān-Shū เทียนซู
ST26 外陵 Wài-Líng ไวหลิง
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
ST27 大巨 Dà-Jù ตาจฺวี้
ST28 水道 Shuǐ-Dào สุยเตา
ST29 归来 Gūi-Lái กุยไหล
ST30 气冲 Qì-Chōng ชี่ชง
ST31 髀关 Bì-Guān ปกวน
ST32 伏兔 Fú-Tù ฝูทู
ST33 阴市 Yīn-Shì อินซื่อ
ST34 梁丘 Liáng-Qiū เหลียงชิว
ST35 犊鼻 Dú-Bí ตูป
ST36 足三里 Zú-Sān-Lǐ จูซานหลี่
ST37 上巨虚 Shàng-Jù-Xū ซางจฺวี้ซวฺ ี
ST38 条口 Tiáo-Kǒu เถียวโขว
ST39 下巨虚 Xià-Jù-Xū เซี่ยจฺวี้ซวฺ ี
ST40 丰隆 Fēng-Lóng เฟงหลง
ST41 解溪 Jiě-Xī เจี่ยซี
ST42 冲阳 Chōng-Yáng ชงหยาง
ST43 陷谷 Xiàn-Gǔ เซี่ยนกู
Page 204

ST44 内庭 Nèi-Tíng เนยถิง


ST45 厉兑 Lì-Duì ลี่ตยุ

จุดบนเสนเทาไทอินมาม (SP)
The Spleen Meridian of Foot-TaiYin Acupoints
(足太阴脾经穴 Zú-Tài-Yīn-Pí-Wèi-Jīng-Xué)
SP1 隐白 Yǐn-Bái อิ่นไป
SP2 大都 Dà-Dū ตาตู
SP3 太白 Tài-Bái ไทไป
SP4 公孙 Gōng-Sūn กงซุน
SP5 商丘 Shāng-Qiū ซางชิว
SP6 三阴交 Sān-Yīn-Jiāo ซานอินเจียว
SP7 漏谷 Lòu-Gǔ โลวกู
SP8 地机 Dì-Jī ตี้จี
SP9 阴陵泉 Yīn-Líng-Quán อินหลิงเฉฺวียน
SP10 血海 Xuè-Hǎi เซฺวี่ยไห
SP11 箕门 Jī-Mén จีเหมิน
SP12 冲门 Chōng-Mén ชงเหมิน
SP13 府舍 Fǔ-Shè ฝูเซอ
SP14 腹结 Fù-Jié ฝูเจีย๋
SP15 大横 Dà-Héng ตาเหิง
SP16 腹哀 Fù-āi ฝูไอ
SP17 食窦 Shí-Dòu สือโตว
SP18 天溪 Tiān-Xī เทียนซี
SP19 胸乡 Xiōng-Xiāng ซงเซียง
SP20 周荣 Zhōu-Róng โจวหญง
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
SP21 大包 Dà-Bāo ตาเปา
Page 205

จุดบนเสนมือเสาอินหัวใจ (HT)
The Heart Meridian of Hand-ShaoYin Acupoints
(手少阴心经穴 Shǒu-Shǎo-Yīn-Xīn-Jīng-Xué)
HT1 极泉 Jí-Quán จี๋เฉฺวียน
HT2 青灵 Qīng-Líng ชิงหลิง
HT3 少海 Shào-Hǎi เสาไห
HT4 灵道 Líng-Dào หลิงเตา
HT5 通里 Tōng-Lǐ ทงหลี่
HT6 阴郗 Yīn-Xì อินซี่
HT7 神门 Shén-Mén เสินเหมิน
HT8 少府 Shào-Fǔ เสาฝู
HT9 少冲 Shào-Chōng เสาชง
จุดบนเสนมือไทหยางลําไสเล็ก (SI)
The Small Intestine Meridian of Hand - TaiYang Acupoints
(手太阳小肠经穴 Shǒu-Tài-Yáng-Xiǎo-Cháng-Jīng-Xué)
SI1 少泽 Shào-Zé เสาเจอ
SI2 前谷 Qián-Gǔ เฉียนกู
SI3 后溪 Hòu-Xī โฮวซี
SI4 腕骨 Wàn-Gǔ วานกู
SI5 阳谷 Yáng-Gǔ หยางกู
SI6 养老 Yǎng-Lǎo หยางเหลา
SI7 支正 Zhī-Zhèng จือเจิ้ง
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
SI8 小海 Xiǎo-Hǎi เสียวไห
SI9 肩贞 Jiān-Zhēn เจียนเจิน
SI10 臑俞 Nào-Shū เนาซู
SI11 天宗 Tiān-Zōng เทียนจง
SI12 秉风 Bǐng-Fēng ปงเฟง
SI13 曲垣 Qū-Yuán ชฺวีเหยฺวียน
SI14 肩外俞 Jiān-Wài-Shū เจียนไวซู
Page 206

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


SI15 肩中俞 Jiān-Zhōng-Shū เจียนจงซู
SI16 天窗 Tiān-Chuāng เทียนชฺวาง
SI17 天容 Tiān-Róng เทียนหญง
SI18 颧髎 Quán-Liáo เฉฺวียนเหลียว
SI19 听宫 Tīng-Gōng ทิงกง
จุดบนเสนเทาไทหยางกระเพาะปสสาวะ (BL)
The Bladder Meridian of FootTaiYang Acupoints
(足太阳膀胱经穴 Zú-Tài-Yáng-Páng-Guāng-Jīng-Xué)
BL1 睛明 Jīng-Míng จิงหมิง
Zǎn-Zhú จานจู
BL2 攒竹
(Cuán-Zhú) (ฉฺวานจู)
BL3 眉冲 Méi-Chōng เหมยชง
BL4 曲差 Qū-Chā ชฺวีชา
BL5 五处 Wǔ-Chù อูชู
BL6 承光 Chéng-Guāng เฉิงกวาง
BL7 通天 Tōng-Tiān ทงเทียน
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
BL8 络却 Luò-Què ลั่วเชฺวยี่
BL9 玉枕 Yù-Zhěn อวี้เจิ่น
BL10 天柱 Tiān-Zhù เทียนจู
BL11 大杼 Dà-Zhù ตาจู
BL12 风门 Fēng-Mén เฟงเหมิน
BL13 肺俞 Fèi-Shū เฟยซู
BL14 厥阴俞 Jué-Yīn-Shū จเหวียอินซู
BL15 心俞 Xīn-Shū ซินซู
BL16 督俞 Dū-Shū ตูซู
BL17 膈俞 Gé-Shū เกอซู
BL18 肝俞 Gān-Shū กานซู
BL19 胆俞 Dǎn-Shū ตานซู
Page 207

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


BL20 脾俞 Pí-Shū ผีซู
BL21 胃俞 Wèi-Shū เวยซู
BL22 三焦俞 Sān-Jiāo-Shū ซานเจียวซู
BL23 肾俞 Shèn-Shū เซิ่นซู
BL24 气海俞 Qì-Hǎi-Shū ชี่ไหซู
BL25 大肠俞 Dà-Cháng-Shū ตาฉางซู
BL26 关元俞 Guān-Yuán-Shū กวานเหยฺวียนซู
BL27 小肠俞 Xiǎo-Cháng-Shū เสี่ยวฉางซู
BL28 膀胱俞 Páng-Guāng-Shū ผังกวางซู
BL29 中膂俞 Zhōng-Lǔ-Shū จงหลีซ่ ู (จงลฺหวี่ซ)ู
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
BL30 白环俞 Bái-Huán-Shū ไปหวนซู
BL31 上髎 Shàng-Liáo ซางเหลียว
BL32 次髎 Cì-Liáo ชื่อเหลียว
BL33 中髎 Zhōng-Liáo จงเหลียว
BL34 下髎 Xià-Liáo เซี่ยเหลียว
BL35 会阳 Huì-Yáng หุยหยาง
BL36 承扶 Chéng-Fú เฉิงฝู
BL37 殷门 Yīn-Mén อินเหมิน
BL38 浮郗 Fú-Xì ฝูซี่
BL39 委阳 Wěi-Yáng เหวยหยาง
BL40 委中 Wěi-Zhōng เหวยจง
BL41 附分 Fù-Fēn ฟูเฟน
BL42 魄户 Pò-Hù พอหู
BL43 膏肓 Gāo-Huāng เกาฮวาง
BL44 神堂 Shén-Táng เสินถัง
BL45 譩譆 Yì-Xǐ อี้สี่
BL46 膈关 Gé-Guān เกอกวาน
Page 208

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


BL47 魂门 Hún-Mén หุนเหมิน
BL48 阳纲 Yáng-Gāng หยางกัง
BL49 意舍 Yì-Shè อี้เซอ
BL50 胃仓 Wèi-Cāng เวยชาง
BL51 肓门 Huāng-Mén ฮฺวางเหมิน
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
BL52 志室 Zhì-Shì จื้อซื่อ
BL53 胞肓 Bāo-Huāng เปาฮฺวาง
BL54 秩边 Zhì-Biān จื้อเปยน
BL55 合阳 Hé-Yáng เหอหยาง
BL56 承筋 Chéng-Jīn เฉิงจิน
BL57 承山 Chéng-Shān เฉิงซาน
BL58 飞扬 Fēi-Yáng เฟยหยาง
BL59 跗阳 Fū-Yáng ฟูหยาง
BL60 昆仑 Kūn-Lún คุนหลุน
BL61 仆参 Pú-Cān(Pú-Shēn) ผูชาน (ผูเซิน)
BL62 申脉 Shēn-Mài เซินมาย
BL63 金门 Jīn-Mén จินเหมิน
BL64 京骨 Jīng-Gǔ จิงกู
BL65 束骨 Shù-Gǔ ซูกู
BL66 足通谷 Zú-Tōng-Gǔ จูทงกู
BL67 至阴 Zhì-Yīn จื้ออิน
จุดบนเสนเทาเสาอินไต (KI)
The Kidney Meridian of Foot-ShaoYin Acupoints
(足少阴肾经穴 Zú-Shǎo-Yīn-Shèn-Jīng-Xué)
KI1 涌泉 Yǒng-Quán หยงเฉฺวียน
KI2 然谷 Rán-Gǔ หญานกู
KI3 太溪 Tài-Xī ไทซี
Page 209

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


KI4 大钟 Dà-Zhōng ตาจง
KI5 水泉 Shuǐ-Quán สุยเฉฺวียน
KI6 照海 Zhào-Hǎi เจาไห
KI7 复溜 Fù-Liū ฟูลิว
KI8 交信 Jiāo-Xìn เจียวซิ่น
KI9 筑宾 Zhù-Bīn จูปน
KI10 阴谷 Yīn-gǔ อินกู
KI11 横骨 Héng-Gǔ เหิงกู
KI12 大赫 Dà-Hè ตาเฮอ
KI13 气穴 Qì-Xué ชีเ่ สฺวีย
KI14 四满 Sì-Mǎn ซื่อหมาน
KI15 中注 Zhōng-Zhù จงจู
KI16 肓俞 Huāng-Shū ฮฺวางซู
KI17 商曲 Shāng-Qū ซางชฺวี
KI18 石关 Shí-Guān สือกวาน
KI19 阴都 Yīn-Dū อินตู
KI20 腹通谷 Fù-Tōng-Gǔ ฝูทงกู
KI21 幽门 Yōu-Mén อิวเหมิน
KI22 步廊 Bù-Láng ปูหลาง
KI23 神封 Shén-Fēng เสินเฟง
KI24 灵墟 Líng-Xū หลิงซฺวี
KI25 神藏 Shén-Cáng เสินฉาง
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
KI26 彧中 Yù-Zhōng อวี้จง
KI27 俞府 Shū-Fǔ ซูฝู
จุดบนเสนมือจฺเหวียอินเยื่อหุมหัวใจ (PC)
The Pericardium Meridian of Hand-JueYin Acupoints
(手厥阴心包经穴 Shǒu-Jué-Yīn-Xīn-Bāo-Jīng-Xué)
Page 210

PC1 天池 Tiān-Chí เทียนฉือ


PC2 天泉 Tiān-Quán เทียนเฉฺวยี น
PC3 曲泽 Qū-Zé ชฺวีเจอ
PC4 郗门 Xì-Mén ซี่เหมิน
PC5 间使 Jiān-Shǐ เจียนสือ่
PC6 内关 Nèi-Guān เนยกวาน
PC7 大陵 Dà-Líng ตาหลิง
PC8 劳宫 Láo-Gōng เหลากง
PC9 中冲 Zhōng-Chōng จงชง
จุดบนเสนมือเสาหยางซานเจียว (TE)
The Pericardium Meridian of Hand-JueYin Acupoints
(手少阳三焦经穴 Shǒu-Jué-Yīn-Xīn-Bāo-Jīng-Xué)
TE1 关冲 Guān-Chōng กวานชง
TE2 液门 Yè-Mén เยเหมิน
TE3 中渚 Zhōng-Zhǔ จงจู
TE4 阳池 Yáng-Chí หยางฉือ
TE5 外关 Wài-Guān ไวกวาน
TE6 支沟 Zhī-Gōu จือโกว
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
TE7 会宗 Huì-Zōng หุยจง
TE8 三阳络 Sān-Yáng-Luò ซานหยางลั่ว
TE9 四渎 Sì-Dú ซือ่ ตู
TE10 天井 Tiān-Jǐng เทียนจิ่ง
TE11 清冷渊 Qīng-Lěng-Yuān ชิงเหลิ่งเยฺวียน
TE12 消泺 Xiāo-Luò เซียวลั่ว
TE13 臑会 Nào-Huì เนาหุย
TE14 间髎 Jiān-Liáo เจียนเหลียว
TE15 天髎 Tiān-Liáo เทียนเหลียว
TE16 天牖 Tiān-Yǒu เทียนอิว่
Page 211

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


TE17 翳风 Yì-Fēng อี้เฟง
TE18 瘛脉 Chì-Mài ชื่อมาย
TE19 颅息 Lú-Xī หลูซี
TE20 角孙 Jiǎo-Sūn เจี่ยวซุน
TE21 耳门 Ér-Mén เออรเหมิน
TE22 耳禾髎 Ér-Hé-Liáo เออรเหอเหลียว
TE23 丝竹空 Sī-Zhú-Kōng ซือจูคง
จุดบนเสนเทาหยางถุงน้ําดี (GB)
The Gall Bladder Meridian of Foot-ShaoYang Acupoints
(足少阳胆经穴 Zú-Shǎo-Yáng-Dǎn-Jīng-Xué)
GB1 瞳子髎 Tóng-Zǐ-Liáo ถงจื่อเหลียว
GB2 听会 Tīng-Huì ทิงหุย
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
GB3 上关 Shàng-Guān ซางกวาน
GB4 颔厌 Hàn-Yàn ฮั่นเอีย้ น
GB5 悬颅 Xuán-Lú เสฺวียนหลู
GB6 悬厘 Xuán-Lí เสฺวียนหลี
GB7 曲鬓 Qū-Bìn ชฺวีปน
GB8 率谷 Shuài-Gǔ ไซฺวกู
GB9 天冲 Tiān-Chōng เทียนชง
GB10 浮白 Fú-bái ฝูไป
GB11 头窍阴 Tóu-Qiào-Yīn โถวเชี่ยวอิน
GB12 完骨 Wán-Gǔ หวันกู
GB13 本神 Běn-Shén เปนเสิน
GB14 阳白 Yáng-Bái หยางไป
GB15 头临泣 Tóu-Lín-Qì โถวหลินซี่
GB16 目窗 Mù-Chuāng มูชวฺ าง
GB17 正营 Zhèng-Yíng เจิ้งอิ๋ง
Page 212

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


GB18 承灵 Chéng-Líng เฉิงหลิง
GB19 脑空 Nǎo-Kōng เหนาคง
GB20 风池 Fēng-Chí เฟงฉือ
GB21 肩井 Jiān-Jǐng เจียนจิ่ง
GB22 渊液 Yuān-Yè เอวียนเย
GB23 辄筋 Zhé-Jīn เจอจิน
GB24 日月 Rì-Yuè ญือ่ เอวี่ย
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
GB25 京门 Jīng-Mén จิงเหมิน
GB26 带脉 Dài-Mài ไตมา ย
GB27 五枢 Wǔ-Shū อูซู
GB28 维道 Wéi-Dào เหวยเตา
GB29 居髎 Jū-Liáo จฺวีเหลียว
GB30 环跳 Huán-Tiào หวนเที่ยว
GB31 风市 Fēng-shì เฟงซื่อ
GB32 中渎 Zhōng-Dú จงตู
GB33 膝阳关 Xī-Yáng-Guān ซีหยางกวาน
GB34 阳陵泉 Yáng-Líng-Quán หยางหลิงเฉฺวียน
GB35 阳交 Yáng-Jiāo หยางเจียว
GB36 外丘 Wài-Qiū ไวชิว
GB37 光明 Guāng-Míng กวางหมิง
GB38 阳辅 Yáng-Fǔ หยางฝู
GB39 悬钟 Xuán-Zhōng เสฺวียนจง
GB40 丘墟 Qiū-Xū ชิวซฺวี
GB41 足临泣 Zú-Lín-Qì จูหลินชี่
GB42 地五会 Dì-Wǔ-Huì ตี้อูฮยุ
GB43 侠溪 Xiá-Xī เสียซี
GB44 足窍阴 Zú-Qiào-Yīn จูเชี่ยวอิน
Page 213

จุดบนเสนเทาจฺเหวียอินตับ (LR)
The Liver Meridian of Foot-JueYin Acupoints
(足厥阴肝经穴 Zú-Jué-Yīn-Xīn-Gān-Jīng-Xué)
LR1 大敦 Dà-Dūn ตาตุน
LR2 行间 Xíng-Jiān สิงเจียน
LR3 太冲 Tài-Chōng ไทชง
LR4 中封 Zhōng-Fēng จงเฟง
LR5 蠡沟 Lí-Gōu หลีโกว
LR6 中都 Zhōng-Dū จงตู
LR7 膝关 Xī-Guān ซีกวาน
LR8 曲泉 Qū-Quán ชฺวีเฉฺวียน
LR9 阴包 Yīn-Bāo อินเปา
LR10 足五里 Zú-Wǔ-Lǐ จูอูหลี่
LR11 阴廉 Yīn-Lián อินเหลียน
LR12 急脉 Jí-Mài จี๋มา ย
LR13 章门 Zhāng-Mén จางเหมิน
LR14 期门 Qī-Mén ชีเหมิน
จุดบนเสนลมปราณเญิ่น (CV)
The Conception Vessel Acupoints
(任脉穴Rèn-Mài-Xué)
CV1 会阴 Huì-Yīn หุยอิน
CV2 曲骨 Qū-Gǔ ชฺวีกู
CV3 中极 Zhōng-Jí จงจี๋
CV4 关元 Guān-Yuán กวานเหยฺวียน
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
CV5 石门 Shí-Mén สือเหมิน
CV6 气海 Qì-Hǎi ชีไ่ ห
CV7 阴交 Yīn-Jiāo อินเจียว
Page 214

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


CV8 神阙 Shén-Què เสินเชฺวี่ย
CV9 水分 Shuǐ-Fēn สุยเฟน
CV10 下脘 Xià-Wǎn เซี่ยหวาน
CV11 建里 Jiàn-Lǐ เจี้ยนหลี่
CV12 中脘 Zhōng-Wǎn จงหวาน
CV13 上脘 Shàng-Wǎn ซางหวาน
CV14 巨阙 Jù-Què จฺวเี้ ชฺวยี่
CV15 鸠尾 Jiū-Wěi จิวเหวย
CV16 中庭 Zhōng-Tíng จงถิง
Tán-Zhōng ถันจง
CV17 膻中 (Dàn-Zhōng) (ตั้นจง)
(Shàn-Zhōng) (ซั่นจง)
CV18 玉堂 Yù-Táng อวี้ถาง
CV19 紫宫 Zǐ-Gōng จื่อกง
CV20 华盖 Huá-Gài หัวกาย
CV21 璇玑 Xuán-Jī เสฺวียนจี
CV22 天突 Tiān-Tū เทียนทู
CV23 廉泉 Lián-Quán เหลียนเฉฺวยี น
CV24 承浆 Chéng-Jiāng เฉิงเจียง

จุดบนเสนลมปราณตู (GV)
The Governor Vessel Acupoints
(督脉穴Dū-Mài-Xué)
GV1 长强 Cháng-Qiáng ฉางเฉียง
GV2 腰俞 Yāo-Shū เยาซู
GV3 腰阳关 Yāo-Yáng-Guān เยาหยางกวาน
GV4 命门 Mìng-Mén มิ่งเหมิน
GV5 悬枢 Xuán-Shū เสฺวียนซู
GV6 脊中 Jǐ-Zhōng จี่จง
Page 215

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


GV7 中枢 Zhōng-Shū จงซู
GV8 筋缩 Jīn-Suō จินซัว
GV9 至阳 Zhì-Yáng จื้อหยาง
GV10 灵台 Líng-Tái หลิงไถ
GV11 神道 Shén-Dào เสินเตา
GV12 身柱 Shēn-Zhù เซินจู
GV13 陶道 Táo-Dào เถาเตา
GV14 大椎 Dà-Zhuī ตาจุย
GV15 哑门 Yǎ-Mén หยาเหมิน
GV16 风府 Fēng-Fǔ เฟงฝู
GV17 脑户 Nǎo-Hù เหนาหู
GV18 强间 Qiáng-Jiān เฉียงเจียน
GV19 后顶 Hòu-Dǐng โหวติ่ง
GV20 百会 Bǎi-Huì ไปหุย
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
GV21 前顶 Qián-Dǐng เฉียนติ่ง
GV22 囟会 Xìn-Huì ซิน่ หุย
GV23 上星 Shàng-Xīng ซางซิง
GV24 神庭 Shén-Tíng เสินถิง
GV25 素髎 Sù-Liáo ซูเหลียว
GV26 水沟 Shuǐ-Gōu สุยโกว
GV27 兑端 Duì-Duān ตุยตฺวาน
GV28 龈交 Yín-Jiāo อิ๋นเจียว
จุดพิเศษบน ศีรษะและคอ (EX-HN)
Head and Neck Extra-Acupoints
(头颈奇穴 : Tóu-Jǐng-Qí-Xué)
EX-HN1 四神聪 Sì-Shén-Cōng ซื่อเสินชง
EX-HN2 当阳 Dāng-Yáng ตางหยาง
Page 216

รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย


EX-HN3 印堂 Yìn-Táng อิ้นถัง
EX-HN4 鱼腰 Yú-Yāo ยฺหวีเยา
EX-HN5 太阳 Tài-Yáng ไทหยาง
EX-HN6 耳尖 Ér-Jiān เออรเจียน
EX-HN7 球后 Qiú-Hòu ฉิวโหว
EX-HN8 上迎香 Shàng-Yíng-Xiāng ซางอิ๋งเซียง
EX-HN9 内迎香 Nèi-Yíng-Xiāng เนยอิ๋งเซียง
EX-HN10 聚泉 Jù-Quán จฺวี้เฉฺวียน
EX-HN11 海泉 Hǎi-Quán ไหเฉฺวียน
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
EX-HN12 金津 Jīn-Jīn จินจิน
EX-HN13 玉液 Yù-Yè อวี้เย
EX-HN14 翳明 Yì-Míng อี้หมิง
EX-HN15 颈百劳 Jǐng-Bǎi-Láo จิ่งไปเหลา
EX-HN16 上廉泉 Shàng-Lián-Quán ซางเหลียนเฉฺวียน
EX-HN17 夹承浆 Jia-Chéng-Jiāng เจี่ยเฉิงเจียง
EX-HN18 牵正 Qian-Zheng เฉียนเจิ้ง
EX-HN19 安眠 An-Mián อันเหมี่ยน
จุดพิเศษบน หนาอกและทอง (EX-CA)
Chest and Abdomen Extra-Acupoints
(胸腹奇穴 : Xiōng-Fù-Qí-Xué)
EX-CA1 子宫 Zǐ-Gōng จื่อกง
EX-CA2 胃上 Wèi-Shàng เวยซาง
EX-CA3 三角灸 Sān-Jiǎo-Jiǔ ซานเจี่ยวจิ่ว
EX-CA4 利尿穴 Lì-Niào-Xué ลี่เนี่ยวเสฺวีย
EX-CA5 气门 Qì-Mén ชี่เหมิน
EX-CA6 提托 Tí-Tuō ถีทัว
จุดพิเศษบน หลัง (EX-B)
Back Extra-Acupoints
Page 217

(背奇穴 Bèi-Qí-Xué)

EX-B1 定喘 Dìng-chuǎn ติ้งฉฺวาน


EX-B2 夹脊 Jiá-jǐ เจีย๋ จี่
EX-B3 胃脘下俞 Wèi-Wǎn-Xià-Shū เวยหวานเซี่ยซู
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
EX-B4 痞根 Pǐ-Gēn ผี่เกิน
EX-B5 下极俞 Xià-Jí-Shū เซี่ยจี๋ซู
EX-B6 腰宜 Yāo-Yí เยาอี๋
EX-B7 腰眼 Yāo-Yǎn เยาเอี่ยน
EX-B8 十七椎 Shí-Qī-Zhuī สือชีจุย
EX-B9 腰奇 Yāo-Qí เยาฉี
EX-B10 环中 Huán-Zhōng หวนจง
EX-B11 血压点 Xuè-Yā-Diǎn เซฺวี่ยยาเตี่ยน
EX-B12 巨阙俞 Jù-Què-Shū จฺวี้เชฺวี่ยซู
จุดพิเศษบน รยางคบน (EX-UE)
Upper Extremities Extra-Acupoints
(上肢奇穴 Shàng-Zhī-Qí-Xué)
EX-UE1 肘尖 Zhǒu-Jiān โจวเจียน
EX-UE2 二白 Èr-Bái เออรไป
EX-UE3 中泉 Zhōng-Quán จงเฉฺวียน
EX-UE4 中魁 Zhōng-Kuí จงขุย
EX-UE5 大骨空 Dà-Gǔ-Kōng ตากูคง
EX-UE6 小骨空 Xiǎo-Gǔ-Kōng เสียวกูคง
EX-UE7 腰痛点 Yāo-Tòng-Diǎn เยาทงเตี่ยน
EX-UE8 外劳宫 Wài-Láo-Gōng ไวเหลากง
EX-UE9 八邪 Bā-Xié ปาเสีย
EX-UE10 四缝 Sì-Fèng ซื่อเฝง
รหัสจุด ชื่อภาษาจีน พินอิน ภาษาไทย
EX-UE11 十宣 Shí-Xuān สือเซฺวียน
Page 218

肩前 Jiān-Qián เจียนเฉียน
EX-UE12
(肩内陵) (Jiān-Nèi-Ling) (เจียนเนยหลิง)
臂中 Bì-Zhōng ปจง
EX-UE13
(收逆注) (Shou-Ni-Zhu) (โซวนี่จู)
จุดพิเศษบน รยางคลาง (EX-LE)
Lower Extremities Extra-Acupoints
(下肢奇穴Qí-Xué-Xia-Zhi)
EX-LE1 髋骨 Kuān-Gǔ ควานกู
EX-LE2 鹤顶 Hè-Dǐng เหอติ่ง
膝内 Xī-Nèi ซีเนย
EX-LE3
白虫窝 Bái-Chóng-Wō ไปฉงวอ
EX-LE4 内膝眼 Nèi-Xī-Yǎn เนยซีเอีย่ น
EX-LE5 膝眼 Xī-Yǎn ซีเอี่ยน
EX-LE6 胆囊 Dǎn-Náng ตานหนาง
EX-LE7 阑尾 Lán-Wěi หลานเหวย
EX-LE8 内踝尖 Nèi-Huái-Jiān เนยหวฺายเจียน
EX-LE9 外踝尖 Wài-Huái-Jiān ไวหวายเจียน
EX-LE10 八风 Bā-Fēng ปาเฟง
EX-LE11 独阴 Dú-Yīn ตูอิน
EX-LE12 气端 Qì-Duān ชี่ตวฺ าน
Page 219

บรรณานุกรม
1. ตําราฝงเข็มรมยาเลม 2; ทัศนี ย ฮาซาไนน และคณะ; โรงพิมพชุมนุมสหกรณ การเกษตรแห ง
ประเทศไทย; 2553
2. โรคกระดูกและขอ ที่พบบอยในประเทศไทย ราชบัณฑิตยสถาน , 2545
3. Cheng D. 100 Diseases treated by single point of acupuncture and moxibustion.:
Foreign Languages Press; Beijing ,China; 2001.
4. Chinese acupuncture and moxibustion; Cheng XinNong; Foreign language press;
Beijing, China; 1987
5. Chen De Cheng; 100 Diseases treated by single point of acupuncture and moxibustion;
Foreign language press; Beijing, China; 2001.
6.Harrison’s Principle of Internal Medicine 16th Edition; Chapter 51 by
Willium Silen; McGRAW-HILL Professional, Inc.; NewYork, USA; 2004
7. GangLin Yin and ZhengHua Liu. . Advanced modern Chinese acupuncture
therapy .New World Press; Beijing China; 2000
8. Geng JunYing, Huang WenQuan and Sun YongPing; Selecting the right
acupoints; New World Press; Beijing China; 1995.
9. Un GJ, Wang H. Science of Acupuncture and Moxibustion. 1st ed.
Wuhan: Wuhan University Press, 1996.
10. Yang ZM. Chinese Acupuncture and Moxibustion. 1st ed. Shanghai:
Publishing House of Shanghai University of Traditional Chinese Medicine, 2004.
11.Zhang ZF, Zhuang D. Fundamental and Clinical Practice of
Electroacupuncture. 1t ed. Beijing: Beijing Science and Technology Press, 1994.
12. Zheng QiWei and Qian ChunYi;, Wonders of acupuncture and
moxibustion; Foreign language press; Beijing, China; 2002.
13. World journal of acupuncture – moxibustion, Vol. 4, No. 4, December , 1994.
14. World journal of acupuncture – moxibustion, Vol. 5, No.1 , March, 1995.
15. World journal of acupuncture – moxibustion, Vol. 6, No.4, December, 1996.
Page 220

Você também pode gostar