Você está na página 1de 533

STAAD.

Pro
3D Structural Analysis & Design Software

คูมือการใชงาน

ผศ.ดร.มงคล จิรวัชรเดช
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
mongkol_1001@hotmail.com UPDATE: 1 DEC 2008
Table of Contents
1 แนะนําโปรแกรม STAAD.Pro
รูจักกับโปรแกรม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-1
ความสามารถของเครื่องที่ติดตั้ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-1
องคประกอบของ STAAD.Pro . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-2
การรันโปรแกรม STAAD.Pro. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-3
สวนประกอบหนาจอ STAAD.Pro. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-5
โหมดในการทํางาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-6
โหมดสรางโมเดล. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-6
หนาตางๆในโหมดสรางโมเดล. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1-7

2 การสรางโมเดล
ขั้นตอนการใชงาน STAAD.Pro . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2-2
เริ่มตนโปรแกรม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2-3
วิธีสรางโมเดล. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2-7
วิธีที่ 1 : สรางโมเดลโดยใช Structure Wizard . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2-7
แบบฝกหัด : การใช Structure Wizard สรางโครงถักโดยใชจุดอางอิง . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 14
แบบฝกหัด : การใช Structure Wizard สรางแผนพื้น. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 19
วิธีที่ 2 : สรางโมเดลโดยใช Snap/Grid . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 20
แบบฝกหัด : การสรางโมเดลโดยใช Snap/Grid. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 27
การเปลี่ยนมุมมอง : Viewing. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 30
การเลือก Node, Beam และ Plate. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 30
การเลือกในมุมมองสามมิติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 34
วิธีที่ 3 : การสรางโมเดลโดยใช Copy/Cut และ Paste. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 36
การเรียงโหนดดวยคําสั่ง Renumber . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 38
วิธีที่ 4 : การสรางโมเดลโดยใช Spreadsheet (EXCEL) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 40
การสรางโครงหลังคาโคงโดยใช EXCEL ชวยคํานวณพิกัด. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 42
วิธีที่ 5 : การสรางโมเดลโดยนําเขาไฟล DXF . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 - 46
3 ฟงชั่นชวยสรางโมเดล
Insert Node or Split Beam. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3-2
Add Beam ระหวาง Mid-Points. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3-3
Add Beam แบบจุดตัดตั้งฉาก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 – 3
การสรางโมเดลโครงหลังคา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3-4
Translational Repeat . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 6
การสรางโมเดลอาคารสูงโดยใช Translational Repeat . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3-8
Circular Repeat . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 11
Mirror. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 12
Rotate . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 13
การสรางโมเดลสเตเดียมโดยใช Circular Repeat. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 -14
Move . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 19
การสรางโมเดลหลังคากริดสามมิติ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 20
Cut Section . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 22
การสรางโมเดลปายโฆษณา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 - 24

4 หนาตัด, จุดรองรับ, ขอกําหนด และคาคงที่


สรางโมเดล Portal 2D . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4-2
Property : กําหนดคุณสมบัติองคอาคาร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4-3
Steel Section : เลือกหนาตัดเหล็ก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4-4
Beta Angle : กําหนดมุมหนาตัด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4-6
การเปลี่ยนหนวยความยาว. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4-7
Spec | Offset : กําหนดออฟเซตขององคอาคาร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4-8
Spec | Truss : กําหนดองคอาคารโครงถัก. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4 - 10
กําหนดจุดรองรับ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4 - 12
Constant : กําหนดคาคงที.่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4 - 14
User Provided Steel Table : ตารางเหล็กผูใชกําหนดเอง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4 - 19
Property Calculator : เครื่องมือชวยคํานวณหนาตัด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4 - 25

5 น้ําหนักบรรทุก
สรางโมเดล House 2D . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5-2
สรางกรณีบรรทุกหลัก : Create Primary Load. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5-3
กําหนดกรณีบรรทุกรวม : Define Load Combination. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5-8
Area Load . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 - 10
Floor Load. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 - 14
Wind Load Generation. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 - 16
Seismic Load Generation. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 - 26
SPro2006 : Load Envelope . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 - 33
6 การวิเคราะหและแสดงผล
Analysis/Print . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 2
Beam2D. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6-3
Post Processing Mode : โหมดหลังการคํานวณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 12
Local Coordinate : แกนพิกัดองคอาคาร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 16
Internal Hinge : จุดหมุนภายใน. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 18
Truss 2D : โครงถักสองมิติ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 21
User Customized Report : รายงานผูใชกําหนดเอง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 26
Inclined Support & Support Settlement : จุดรองรับแบบเอียงและจุดรองรับทรุดตัว . . 6 - 29
P-Delta Analysis . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 35
Bracing with Truss or Tension Members. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 41
Flat Slab & Shear Wall : พื้นไรคานและผนังเฉือน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 46
Spro2006 : Transfer Force for Connection Design. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 6 - 57

7 การออกแบบโครงสรางเหล็ก
สรางโมเดล Portal 2D . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7-2
กําหนดน้ําหนักบรรทุกออกแบบ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7-5
กําหนดพารามิเตอรออกแบบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7-6
คําสั่งออกแบบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7-8
วิเคราะหอีกครั้ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7-8
ตรวจสอบการออกแบบ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7-9
สั่งวิเคราะหและดูผลการคํานวณ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7 - 11
คํานวณตัวคูณความยาวประสิทธิผลอัตโนมัติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7 - 12
ออกแบบแผนรองฐานเสาโดยใช STAAD.etc . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7 - 15
ออกแบบองคอาคารเหล็กในSTAAD.etc | Steel Design. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7 - 18

8 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
สรางโมเดล RC Frame . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8-2
กําหนดน้ําหนักบรรทุกออกแบบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8-8
กําหนดพารามิเตอรออกแบบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8-8
กําหนดคําสั่งออกแบบ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8-9
ผลการออกแบบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 - 10
STAAD.etc | Component Design ออกแบบฐานราก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 - 12
STAAD.etc | Concrete Design หรือ RC Designer . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 - 15
RC Designer | Beam Design. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 - 20
RC Designer | Column Design. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 - 22
1
แนะนําโปรแกรม STAAD.Pro

รูจักกับโปรแกรม
STAAD.Pro เปนซอพทแวรวิศวกรรมโครงสรางที่ไดรับความนิยมที่สุดในการสรางแบบจําลอง
สามมิติ, การวิเคราะห, และการออกแบบ มีระบบติดตอกับผูใชงานแบบกราฟฟกที่ใชงานงาย มี
เครื่องมือในการแสดงผลที่หลากหลาย มีความสามารถในการวิเคราะหและออกแบบที่มีประสิทธิภาพ
ซอพทแวรใชงานไดกับทุกระบบปฏิบัติการวินโดวแตจะใชไดดีที่สุดกับ Windows XP
STAAD.Pro เปนโปรแกรมที่ถูกเลือกโดยมืออาชีพในการออกแบบทั่วโลกเลือกใช ทั้งการ
วิ เ คราะห แ บบสถิ ต ยศาสตร ห รื อ จลศาสตร ข องสะพาน, โครงสร า งถั ง บรรจุ , โครงสร า งใต ดิ น ,
โครงสรางเหล็ก, คอนกรีต, อลูมินั่ม หรือ โครงสรางไม, หอคอยเสาสง, สเตเดียม หรือโครงสรางที่
ซับซอนอื่นๆ

ความสามารถของเครื่องทีต่ ิดตั้ง
• เครื่อง PC ที่มีซีพียูเพนเทียมของอินเทลหรือเทียบเทา
• การดแสดงผลและหนาจอความละเอียด 1024x768, 256 สี (แนะนํา 16 bit high color)
• 128 MB RAM หรือมากกวา

• Windows NT 4.0 หรือระบบที่สูงกวา ไมแนะนําใหรันโปรแกรมบน Windows 95 &


Windows 98 เพราะสมถนะการทํางานตกลง โปรแกรมทํางานดีที่สุดบน Windows 2000 และ
XP
• พื้นที่วางเพียงพอในฮารดดิสก ขึ้นกับโมดูลที่ติดตั้ง โดยทั่วไปตองการอยางนอยที่สุด 500 MB
• ระบบมัลติมิเดียที่มีการดเสียงและลําโพงเพื่อรันวีดิโอและสไลดสอนการใชงาน
หมายเหตุ: การเพิ่ม RAM และความจุฮารดดิสกจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของโปรแกรม

STAAD.Pro: Introduction 1-1


นับตั้งแต STAAD.Pro 2001 เปนตนมาขนาดโครงสรางที่โปรแกรมจัดการไดมีขนาดเพิ่มขึ้นมาก
ทําใหขนาดของหนวยความจําจริงและแบบเสมือนเพิ่มขึ้นเกิน 600MB ผูใชจึงตองตรวจสอบวามี
หนวยความจําเพียงพอหรือไม

องคประกอบของ STAAD.Pro
STAAD.Pro เปนโปรแกรมที่มีการพัฒนาอยูตลอดเวลาในชุดโปรแกรมจะประกอบดวยโปรแกรม
ยอยตางๆดังนี้

STAAD.Pro ตัวโปรแกรมหลักใชสรางโมเดล วิเคราะหและออกแบบ


แสดงผลแบบกราฟฟกและแบบตาราง และสรางเปนรายงาน
OpenSTAAD เปนแหลงเก็บรวมฟงกชั่นของ STAAD.Pro ซึ่งจะ
ยอมใหผูใชนําไปใชในโปรแกรมของตนเองได

STAAD.etc เปนเครื่องมือชวยทางวิศวกรรมโครงสรางทุกอยางทั้ง
วิเคราะหและออกแบบไมวาจะเปน พื้น แผนรองฐานเสา ฐานราก และ
อื่นๆ

STAAD.foundation เปน โปรแกรมที่ใชในการวิเคราะหและ


ออกแบบฐานรากของโครงสร า งที่ ถู ก สร า งใน STAAD.Pro โดย
ออกแบบไดทั้ง ฐานเดี่ยว ฐานรวม ฐานรากแบบแพ และฐานรากเสาเข็ม

Section wizard เปนโปรแกรมที่ใชในการคํานวณคุณสมบัติหนาตัด


ของชิ้นสวนโครงสราง ตารางเหล็กตามมาตรฐานตางๆ และหนาตัดที่
ผูใชสรางขึ้นเอง

Advance Mesher เปนโปรแกรมแยกใชในการสราง mesh ของ


ชิ้นสวนที่เปนแผน เชนผนังและพื้น

STAAD.Pro: Introduction 1-2


การรันโปรแกรม STAAD.Pro
คลิกไอคอน STAAD.Pro จากกลุมโปรแกรม STAAD.Pro 2007

หนาจอหลัก STAAD.Pro แสดงขึ้นมาดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro: Introduction 1-3


หรือถาเปน STAAD.Pro 2005 และ 2006 หนาจอเริ่มตนจะเปน

คลิกเลือก Cancel แลวคลิกไอคอน Open Structure เพื่อเปดไฟลตัวอยางที่มีอยูแลว


เลือกไฟลตัวอยางจากในโฟลเดอร:
SPro2005/STAAD/Examp/US/EXAMP09.STD

STAAD.Pro: Introduction 1-4


สวนประกอบหนาจอ STAAD.Pro

หนาจอ STAAD.Pro เปนดังในรูปขางลาง มีสวนประกอบหลัก 5 สวนคือ

เมนูบาร (Menu Bar)


อยูบนสุดของหนาจอ เราสามารถเรียกไดทุกคําสั่งของ STAAD.Pro ไดจากเมนูนี้

ทูลบาร (Toolbar)
ทูลบารที่อยูถัดลงมาจากเมนูและที่อยูในแนวดิ่งดานซายซึ่งสามารถถอดเขาออกได ใชในการสั่งคําสั่ง
ที่ใชบอย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทํางาน โดยผูใชสามารถกําหนดไดเอง

เมนวินโดว (Main Window)


เปนพื้นที่ใหญที่สุดบริเวณกลางหนาจอ ใชแสดงโมเดลและผลการคํานวณ

เพจคอนโทรล (Page Control)


เปนชุดแถบดานขางซายของเมนวินโดว มีสองแถวคือแตละหนาหลัก (Pages) จะแยกออกเปนหนา
ยอย (Subpages) ใชทํางานเฉพาะอยาง การเรียงหนาหลักและหนายอยจะเปนไปตามลําดับการ
ทํางาน

พื้นที่ขอมูล (Data Area)


เปนพื้นที่ทางขวาของหนาจอ แสดงกลองโตตอบ (Dialog Boxes) ตาราง (Tables) หรือ กลอง
รายการ (List Boxes) ตางๆตามลักษณะการทํางาน

STAAD.Pro: Introduction 1-5


โหมดในการทํางาน
STAAD.Pro มีหลายโหมดการทํางาน เลือกไดจากเมนู Mode มีใหเลือกดังนี้

การสรางโมเดล (Modeling)
หรือโหมดกอนการประมวลผล (Pre-processing) เปนขั้นตอนในการกําหนดขนาดโครงสราง
น้ําหนักบรรทุก จุดรองรับ และอื่นๆ โดยปกติแลวเมื่อเริ่มใชงานโปรแกรมเขาสูโหมดนี้กอน

หลังการประมวลผล (Post -processing)


จะเปนขั้นตอนที่ผูใชตรวจสอบผลการคํานวณวิเคราะหของโปรแกรม ทั้งแบบกราฟฟกและแบบ
ตัวเลข ตลอดจนการสรางรายงานสรุป

การออกแบบเชิงปฏิสัมพันธ (Interactive Design)


จะใหผูใชออกแบบชิ้นสวนโครงสราง (จุดตอโครงสราง, ฐานราก, แผนเหล็กรองฐานเสา และอื่นๆ)

กอนการประมวลผลสะพาน (Bridge Deck Preprocessor)


จะใหผูใชสรางน้ําหนักบรรทุกบนหลังสะพานเนื่องจากการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ ใชกับโปรแกรม
ยอย STAAD.beava

งานทอ (Piping)
โหมดนี้จะใชรวมกับ ADLPIPE เพื่อใหสามารถเรียกดูรูปรางของโครงสรางดังกลาวได

โหมดสรางโมเดล
การสรางโมเดลใน STAAD.Pro ทําไดสองวิธีคือ
a. ใชไฟลคําสั่ง (Command file)

b. ใชการสรางแบบโตตอบเชิงกราฟก

ไฟลคําสั่งคือไฟลขอความบรรจุขอมูลโครงสราง โดยจะเปนคําสั่งในภาษาที่เขาใจงายตามรูปแบบ
ของ STAAD.Pro ผูใชสามารถสรางไฟลนี้ไดโดยใชโปรแกรมอิดิเตอรทั่วไปเชน Notepad หรือ
WordPad หรือใชที่มากับโปรแกรม STAAD.Pro โดยระหวางใชงาน STAAD.Pro ผูใชสามารถ
เปดไฟลคําสั่งขึ้นมาตรวจสอบและแกไขได

การเปด STAAD Editor ทําไดโดยการคลิกไอคอน บนทูลบาร

วิ ธีก ารสรา งแบบกราฟ ก จะใชเครื่ องมื อ ทางกราฟก ในโหมดสรา งโมเดล และกํ า หนดขอมู ลเช น
คุณสมบัติวัสดุ, คาคงที่ตางๆ, น้ําหนักบรรทุก และอื่นๆ โดยขณะที่สรางโมเดลไปไฟลคําสั่งก็จะถูก
สรางขึ้นโดยอัตโนมัติอยูเบื้องหลังซึ่งผูใชสามารถเปดดูไดตลอดเวลา

STAAD.Pro: Introduction 1-6


วิธีหนึ่งที่จะรูวาเราอยูในโหมดไหน คือดูจากขอความบนแถบสถานะดานลาง (ดูรูปขางลาง)

หนาตางๆในโหมดสรางโมเดล
หนาหลัก (Pages) และหนายอย (Subpages) ในโหมดการสรางโมเดลมีดังนี้คือ
• Setup
¾ Job
• Geometry
¾ Beam
¾ Plate
¾ Surface
¾ Solid
¾ Parametric Models
¾ Composite Deck
• General
¾ Property
¾ Spec
¾ Support
¾ Load
¾ Material
• Analysis/Print
¾ Pre-print
¾ Analysis
¾ Post-print
• Design
¾ Steel
¾ Concrete
¾ Timber
¾ Aluminum
¾ Footing
¾ Shearwall

STAAD.Pro: Introduction 1-7


2
การสรางโมเดล
เนื้อหาในบทนี้
„ ขั้นตอนการใชงาน STAAD.Pro
„ เริ่มตนโปรแกรม
„ สรางโมเดลโดยใช Structure Wizard
„ สรางโมเดลโดยใช Snap/Grid
„ สรางโมเดลโดยใช Copy/Cut และ Paste
„ สรางโมเดลจากขอมูลใน Spreadsheet (EXCEL)
„ สรางโมเดลจากไฟล นําเขา DXF (ACAD)

STAAD.Pro : Model Generation 2-1


ขั้นตอนการใชงาน STAAD.Pro
เพื่อใหการใชงาน STAAD.Pro เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ในเบื้องตนเราตองเขาใจขั้นตอน
การใชงาน STTA.Pro กันกอน

จากแผนภูมิขางบนจะเห็นวาเมื่อเปดไฟลใหมขึ้นมา ขั้นตอมาก็คือการสรางโมเดลซึ่งเปนหัวขอ
สําคัญที่เราจะกลาวถึงในบทนี้
โมเดลคือตัวโครงสรางที่เราตองการจะทําการวิเคราะหมีองคประกอบเชน เสา, คาน, พื้น, ผนัง
และอื่นๆ ซึ่งในการที่เราจะสรางโมเดลขึ้นมาใน STAAD.Pro ตองมีขอมูลดังนี้
• โครงสรางเปนแบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ
• ขนาดของแตละองคประกอบ
• คุณสมบัติวัสดุโครงสรางที่ใช, จุดตอ, จุดรองรับ
• น้ําหนักบรรทุก

STAAD.Pro : Model Generation 2-2


เริ่มตนโปรแกรม
คานตอเนื่องรับน้ําหนักดังแสดงในรูปขางลาง
จากหนาจอ STAAD.Pro เริ่มตน

ระบบหนวย (ความยาว, แรง, อุณหภูมิ)ในโปรแกรมมีสองระบบหนวยคือ ระบบอังกฤษ(นิ้ว,


ฟุต, ปอนด) และเมตริก(กิโลกรัม, เมตร) ซึ่งจะมีผลตอคาที่แสดงในภาพกราฟก, ตาราง, และ
รายงาน รวมถึงคาคงที่ตางๆที่จะใชในการคํานวณเชน โมดูลัสยืดหยุน, ความหนาแนน, และ
อื่นๆ ของวัสดุที่เลือกใชคือ เหล็ก, คอนกรีต, อลูมินั่ม
ในระหวางการติดตั้งโปรแกรมจะใหผูใชเลือกหนวยที่จะใชเปนประจํา แตเราสามารถ
เปลี่ยนไดโดยเลือกหัวขอ Configure ในชอง Project Tasks

STAAD.Pro : Model Generation 2-3


ในตัวอยางนี้เราจะเลือกระบบ Metric

คลิกปุม Accept เพื่อปดกลองตัวเลือกขางบน


จากนั้นเลือกเมนู File | New หรือเลือก New Project จากกรอบ Project Tasks

STAAD.Pro : Model Generation 2-4


เมื่อโปรแกรมถูกโหลดขึ้นมาจะแสดงหนาตาง New ดังในรูป แลวใสขอมูลดังนี้
 ชนิดโครงสราง : Space  หนวยแรง : KiloNewton
 ชื่อไฟล : Structure1  เสร็จแลวคลิกปุม Next
 หนวยความยาว : Meter

คลิกปุม Next
ในหนาตางที่ปรากฎตอมาใหเลือก Add Beam แลวคลิกปุม Finish

STAAD.Pro : Model Generation 2-5


เมื่อโปรแกรมถูกโหลดเขามาจะแสดงแบบเสนกริดเริ่มตนในพื้นที่โมเดลหลักในรูปขางลาง ไอ
คอนแสดงทิศทางแกนพิกัดรวม(Global Axes: X, Y, Z) จะอยูที่มุมซายลางของจอ

STAAD.Pro : Model Generation 2-6


วิธีสรางโมเดล
ใน STAAD.Pro เรามี วิ ธี ส ร า งโมเดลได ห ลายวิ ธี ใ ห ผู ใ ช เ ลื อ กตามความเหมาะสมของ
โครงสราง ความถนัดของผูใช เพื่อใหการสรางโมเดลทําไดอยางสะดวกรวดเร็ว และมีโอกาส
ผิดพลาดนอยมาก ทางเลือกในการสรางโมเดลมีดังนี้คือ :
• สรางแบบสําเร็จรูปโดยใช Structure Wizard

• สรางโมเดลโดยผูใชวาดเองใช Snap/Grid

• ใชการ Copy/Cut และ Paste


• ใชขอมูลจากสเปรดชีตเชน Excel
• นําเขาไฟล DXF จาก AutoCAD

วิธีที่ 1 : สรางโมเดลโดยใช Structure Wizard


Structure Wizard เปนสวนที่จะชวยผูใชสรางโมเดลอยางรวดเร็ว โดยการใสขอมูลเพียง
เล็กนอย เริ่มโดยการเลือกจากเมนู Geometry | Run Structure Wizard หนาตางที่แสดง
ขึ้นมาจะมีหนาตาดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Model Generation 2-7


เลือกชนิดของโมเดลที่ตองการสรางจากชอง Model Type โดยมีใหเลือก 7 แบบคือ
• โมเดล Truss • โมเดล Frame
• โมเดล Surface/Plate • โมเดล Solid
• โมเดล Composite • โมเดล CAD นําเขา
• โมเดล VBA-Macro

ในหนาจอสวนลางจะมีโครงสรางในแตละแบบใหเลือก เชนในกรณีของโมเดล Frame มี


โครงสรางใหเลือกคือ
• Bay Frame • Grid Frame
• Floor Grid • Continuous Beam
• Cylindrical Frame • Reverse Cylindrical Frame
• Circular Frame

 Frame Models / Bay Frame


Bay Frame เปนเฟรมสามมิติที่ประกอบดวยเสาและคาน ดับเบิลคลิกไอคอน Bay Frame
จะมีหนาตางใหกรอกขอความแสดงขึ้นมา

กรอกคาขอมูลดังตอไปนี้ :
• Length : ความยาวหรือขนาดในแนวแกน X

• Height : ความสูงหรือขนาดในแนวแกน Y

• Width : ความกวางหรือขนาดในแนวแกน Z

• จํานวนชองตามความยาว
• จํานวนชั้นตามความสูง
• จํานวนชองตามความกวาง

STAAD.Pro : Model Generation 2-8


หมายเหตุ  ตัวเลขทั้งหมดตองเปนบวก
 ถาไมตองการขนาดในทิศทางไหนใหใสเปนศูนย โครงสรางจะกลายเปนสองมิติ
 แตละชองจะถูกแบงเทากัน เชนยาว 12 เมตร จํานวน 3 ชอง แตละชองจะยาว 4 เมตร
„ ถาแตละชองยาวไมเทากัน ใหคลิกปุมที่มีสามจุด (ทางดานขวาของ Number of bays)
กําหนดระยะของแตละชอง อยาลืมวาผลรวมทุกชองจะตองเทากับความยาวทั้งหมด

STAAD.Pro : Model Generation 2-9


เมื่อไดโมเดลที่ตองการแลว เลือกเมนู File | Merge Model with STAAD.Pro Model
หรือปดหนาตาง Structure Wizard โปรแกรมจะถามวาจะนําโมเดลที่สรางเขาสู
STAAD.Pro โปรแกรมหลักหรือไม?

 Frame Models / Grid Frame


เปนเหมือน Bay Frame ที่ยกเวนหนึ่งแกน จะไดผังคานพื้นในแนวระนาบ X-Z ดังในรูป

 Frame Models / Floor Grid


เปนโครงสรางสองมิติในแนวระนาบ X-Z โดยดับเบิลคลิกไอคอน Floor Grid

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 10


 Frame Models / Continuous Beam
เปนโครงสรางหนึ่งมิติในแนวแกน X โดยดับเบิลคลิกไอคอน Continuous Beam

 Truss Models / All types


จากรายการในชองชนิดโมเดลเลือก Truss Models จะมีโครงสรางตางๆใหเลือกดังนี้

เมื่อคลิกเลือกไอคอนจะมีกลองโตตอบแสดงขึ้นมาใหกรอกขอมูลเหมือนกันคือ

จากในรูปคาพารามิเตอรที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดคือ :
• Length : ความยาวหรือขนาดในแนวแกน X

• Height : ความสูงหรือขนาดในแนวแกน Y

• Width : ความกวางหรือขนาดในแนวแกน Z สําหรับโครงถักสามมิติ ถาตองการสองมิติ


ใหใสคาเปนศูนย

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 11


• จํานวนชองตามความยาว
• จํานวนชั้นตามความกวาง ใสคาเปนศูนยถาเปนโครงถักสองมิติ
 จุดอางอิง
ในหัว ขอกอนหนานี้ไดก ลาวถึงวิธีสรางโมเดลใน Structure Wizard และวางลงใน
STAAD.Pro ในกรณีที่ยังไมมีโครงสรางอยู

คราวนี้จะลองวางโมเดลจาก Structure Wizard ลงใน STAAD.Pro ที่มีโครงสรางเดิมอยู


ใหทําตามขั้นตอนดังนี้
• สรางโมเดลใน Structure Wizard
• เลือก Edit/Add Paste Model ใน STAAD.Pro หรือคลิกปุม Transfer Model จาก
ทูลบาร
• ยืนยันการสงผานโดยคลิก Yes กลองโตตอบจะแสดงขึ้นมา

เราสามารถใส คาพิ กั ด XYZ ได เ ลย โดยระยะจาก 2 nodes หรือ(วิธีนี้ดีก วา)คลิก ปุม


Reference Pt

จะมีหนาจอแสดงขึ้นมาใหเรากําหนด node เพื่อสรางโมเดล คลิกเลือก node แลวกด OK

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 12


รูปแบบของตัวชี้จะเปลี่ยนไปดังนี้

คลิกที่ node ที่ตองการในหนาตาง STAAD.Pro โปรแกรมจะกลับมาแสดงกลองโตตอบเดิม


พรอมดวยพิกัดที่กรองแลวของจุดที่ตองการ ดังแสดงในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 13


คลิก OK เพื่อยอมรับผล STAAD.Pro จะแสดงขอความวา Duplicate nodes ignored
หมายความวา nodes ทั้งสอง (หนึ่งจากโครงสรางเดิม และอีกหนึ่งจากโมเดลใหมที่สรางขึ้น)
นั้นทับซอนกันอยูที่พิกัดเดียวกัน ดังนั้น STAAD จึงยกเลิก node ที่มาจากโมเดลที่สรางใหม
ใหคลิก OK

ในทํานองเดียวกัน ในกรณีของ Beam ขอความจะแสดงวา Duplicate beams ignored

แบบฝกหัด : การใช Structure Wizard สรางโครงถักโดยใชจุดอางอิง


1. เปดไฟลใหมขึ้นมาโดยเลือกแบบ Space และ Add Beam
2. เลือก Geometry / Run Structure Wizard
3. เลือก Frame Models / Bay Frame ใสขอมูลดังในรูปขางลาง

Length: 9 m แบงเปน 4 ชวง: 2 + 2.5 + 2.5 + 2

Height: 12 m แบงเปน 3 ชวง: 4 + 4 + 4

Width: 16 m แบงเปน 3 ชวง: 5 + 6 + 5

4. เลือกเมนู Edit | Add/Paste Model in STAAD.Pro แลวกด Yes เพื่อยืนยัน


5. ใสคาพิกัดในการวางที่ X = 0, Y = 0, Z = 0 คลิก OK
6. เราอาจปดเสนกริดไดโดยคลิกปุม Close ปดหนาตาง Snap Node/Beam ทางดานซาย โดย
สามารถเปดกลับมาคืนได โดยเลือกเมนู Geometry | Snap Grid/Node | Beam

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 14


7. เลือกเมนู Geometry | Run Structure Wizard อีกครั้ง คราวนี้เลือก Truss Models /
Howe Roof ใสคาพารามิเตอรดังในรูปขางลาง

Length: 9 m แบงเปน 4 ชวง: 2 + 2.5 + 2.5 + 2


Height: 3 m
Width: 16 m แบงเปน 3 ชวง: 5 + 6 + 5

จะไดโครงหลังคาดังแสดงในรูป ขั้นตอไปคือการนําไปวางบนอาคารหรือ Bay Frame ที่เรา


สรางและนําไปวางใน STAAD.Pro กอนหนานี้

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 15


8. เลือกเมนู Edit | Add/Paste Model in STAAD.Pro แลวกด Yes เพื่อยืนยัน
9. คลิกปุม Reference Pt. คลิกเลือกจุดที่เปนจุดรวมของทั้งสองโมเดลและสังเกตไดงาย เชนใน
กรณีนี้เราเลือกจุดมุมซายลางดังในรูป แลวคลิก OK เพื่อยอมรับ

10. คลิกที่จุด node บนเฟรมที่มุมซายบน ยืนยันโดยคลิก OK

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 16


 Surface / Plate Models / Quad Plate
ใชเพื่อสรางแผนแบบสามจุดหรือสี่จุด บนระนาบ XY, XZ และ YZ โดยเลือกจากรายการ
โมเดล Surface/Plate Models แลวดับเบิลคลิกไอคอน Quad Plate กรอกขอมูลดังนี้

ในกรอบ Element Type (ทางดานขวา) เลือก Quadrilateral แบบกําหนดสี่จุดมุมคือ A,


B, C และ D แกน XYZ ไมไดหมายถึงระบบแกน XYZ จริง แตเปนแกน XYZ ใน
Structure Wizard การใช XYZ จะบอกโปรแกรมวาเราตองการสรางแผนในระนาบไหน
เชนในรูปอยูในระนาบ XZ

อีกตัวอยางหนึ่งลองกําหนด ABCD เปน:


A = 0, 0, 0
B = 0, 4, 0
C = 0, 4, 5
D = 0, 0, 5

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 17


ตอนใสคาพิกัดของสามหรือสี่จุด ตองใสแบบวนตามเข็มนาฬิกา หรือทวนเข็มนาฬิกา
STAAD.Pro จะคํานวณความยาวของแตละดานโดยอัตโนมัติ

ในสวนของ Bias และ Division กําหนดจํานวนชองที่จะแบงในแตละดาน โดยคา Bias จะถูก


ตั้งไวที่ 1 หมายความวาแผนจะถูกแบงเทาๆกัน
คลิ ก Apply แล ววางลงบนโครงสร า งในหน าตาง STAAD.Pro โดยใชจุด อ างอิง ตามใน
หัวขอกอนหนานี้
หมายเหตุ เมื่อเราวางแผนขนาด 1X1 m บนคาน 2 m คานจะถูกแบงเปนสวนละ 1 m โดยสราง node
ใหมที่กึ่งกลางคานดังแสดงในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 18


แบบฝกหัด : การใช Structure Wizard สรางแผนพืน้
1. ทํางานตอจากไฟลเดิม Bay Frame + Truss

2. สรางแผนสี่เหลี่ยมตามขอมูล
A = 0, 0, 0 B = 2, 0, 0
C = 2, 0, 5 D = 0, 0, 5
AB Division = 2 BC Division = 5
CD Division = 2 DA Division = 5 Bias = 1

3. วางพื้นที่สรางลงในโครงสรางตามรูปขางลาง

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 19


วิธีที่ 2 : สรางโมเดลโดยใช Snap/Grid
Snap/Grid เปนเครื่องมือสําหรับใหผูใชสรางโมเดลดวยตนเอง

หนาตาง Snap/Grid จะเปดขึ้นมาเมื่อผูใชเริ่มสรางโมเดลใหมโดยอัตโนมัติ

ถาเราเผลอปดไปหรือหาไมเจอ ก็สามารถเรียกขึ้นมาไดหลายวิธีดังนี้
• คลิกเลือกแถบ Geometry จากแถบหนาควบคุมแนวดิ่งดานขาง
• เลือกเมนู Geometry | Snap/Grid Node | Beam
• คลิกไอคอน Snap Node/Beam จาก Geometry ทูลบารดานบน

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 20


ในหนาตาง STAAD.Pro หลักจะแสดงเสนกริดในระนาบ XY ดังในรูปขางลาง

„ เลือกวาจะสรางโมเดลบนระนาบไหน XY, XZ, หรือ YZ


„ กําหนดมุมของระนาบ (ปลอยเปน 0 ไวกอน)
„ กําหนดจํากําเนิด (ปลอยไวที่ 0,0,0)
„ กําหนดเสนรางโดยคํานึงถึงประเด็นตางๆดังนี้
• ถาเราตองการใหจุดกําเนิดอยูที่ 0,0,0 ชอง Left ของ X และ Y ตองมีคาเปน 0
• ในชอง Right ของทั้ง X และ Y ใสจํานวนชองกริดที่ตองการในแนวแกนนั้น
• ในชอง Spacing จะมีสองชองใหใสคา m และ Skew ในชอง m ใหใสความยาว
ของแตละชองกริด ตัวอยางเชนถาเราใสคาในชอง Right = 10 และ m = 1 ความ
ยาวทั้งหมดคือ 10 × 1 = 10 m
„ คลิกปุม Snap Node/Beam เปนการเปดใชงานเริ่มวาดโมเดล
• กากบาทสีดําเขมจะปรากฎขึ้นตามตําแหนงที่เราชี้ตามจุดกริด
• พิกัดของจุดจะแสดงขึ้นที่ดานลางขวาของหนาจอ

• วงกลมซึ่งจะปรากฏขึ้นที่มุมลางซายของกริดซึ่งเปนจุดกําเนิด

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 21


Adding Beam : วาดคาน

„ คลิกปุม Snap Node/Beam เปนการเปดใชงานเริ่มวาดโมเดล


„ คลิกที่เริ่มตนแลวคลิกที่จุดตอไปเรื่อยๆจนเสร็จ คลิกถอนปุม Snap Node/Beam
ขณะที่คลิกจะสังเกตเห็นจุดแดงกระพริบเรียกวา Hot Spot จะเปนจุดเริ่มตนขององคอาคารที่
กําลังถูกสรางไลเรียงตอกันไปเรื่อยๆดังในรูปขางลาง

การเปลี่ยนจุด “Hot Spot”


การที่ Hot Spot ซึ่งเปนจุดตั้งตนของการสรางองคอาคารใหมจะเปนจุดปลายขององคอาคาร
กอนหนา จะเหมาะสําหรับโครงสรางที่ยาวตอกันเชน คานตอเนื่อง แตในโครงสรางอื่นบางครั้ง
เราตองการจุดเริ่มตนใหมเพือ่ สรางองคอาคารใหม เราสามารถทําไดโดยการคลิกปุม Snap
Node/Beam ขึ้น แลวคลิกปุมนี้ลงอีกครั้งเพื่อเริ่มตนใหม หรือกดปุม
 Ctrl คางไว แลวเลื่อน
Cursor ไปคลิกยังจุดเริ่มตนใหมที่ตองการ

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 22


การแกไขขอผิดพลาด
ในการสรางโมเดลเราลากเสนผิดได ใหคลิกปุม Snap Node/Beam ขึ้น เพื่อหยุดการสราง
กอน แลวคลิกที่องคอาคารที่วาดผิด ซึ่งจะถูกเนนเปนสีแดงดังในรูปขางลางใหกดปุม Delete
เพื่อลบออก

หนาตางขอความจะปรากฏขึน้ มาใหยืนยันการลบ เมื่อคลิก OK โปรแกรมจะถามวาจะลบ


Node จะตออยูดวยหรือไม

ถามี Node เหลืออยูอาจใช Node Cursor คลิกเลือกเพื่อลบทีละจุด หรือถามีหลายจุดอาจ


เลือกเมนู Tools | Orphan Nodes | Remove

การแสดงระยะระหวาง Nodes
คลิกไอคอน หรือเลือกเมนู Tools | Display Node to Node Distance เคอรเซอรจะ
เปลี่ยนรูปเปนแบบไอคอนใหคลิกที่ Node ทั้งสองที่ตองการรูระยะ

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 23


การใชสเปรดชีตในการสรางและแกไขโมเดล
เราสามารถสรางและแกไขโมเดลไดโดยตรงในหนาตาง Nodes และ Beams ซึ่งมีลักษณะเปน
ตารางสเปรดชีตในหนา Geometry หรือเลือกเมนู Geometry | Nodes

การใชเครื่องมือ Add Beam from Point to Point


เลือกเมนู Geometry | Add Beam จะมีเมนูยอยใหเลือกคือ

Add Beam from Point to Point เพิ่มคานใหมระหวางจุด เคอรเซอรจะเปลี่ยนเปน ใน


STAAD.Pro เวอชั่นเกา การเพิ่มคานตองเลือกจุดเริ่มตนและปลายที่เปน Nodes ที่มีอยูแลว แต
ในเวอชั่นใหมนี้เราสามารถสราง Nodes ปลายคานใหมได

คลิกที่จุดใดๆบนคานที่มีอยูเดิมซึ่งตองการใหเปนจุดเริ่มตนของคานใหม ถาตําแหนงนั้นยังไมมี
Node จะปรากฏกลองขอความขึ้นมาถามวาจะสราง Node ใหมหรือไม

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 24


Adding Plates : วาดแผนพื้น
„ เลือกเมนู Geometry | Snap/Grid Node | Plate | Quad
„ คลิกเลือกระนาบ X-Z ในการวาด
„ คลิกปุม Snap Node/Plate เปนการเปดใชงานเริ่มวาดโมเดล
„ คลิกจุดเริ่มตน และคลิกตอไปจนครบสี่จุด แลวคอยถอนปุม Snap Node/Plate

เมื่อสรางแผนแรกเสร็จจุดกากบาทดําจะใหเราสรางแผนถัดไปตอจากแผนแรก ถาไมตองการ
สรางตอกันใหกด Ctrl คางไว แลวที่จุดเริ่มตนใหม
Fill Plates : ระบายสีแผนพื้น
„ เพื่ อ ให ม องเห็ น แผ น พื้ น ชั ด เจนขึ้ น ให ค ลิ ก ขวาในพื้ น ที่ ห น า จอ เลื อ ก Structure
Diagrams จากรายการที่แสดงขึ้นมา

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 25


ในกรอบ View คลิกเลือก Fill Plate/Solids/Surface แลวคลิก OK

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 26


แบบฝกหัด : สรางโมเดลโดยใช Snap/Grid
1. เริ่มไฟลใหมแบบ Space Frame
2. เลือกแถบ Geometry จาก Page Control
3. คลิกเลือกระนาบ X-Y ในการทํางาน
4. ในสวนของเสนราง ใสขอมูลดังนี้ :
For X, Left = 0, Right = 3, m = 4
For Y, Left = 0, Right = 2, m = 3
5. คลิกเปด Snap Node/Beam
6. คลิกตามพิกัดดังนี้ (ใชแถบแสดงพิกัดชวย)
0, 0, 0
0, 3, 0
12, 3, 0
12, 0, 0
กดปุม Ctrl คางไวแลวคลิกที่ 4, 3, 0
4, 0, 0
กดปุม Ctrl คางไวแลวคลิกที่ 8, 3, 0
8, 0, 0
7. ตอนนี้โมเดลของเราควรจะมีลักษณะดังในรูปขางลางนี้ :

8. เปลี่ยนระนาบทํางานเปน X-Z

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 27


9. เปลี่ยนจุด Origin เปน 0, 3, 0 เสนกริดจะลอยขึ้นมาอยูดานบนของโครง

10. ในสวนของเสนราง ปลอยใหคาแกน X เหมือนเดิม เปลี่ยนคาแกน Z เปน Left = 0,


Right = 1, m = 4

11. คลิกตามพิกัดดังนี้ (ใชแถบแสดงพิกัดชวย)


0, 3, 0
0, 3, 4
12, 3, 4
12, 3, 0
Ctrl + 4, 3, 0
4, 3, 4
Ctrl + 8, 3, 0
8, 3, 4

12. โมเดลจะมีลักษณะดังในรูปขางลางนี้ :

13. ลองสรางโมเดลเพิ่มเติมใหไดดังในรูปขางลางโดยใชวิธีเดิม :

14. ปด Snap Node/Beam

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 28


15. ใช Geometry ทูลบาร คลิก Snap Grid/Node | Plate | Quad เพื่อวาดแผนพื้น

16. เปลี่ยนระนาบเปน X-Z

17. เปลี่ยน Origin เปน 0, 3, 0

18. ในสวนของเสนราง Construction Lines :


For X, Left = 0, Right = 3, m = 4
For Z, Left = 0, Right = 1, m = 4

19. คลิกตามพิกัดดังนี้ (ใชแถบแสดงพิกัดชวย) (คลิกวนตามเข็มนาฬิกาหรือตามเข็ม)


4, 3, 0
0, 3, 0
0, 3, 4
4, 3, 4
8, 3, 4
8, 3, 0
4, 3, 0
Ctrl + 8, 3, 0
8, 3, 4
12, 3, 4
12, 3, 0

20. เลือกเมนู View | Structure Diagram… คลิก Fill Plates/Solids/Surface


โมเดลจะมีลักษณะดังในรูปขางลางนี้ :

* คลิก node วนตามเข็มกับทวนเข็มจะไดแผนพื้นคนละสีกัน

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 29


การเปลี่ยนมุมมอง : Viewing
การเปลี่ยนมุมมองของโมเดลสามารถทําไดโดยสะดวกโดยคลิกจากทูลบาร Viewing

มุมมองจากแกน +Z เปนมุมมองดานหนา

มุมมองจากแกน –Z เปนมุมมองดานหลัง

มุมมองจากแกน –X เปนมุมมองดานซาย

มุมมองจากแกน +X เปนมุมมองดานขวา

มุมมองจากแกน +Y เปนมุมมองดานบน

มุมมองจากแกน -Y เปนมุมมองดานลาง

มุมมองไอโซเมตริก (Isometric) แบบสามมิติที่เราใชมาตั้งแตแรก

นอกจากนั้นยังสามารถหมุนไดอีก 6 แบบ ไดแก :


หมุนขึ้น & หมุนลง รอบแกน X

หมุนซาย & หมุนขวา รอบแกน Y

หมุนซาย & หมุนขวา รอบแกน Z

กําหนดจุดหมุน

*เราสามารถใชปุมลูกศรในการหมุนโมเดลเชนกัน
- ลูกศร ขวา และ ซาย หมุนรอบแกน Y
- ลูกศร ขึ้น และ ลง หมุนรอบแกน X

การเลือก Node, Beam และ Plate


เราตองเลือก node, beam หรือ plate กอน จึงจะใชคําสั่งกับองคอาคารนั้นๆได

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 30


ขั้นตอนแรกในการเลือกใน STAAD.Pro คือการใชเคอรเซอรที่ถูกตอง
Node Cursor ใชเลือก node

Beam Cursor ใชเลือก beam

Plate Cursor ใชเลือก plate

หลังจากเลือกเคอรเซอรแลว เรามีวิธีเลือกองคอาคารทั้งหมดสี่วิธีไดแก :

Single Selection
คลิกที่ node, beam หรือ plate ที่ตองการ องคอาคารที่ถูกเลือกจะถูกไฮไลทเปนสีแดงดังใน
รูปขางลาง

ในพื้นที่ขอมูล คลิกที่หมายเลข node, beam หรือ plate ที่ตองการ

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 31


Multiple Selection
ถาตองการเลือกมากกวาหนึ่ง ใหคลิกเลือกองคอาคารแรก กด Ctrl คางไวแลวคลิกเลือกองค
อาคารตอไป

จากพื้นที่ขอมูลคลิกที่หมายเลของคอาคารที่ตองการ โดยใชการกด Ctrl คางเหมือนเดิม

ตีกรอบลอมรอบองคอาคารที่ตองการ

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 32


สําหรับคาน กึ่งกลางคานเปนจุดสําคัญที่ตองตีกรอบลอมถาตองการเลือก

Ctrl A : เพื่อเลือกองคอาคารทั้งหมด node, beam หรือ plate ตามชนิดเคอรเซอร

Unselect : ถาเปลี่ยนใจไมตองการเลือก ใหคลิกในพื้นที่วาง

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 33


การเลือกในมุมมองสามมิติ
ใชการเปลี่ยนมุมมองมาชวยในการเลือกองคอาคารหลายองคอาคารพรอมกัน การใชมุมมอง
สามมิติตางๆจะชวยใหเราเลือกองคอาคารซึ่งถามองในระนาบจะซอนบังกันอยู
ลองใช Structure Wizard สรางโครงอาคารสามมิติดังในรูปขางลาง

คลิกไอคอน View From +Z เปลี่ยนมุมมองเปนดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 34


คลิกที่คานตัวหนึ่งดังในรูป :

คลิกเปลี่ยนเปนมุมมอง Isometric จะพบวา :

*เพื่อใหการเลือกองคอาคารสามมิติทําไดรวดเร็วขึ้น ควรใชการตีกรอบเลือกจากในมุมมองสอง
มิติในทิศทางตางๆกันประกอบ

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 35


วิธีที่ 3 : การสรางโมเดลโดยใช Copy/Cut และ Paste
วิธีสรางโมเดลที่ไดกลาวถึงมาแลวสองวิธีเปนการสรางโมเดลขึ้นมาใหม ในกรณีที่โมเดลมี
ลักษณะซ้ําๆกัน การกอปปจะชวยทําใหเร็วขึ้น
ขั้นตอน : - เลือกวัตถุที่ตองการกอปป (โหนด, คาน หรือ พื้น) โดยใชเคอรเซอรที่ถูกตอง
- เลือกเมนู Edit | Copy หรือกด Ctrl C (ถาจะลบของเดิมเลือก Edit | Cut หรือ Ctrl X)
- เลือกเมนู Edit | Paste หรือกด Ctrl V

„ เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกชนิดโครงสราง Plane หนวยความยาว Meter

„ ปรับมุมมองและเสนราง แลววาดโครงกวาง 5 m สูง 4 m ดังในรูป

„ กด Shift B ใหแสดงหมายเลของคอาคาร คลิกเลือกองคอาคารหมายเลข 2 และ 3 ดังในรูป

„ กด Ctrl C ตามดวย Ctrl V หนาตาง Paste with Move จะแสดงขึ้นมาใหเรากําหนด


ตําแหนงในการวาง ใหใสคา X = 5 คือวางถัดไปทางขวาเปนระยะทาง 5 เมตร

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 36


„ สวนที่ถูกเลือกจะถูกทําซ้ําและวางในตําแหนงที่กําหนด เลือกองคอาคารตอดังในรูป

„ กด Ctrl C และ Ctrl V คราวนี้ใสคา X = 10 m จะได

„ ตอไป เราจะทําชั้นสอง คลิกเลือกองคอาคารตามในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 37


„ กด Ctrl C และ Ctrl V จากนั้น ใสคา Y = 4 m จะได

„ ทําซ้ําอีกครั้งจนได โครงสรางตามในรูปขางลาง กด Shift N ใหแสดงหมายเลขโหนด

การเรียงโหนดดวยคําสั่ง Renumber
คราวนี้เราจะมาเรียงหมายเลขโหนดของโครงสรางที่สรางขึ้นมา

 เลือกโหนดทั้งหมดโดยใช Node Cursor แลวกด Ctrl A

 เลือกเมนู Geometry | Renumber | Nodes…

 ขอความเตือนจะแสดงขึน้ มา

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 38


 อานขอความอยางระมัดระวัง เพราะเราจะไมสามารถแกไขยอนกลับหรือ Undo ได

 ในหนาตางตอมาใหคลิกเลือกดังในรูปขางลาง

 เลือกหมายเลขเริ่มตน Start numbering from จะเรียงขึ้นหรือเรียงลง Ascending หรือ


Descending จากนั้นกําหนดเงื่อนไขการเรียง Sort Criteria

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 39


วิธีที่ 4 : การสรางโมเดลโดยใช Spreadsheet (EXCEL)
การสรางโมเดลโดยวิธีนี้เหมาะสําหรับผูใชที่มีความชํานาญในการใช Excel โดยมักจะใชสูตร
คํานวณพิกัดแลวก็อปปขอมูลโดยใช OLE มายัง STAAD.Pro เพื่อสรางโมเดล
ขั้นตอน : เริ่มโปรแกรม Excel (หรือซอฟทแวร spreadsheet อื่น)
สรางขอมูลโดยอาจใชสูตรคํานวณพิกัด X, Y, Z (โดยเฉพาะเมื่อโครงสรางเปนเสนโคง)
เลือกคอลัมนที่มีคา X, Y, Z (เลือกเฉพาะคาตัวเลข)
จากเมนู Excel เลือก Edit | Copy
เขาโปรแกรม STAAD.Pro
ไปยังหนา Geometry ในตาราง Nodes เลือกโหนดหมายเลขหนึ่งดังในรูป

เลือกเมนู Edit | Paste หรือคลิกขวาแลวเลือก Paste กลองโตตอบจะแสดงขึ้นมา

คลิกปุม Change Mapping เพื่อเลือกคอลัมนแรกเปน X, คอลัมนที่สองเปน Y และคอลัมนที่


สามเปน Z แลวคลิก OK โหนดใหมจะถูกสรางขึ้นมา

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 40


Add Beams จากขั้นตอนที่กลาวมา เราพึ่งสรางโหนดเทานั้น ตองใช Add Beams เพื่อ
สรางคานเชื่อมระหวางโหนด

จากทูลบาร Geometry เลือก Add Beam หรือเลือกเมนู Geometry |


Add Beam | Add Beam from Point to Point

ลักษณะของตัวชี้เมาทจะเปลี่ยนไปดังรูป คลิกที่โหนดแรกแลวลากไปที่
โหนดที่สอง ทําตอไปจนครบทั้งหมด
Note เราสามารถใช Add Beams ชวยในการสรางองคอาคารยึดโยงในโครง
Add 3-Noded Plates ใชสําหรับเชื่อมตอโหนดดวยแผนพื้นสามเหลี่ยม
จากทูลบาร Geometry เลือก Add 3-Noded Plates หรือเลือกเมนู
Geometry | Add Plate | Triangle
ลักษณะของตัวชี้เมาทจะเปลี่ยนไปดังรูป คลิกที่โหนดแรกแลวลากไปที่
โหนดที่สอง และโหนดที่สาม จะไดแผนสามเหลี่ยม
Add 4-Noded Plates ใชสําหรับเชื่อมตอโหนดดวยแผนพื้นสี่เหลี่ยม
จากทูลบาร Geometry เลือก Add 4-Noded Plates หรือเลือกเมนู
Geometry | Add Plate | Quad
ลักษณะของตัวชี้เมาทจะเปลี่ยนไปดังรูป คลิกที่โหนดแรกแลวลากไปที่
โหนดที่สอง โหนดที่สาม และโหนดที่สี่ จะไดแผนสี่เหลี่ยม
การใช Labels ในหนาตาง STAAD.Pro คลิกขวา จะมีรายการเมนูแสดงขึ้นมา เลือก
Labels จากรายการ จะมีกลองโตตอบแสดงขึ้นมาใหเปด Node Numbers
Node Points, Beam Numbers และ Plate Numbers

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 41


การสรางโครงหลังคาโคงโดยใช Excel ชวยคํานวณพิกัด
ในการสรางโมเดลหลังคาโครงถักโคงดังแสดงในรูปขางลาง
(XT ,YT )

(XR,YR)
2m
(XL,YL)

1m

8m 6m

เราจะใช Excel ชวยในการคํานวณพิกัดโหนดตามความโคงของหลังคา โดยจะคิดใหความโคง


เปนสวนของวงกลมขนาดใหญมีรัศมีความโคงเทากับ R ดังแสดงในรูปขางลาง โดยจะยึดจุด
บนสุดของโครง (XT, YT) เปนจุดอางอิงสําหรับระยะตางๆ
(XT ,YT)
(Xi,Yi)
รัศมี R คํานวณไดจาก:
ΔYL ΔYR

ΔXR (XR,YR) ( R − ΔYL ) 2 + ΔX L2 = R 2


(XL,YL) ΔXL

ΔX L2 + ΔYL2
R =
2ΔYL

R
R R
R
สําหรับพิกัด (Xi, Yi) ใดๆ คํานวณ ΔYi2
จากคา ΔXi2 ไดจาก:
( R − ΔYi ) 2 + ΔX i2 = R 2

ΔYi = R − R 2 − ΔX i2

Origin

 สําหรับโครงหลังคาในรูปขางบนมีคา ΔXL = 8 m และ ΔYL = 2 m


82 + 22
รัศมีความโคง R = = 17 m
2× 2

 เริ่มตนโปรแกรม Excel สรางขอมูลแตละคอลัมนดังนี้


Column Xi = 0, 1, 2,…, 14

Column DeltaX = -8, -7, …, 0, 1, 2,…, 6

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 42


Column DeltaY = 17 - @sqrt(17^2 – DeltaX^2)

Column Y1 = DeltaY + 2

Column Y2 = DeltaY + 3

Column Z = 0, 0, …, 0

 เริ่ ม ต น โปรแกรม STAAD.Pro เลื อ กชนิ ด โครงสร า งแบบ Truss ตั้ ง ชื่ อ ว า
CurvedTruss หนวยความยาว Meter

 ใน Excel ตีกรอบเลือกเฉพาะขอมูลที่เปนตัวเลขดังในรูปขางบน กด Ctrl+C

 ใน STAAD.Pro ในหนา Geometry ปดหนาตาง Snap Node/Beam คลิกรายการแรก


ในหนาตาง Nodes

 เลือกเมนู Edit | Paste หรือคลิกขวาที่รายการแลวเลือก Paste

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 43


 คลิกปุมในชอง Change Mapping เลือกคอลัมนใหตรงกับขอมูลดังนี้
COLUMN 1 <=> X
COLUMN 4 <=> Y
COLUMN 6 <=> Z
สวน COLUMN อื่น เลือกเปน Not Mapped คลิกปุม OK

 คลิกไอคอน Add Beam ลากคานเชื่อมโหนด

 กอปปขอมูลจากใน Excel อีกครั้ง คลิกขวาเลือกที่รายการโหนดสุดทายแลว Paste

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 44


 คลิกปุมในชอง Change Mapping เลือกคอลัมนใหตรงกับขอมูลดังนี้
COLUMN 1 <=> X
COLUMN 5 <=> Y
COLUMN 6 <=> Z
สวน COLUMN อื่น เลือกเปน Not Mapped คลิกปุม OK

 คลิกไอคอน Add Beam ลากคานเชื่อมโหนดจนไดโมเดลดังในรูป

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 45


วิธีที่ 5 : การสรางโมเดลโดยนําเขาไฟล DXF
การสรางโมเดลโดยวิธีนี้เหมาะสําหรับผูใชที่มีความชํานาญในการใช AutoCAD เพื่อสราง
โมเดลสองมิติ หรือสามมิติ
ขั้นตอน : „ เริ่มโปรแกรม AutoCAD (หรือซอฟทแวร CAD อื่นที่สรางไฟล DXF ได)

„ วาดโครงสรางสองมิติ หรือสามมิติ

„ Save As เปนไฟลแบบ DXF

„ เริ่มโปรแกรม STAAD Pro

„ ในการอานไฟล DXF เรามีสองวิธี :

- โดยใช Structure Wizard

- โดยใช File/Import

Structure Wizard
„ เริ่มตนเลือกเมนู Geometry | Run Structure Wizard

„ จากชอง Model Type เลือก Import CAD Models

„ ดับเบิลคลิกไอคอน Scan DXF

„ เลือกไฟล DXF ที่ตองการ แลวคลิก Open

File/Import
„ เลือกเมนู File | Import…

„ โปรแกรมจะถามชนิดของไฟลที่จะนําเขา

„ คลิกเลือก 3D DXF แลวกด Import

„ เลือกไฟล DXF ที่ตองการ แลวคลิก Open

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 46


„ เลือกวิธีการนําเขาหนึ่งในสามทางเลือกคือ :

• No Change; แกน XYZ ของ STAAD จะตรงกับ XYZ ใน AutoCAD

• Y Up; กําหนดให STAAD ใชแกน Y ชี้ขึ้น แลวปรับเปลี่ยนแกน Y ใน AutoCAD


ตาม (นี่คือทางเลือกที่ควรเลือกในเกือบทุกกรณี)
• Z Up; กําหนดให STAAD ใชแกน Z ชี้ขึ้น แลวปรับเปลี่ยนแกน Z ใน AutoCAD
ตาม
„ กลองโตตอบเพื่อใหเลือกหนวยจะแสดงขึ้นมา ใหเลือกหนวยความยาวและหนวยแรงที่
ตองการแลวคลิก OK โครงสรางจะถูกถายโอนเขามา
หมายเหตุ „ ใน AutoCAD ใชคําสั่ง Line ในการเขียนแบบคานและเสา

„ STAAD จะคิดให Line หนึ่งเสน เทากับ หนึ่งคาน หรือ หนึ่งเสา ดังนั้นเสนตรงที่ยาวคลุม


หลายชวงคานจะถูกคิดวาเปนหนึ่งวัตถุ จึงควรตัดเสนตรงเปนชวงๆที่โหนดทุกโหนด
„ ใช AutoCAD เวอรชั่นลาสุดกับ STAAD เวอรชั่นลาสุด

STAAD.Pro : Model Generation 2 - 47


3
ฟงกชั่นชวยสรางโมเดล
เนื้อหาในบทนี้
„ Insert Node or Split Beam

„ Adding Beams (Connecting & Intersecting)

„ การสรางโมเดลโครงหลังคา
„ Translational Repeat

„ การสรางโมเดลอาคารสูงโดยใช Translational Repeat


„ Circular Repeat

„ Mirror & Rotate

„ การสรางโมเดลสเตเดียมโดยใช Circular Repeat


„ Move

„ การสรางโมเดลหลังคากริดสามมิติ
„ Cut Section

„ การสรางโมเดลปายโฆษณา

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-1


บทนํา
วิธีการทั้งหาที่ไดกลาวถึงในบทที่สองจะใชในการสรางโมเดลพื้นฐาน แตอาจยังไมสามารถใช
สรางโมเดลที่ซับซอนบางโครงสรางได ในบทนี้เราจะเรียนรูฟงกชั่นที่จําเปนซึ่งจะชวยในการ
สรางโมเดลในรูปแบบตางๆที่หลากหลายมากขึ้น

Insert Node or Split Beam


ใน STAAD.Pro เราสามารถแทรกโหนดเพิ่มเติมในระหวางคานไดตามตําแหนงที่ตองการ

 เริ่มตนโดยการเลือกคาน โดยมีวิธีสั่งสามวิธี :

• คลิกไอคอน Insert Node บนทูลบาร Geometry ดานบน

• เลือกเมนู Geometry | Insert Node… หรือ Geometry | Split Beam

• คลิกเมาทปุมขวาแลวเลือก Insert Node…

ในหนาตางที่แสดงขึ้นมาจะมีรูปของคานที่เราเลือกไวพรอมทั้งโหนดที่ปลายคาน เราสามารถ
กําหนดตําแหนงของโหนดที่จะแทรกไดหลายวิธีและหลายโหนด โดยโหนดที่แทรกจะปรากฏ
ขึ้นบนคานในรูปและในชอง Insertion Points

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-2


 กําหนดระยะจากจุดเริ่มตนของคานแลวคลิกปุม Add New Point หรือใสเปนสัดสวนตอ
ความยาวคานในชอง Proportion

 คลิกปุม Add Mid Point เมื่อตองการแทรกโหนดทีก่ ลางชวงคาน

 คลิกปุม Add n Points เมื่อตองการแทรก n โหนด

 ถาเราเลือกมากกวาหนึ่งคานจะมีหนาตางอีกแบบแสดงขึน้ มา

 การใชงานเหมือนเดิม แตจะชวยใหเราทํางานกับคานหลายคานไดดว ยคําสั่งเดียว

Add Beam ระหวาง Mid-Points


 เมื่อตองการเพิม่ คานเชื่อมระหวางกึ่งกลางคานหนึ่งไปยังอีกคานหนึ่ง

 เลือกไอคอน Add Beam between Mid-Points จาก Geometry ทูลบาร

 ลูกศรจะเปลี่ยนรูปเปน

 คลิกที่คานตัวแรก โหนดจะถูกแทรกที่กึ่งกลางคาน

 คลิกที่คานตัวที่สอง คานใหมจะถูกสรางขึ้นมา

Add Beam แบบจุดตัดตั้งฉาก


 เมื่อตองการเพิม่ คานเชื่อมระหวางโหนดไปยังจุดตั้งฉากของอีกคานหนึ่ง

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-3


 เลือกไอคอน Add Beam by Perpendicular Intersection จาก Geometry ทูล
บาร
 ลูกศรจะเปลี่ยนรูปเปน

 คลิกที่โหนด แลวไปคลิกทีค่ าน คานใหมจะถูกสรางขึ้นมา

การสรางโมเดลโครงหลังคา
 เริ่มตนสรางโมเดลใหมตั้งชื่อวา RoofTruss เลือกชนิดโครงสรางแบบ Truss และหนวย
ความยาว Meter

 เปลี่ยนมุมมอง View From +Z ใช Snap Node/Beam วาดโมเดลดังในรูปขางลาง

 คลิกปุม Close เพื่อปดหนาตาง Snap Node/Beam

 กด Shift B แสดงหมายเลของคอาคาร คลิกเลือกองคอาคารในแนวราบ ซึ่งในรูปจะเปน


หมายเลข 3

 คลิกปุม Insert Node บนทูลบาร คลิกปุม Add Mid Point

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-4


 คลิกปุม Add Beams บนทูลบาร ลากเสนเชื่อมจากโหนดที่ถูกแทรกใหมถึงยอด
หลังคาดังในรูป

 คลิกปุม Add Beam between Mid-Points บนทูลบาร ลากเสนเชื่อมจากองค


อาคาร 1 และ 4 จากนั้นลากระหวางองคอาคาร 2 และ 3

 คลิกปุม Add Beam by Perpendicular Intersection บนทูลบาร ลากเสนเชื่อม


จากโหนด 6 ถึงองคอาคาร 1 ดังในรูป

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-5


 ลากองคอาคารที่เหลือจนไดโครงหลังคาดังในรูปขางลาง

Translational Repeat
เปนการก็อปปและวางวัตถุตามแนวเชิงเสน เริ่มโดยเลือกโหนด, คาน หรือ แผน ที่ตองการทําซ้ํา
แลวคลิกไอคอน บนทูลบาร หรือเลือกเมนู Geometry | Translational Repeat…

Global Direction : เลือกทิศทางที่จะทําซ้ําตามแนว X, Y, Z

No of Steps : จํานวนครั้งของการทําซ้ํา

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-6


Default Step Spacing : ระยะหางระหวางการทําซ้ํา ซึ่งเราสามารถเปลี่ยนของแตละชวงได
อีกภายหลัง
Renumber Bay : เมื่อคลิกเลือกจะใหผูใชกําหนดหมายเลขคานเริ่มตนใหมสําหรับแตละ
โครงที่ถูกเพิ่มเขาไป
Link Steps : จะสรางองคอาคารเชื่อมระหวางโครงที่ถูกทําซ้ํา และถาเลือก Open Base ที่
ฐานจะไมถูกสรางองคอาคารเชื่อม
Generation Flags : เราสามารถเลือกไดวาจะทําซ้ําอะไรบาง โดยปกติจะถูกเลือกไวที่ All ก็
จะทําซ้ําทั้งหมดคือองคอาคาร น้ําหนักบรรทุก คุณสมบัติ และอื่นๆ แตถาตองการทําซ้ําเฉพาะ
องคอาคารใหคลิกเลือก Geometry Only
ลองสรางโครงดังในรูปขางลาง คลิกขวาในพื้นที่วาง เลือก Labels… คลิกใหแสดง
Beam Numers

เลือกคานทั้งหมด โดยกด Ctrl A แลวคลิกไอคอน Translational Repeat ใสขอมูลดังใน


รูปขางลาง

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-7


เมื่อคลิก OK โมเดลจะถูกสรางขึ้นดังในรูปขางลาง

การสรางโมเดลอาคารสูงโดยใช Translational Repeat


 เริ่มตนโปรแกรมใหมแบบ Space ชื่อไฟล tallbld หนวยความยาวเปน Meter

 เลือก Add Beam คลิกปุม Finish

 คลิกเลือกระนาบ X-Y และเปลี่ยนมุมมองเปน View From +Z

 สรางโมเดลดังในรูปขางลาง

 เลือกโมเดลทั้งหมด กด Ctrl A

 ทํา Translation Repeat โดยคลิกไอคอน หรือเลือกจากเมนู Geometry |


Translational Repeat…

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-8


 เมื่อหนาตางแสดงขึ้นมา ใหใสคาตามในรูปขางลาง

 คลิกไอคอน Add 4-Noded Plates จากทูลบารดานบน

 คลิกที่จุดตอในโครงสรางเพื่อสรางผนังดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3-9


 สรางแผนพื้นหนึ่งแผนแลว Copy & Paste โดยใชจุดอางอิงจนไดตามรูปขางลาง

 ใช Beam Cursor กด Ctrl A เพื่อเลือกคานทั้งหมด แลวเปลี่ยนเปน Plate Cursor กด


Ctrl A เพื่อเลือกแผนทั้งหมด

 สั่ง Translational Repeat อีกครั้งเพื่อทําเปนหลายชั้นดังในรูป

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 10


Circular Repeat
 เปนการก็อปปและวางวัตถุตามโคงตามแนวรัศมีวงกลม
 เลือกโหนด, คาน หรือ แผน ที่ตองการทําซ้ํา
 จากทูลบาร Generate เลือกไอคอน Circular Repeat
 หรือเลือกเมนู Geometry | Circular Repeat…

 เลือกแกนหมุนในกรอบ Axis of Rotation วาจะเปนแกน X, Y, หรือ Z


 เลือกมุมที่ตองการหมุนในชอง Total Angle (+ve=CCW)
 กําหนดจํานวนที่ตองการจะทําซ้ําเพิ่มในชอง No of Steps
 กําหนดตําแหนงของแกนหมุน ซึ่งก็คือจุดที่แกนหมุนผาน ในกรอบ Trough จะมีวิธีให
เลือกสามวิธี :
• คลิกที่ไอคอน แลวกําหนดจุดบนจอภาพ
• กําหนดหมายเลขโหนด
• กําหนดพิกัด
 Use this as Reference Point for Beta angle generation
เมื่อคลิกเลือกชองนี้ หนาตัดขององคอาคารที่ถูกทําซ้ําเพิ่มจะถูกหมุนตามไปดวยตามรูป
ขางลาง
 กําหนด Link Steps และ Open Base เหมือนใน Translation Repeat

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 11


หนาตัดไมหมุนตาม หนาตัดหมุนตาม

Mirror
 เปนการทําซ้ําแบบกระจกเงา โดยเริ่มดวยการเลือกวัตถุที่ตองการ
 จากทูลบารเลือกไอคอน หรือเลือกเมนู Geometry | Mirror…

 เลือกระนาบในกรอบ Mirror Plane วาจะเปนระนาบ X-Y, X-Z, หรือ Y-Z


 กําหนดตําแหนงของระนาบ Plane Position จะมีวิธีใหเลือกสามวิธี :
• คลิกที่ไอคอน แลวกําหนดจุดบนจอภาพ
• กําหนดหมายเลขโหนด
• กําหนดพิกัดบนแกน X (สําหรับระนาบ Y-Z)

 กําหนดวิธีการสราง Generate Mode จะมีวิธีใหเลือกสองวิธี :


• Copy จะสรางรูปใหมแบบกระจกโดยที่ยังคงของเดิมไว
• Move จะสรางรูปใหมแบบกระจกโดยลบของเดิมทิ้ง

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 12


Rotate
 เปนการหมุนองคอาคารรอบแกนที่กําหนด โดยเริ่มดวยการเลือกวัตถุที่ตองการ
 จากทูลบารเลือกไอคอน หรือเลือกเมนู Geometry | Rotate…

 เลือกมุมหมุน Angle มีหนวยเปนดีกรี

 กําหนดจุดที่แกนผาน Axis Passes Through จะมีวิธีใหเลือกสามวิธี :


• คลิกที่ไอคอน แลวกําหนดจุดสองจุดบนจอภาพ
• กําหนดหมายเลขโหนด
• กําหนดเปนพิกัด X, Y, Z

 กําหนดวิธีการสราง Generate Mode จะมีวิธีใหเลือกสองวิธี :


• Copy จะสรางรูปใหมจากการหมุนโดยที่ยังคงของเดิมไว เลือกวาจะ Link Bays
หรือไม
• Move จะสรางรูปใหมจากการหมุนโดยลบของเดิมทิ้ง

 มุมหมุนเปนบวกจะหมุนทวนเข็มนาฬิกา ( +ve = CCW )

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 13


การสรางโมเดลสเตเดียมโดยใช Circular Repeat
 เริ่มตนโปรแกรมใหมแบบ Space ชื่อไฟล stadium หนวยความยาวเปน Meter

 คลิกเลือกระนาบ X-Y และเปลี่ยนมุมมองเปน View From +Z

 สรางโมเดลดังในรูปขางลาง

โมเดลที่เราสรางขึ้นมาอยูบนระนาบ X-Y มีความยาวในแนวแกน X = 10 ม. จากจุด X = 0 ถึง


X = 10 ม. เราตองการ copy เฟรมที่สรางขึ้นมานี้ทั้งแบบ translation และ circular ซึ่งจะมี
แนวทางดังในรูปขางลางเมื่อมองจากแกน Y ลงมา
x

x = 20, z = 0 40 m

10 m
z
Origin
40 m

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 14


 เลือกองคอาคารทั้งหมด กด Ctrl + A
 จากทูลบาร Generate เลือกไอคอน Circular Repeat
 หรือเลือกเมนู Geometry | Circular Repeat…

 เมื่อคลิก OK โมเดลจะถูกสรางขึ้นดังในรูปขางลาง

เฟรมเดิมยังถูกเลือกอยู อยาพึ่งไปคลิกอะไรเพราะที่ถูกเลือกจะหายไป ตองมาเลือกใหมเพื่อทํา


ขั้นตอไป

ถาเผลอคลิกไปแลวตองเลือกใหมโดยคลิกเลือกมุมมอง View From + Y แลวใชเมาทตีกรอบ


เลือกดังในรูปขางลาง ถาเลือกไดมาเกินใหกด Ctrl คางไวแลวคลิกคานที่เลือกเกินมาออก

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 15


 ทํา Translational Repeat คลิกไอคอน หรือเลือกจากเมนู Geometry

 เมื่อหนาจอแสดงขึ้นมาใหใสคาตามในรูปขางลาง

เราอาจใช Circular Repeat และ Translational Repeat ทําสวนที่เหลือตอไป หรือลอง


ทํา Mirror ดูดังนี้

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 16


 การปรับมุมมองทําไดโดยใชทูลบารดานบนใหลองคลิกแตละปุมดูตามตองการ

 เลือกสวนที่ตอ งการทํา Mirror ดังในรูปขางลาง

 คลิกไอคอน Mirror หรือเลือกเมนู Geometry | Mirror… เมื่อหนาจอแสดงขึน้ มา


ใหใสขอมูลดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 17


 เลือกโมเดลในสวนโคงดังในรูปขางลาง

 สั่ง Mirror โดยเลือก Mirror Plane : X – Y, Plane at Z = -20 m จะไดโมเดลดัง


ในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 18


 คลิกมุมมอง Isometric View เพื่อดูโมเดลสามมิติ หรือคลิกไอคอน 3D Rendered
View

Move
คานและแผนถูกกําหนดดวยโหนดที่ปลายหรือที่มุม ดังนั้นถาเรายายโหนดก็จะสามารถการ
เคลื่อนยายหรือเปลี่ยนขนาดคานหรือแผนได

 กอนใชคําสั่ง Move ตองเลือกวัตถุที่ตองการเลือกกอน โดยมีวิธีสั่งสามวิธี :


• กดปุม F2
• คลิกเมาทขวา แลวเลือก Move จากรายการ
• เลือกเมนู Geometry | Move

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 19


การสรางโมเดลหลังคากริดสามมิติ
 เริ่มตนโปรแกรมใหมแบบ Space ชื่อไฟล stadium หนวยความยาวเปน Meter
 คลิกเลือกระนาบ X-Z และเปลี่ยนมุมมองเปน View From +Y
 สรางโมเดลดังในรูปขางลาง

 เลือกโหนดตรงกลาง แลวใชคําสั่ง Move ขยับโหนดลงในแนวแกน Y = -1


 เปลี่ยนมุมมองเปนสามมิติจะไดรูปปรามิดคว่ําดังในรูปขางลาง

 เลือกองคอาคารทั้งหมด แลวสั่ง Translation Repeat ในแนวแกน X

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 20


 จะไดโมเดลดังรูป

 เลือกองคอาคารทั้งหมดอีก คราวนี้สั่ง Translation Repeat ในแนวแกน Z

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 21


 จะไดโมเดลดังรูป

 คลิกใหแสดงโมเดลในสามมิติ

Cut Section
 เมื่อสรางโมเดลสามมิติที่ซับซอน การแสดงคานและแผนทั้งหมดอาจทําใหเกิดความสับสน
และการทํางานของโปรแกรมจะชาลง การ Cut Section จะตัดโมเดลออกเปนสวนเฉพาะ
ใหผูใชทํางานไดชัดเจนขึ้น

 เลือกไอคอน จากทูลบารดานบน

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 22


 มีวิธีสามวิธีในการสรางรูปตัดของโมเดล :

ƒ Range By Joint : กําหนดระนาบที่จะตัดผานโหนดที่ระบุ

ƒ Range By Min/Max : กําหนดระนาบที่จะตัดตามระยะนอยที่สุดถึงมากที่สุด

ƒ Select to View : มีสามทางเลือกในการตัด

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 23


ƒ Window/Rubber Band : กําหนดโดยการใหผูใชตีกรอบ(คลิกเมาทซายแลว
ลากตีกรอบ)รอบสิ่งที่ตองการใหแสดง(จุดกึ่งกลางคานเปนตัวกําหนดวาถูกเลือก
หรือไม)
ƒ เลือกโหนด, คาน หรือ แผน แลวคลิก View Highlight Only เฉพาะองคอาคาร
ที่ถูกเลือกจะถูกแสดง
ƒ คลิก Select To View แลวเลือกสวนที่ตองการจะใหแสดง

 ถาตองการยกเลิกการดูบางสวน ใหคลิก Show All โมเดลทั้งหมดจะถูกแสดงเหมือนเดิม

การสรางโมเดลปายโฆษณา
 เปดไฟลใหมแบบ Truss ตั้งชื่อวา ComSign ใชหนวยความยาว m

 บนระนาบ X-Y วาดโครงดังในรูปขนาดความสูง 1 m กวาง 1 m

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 24


 เลือกทุกองคอาคารแลวสั่ง Translation Repeat สรางเพิ่มขึ้นอีกสามโครงวางเรียง
กันดังในรูปขางลาง

 ตอมาเราจะ “มวน” ทั้งสี่โครงนี้เพื่อเปนดานทั้งสี่ของเสา ดังในรูปจากมุมมองดานบน


ขางลาง แสดงการมวนซึ่งจะทําโดยใชคําสั่ง Rotate

2 3 4

X X
X

Z Z Z

 เลือกสามโครงที่ถูกสรางขึ้นมาใหม แลวสั่ง Rotate

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 25


 เปลี่ยนมุมมองเปน View from +X เลือกสองโครงทางดานขวา

 แลวสั่ง Rotate : Angle = 90 degrees


X1 = 1 X2 = 1
Y1 = 0 Y2 = 1
Z1 = -1 Z2 = -1

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 26


 เปลี่ยนมุมมองเปน View from -Z เลือกโครงทางดานขวา

 แลวสั่ง Rotate : Angle = 90 degrees


X1 = 0 X2 = 0
Y1 = 0 Y2 = 1
Z1 = -1 Z2 = -1

 ถามีโหนดเหลือคางบนหนาจอโดยไมมีคานมาตอเชื่อม ใหลบโดยเลือกเมนู
Tools | Orphan Nodes | Remove

 ตอนนี้เราไดเสาหนึ่งบล็อกแลว เลือกทุกองคอาคารแลวใชคําสั่ง Translation Repeat


สรางขึ้นไปใหสูงซัก 10 บล็อก

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 27


 สั่ง Translation Repeat อีกครั้งเพื่อสรางเสาอีกตน

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 28


 คราวนี้เราจะเริ่มสรางสวนที่เปนปาย เพื่อความสะดวกในการวาด เราจะสั่งใหแสดงเฉพาะ
หัวเสาโดยใชคําสั่ง Cut Section โดยเลือกระนาบ X-Z และโหนดที่หัวเสาเชนใน
ตัวอยางนี้คือ Node 48

โมเดลจะแสดงเฉพาะที่หัวเสาดังในรูปขางลาง

 ไปที่หนา Geometry | Beam เลือก Snap Node/Beam บนระนาบ X-Z


กําหนดคาเสนกริด:

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 29


 เปลี่ยนมุมมองเปน View from +Y แลววาดโมเดลดังในรูปขางลาง

 กด Ctrl A เลือกทุกองคอาคาร(ที่แสดง) สั่ง Translation Repeat ขึ้นมา 1 m แบบมี


การ Link Step

 คลิกปุม Add Beams เพิ่มองคอาคารยึดทแยงตามในรูปขางลาง ทําแคหนึ่งบล็อกก็


พอแลว Copy ไปทุกบล็อก องคอาคารที่ซ้ํากันโปรแกรมจะลบออกโดยอัตโนมัติ

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 30


 สั่ง Translational Repeat

 เลือกทุกองคอาคารแลวสั่ง Translational Repeat

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 31


 เมื่อสั่ง Cut Section | Show All จะได

STAAD.Pro : Useful Functions to Complete the Geometry 3 - 32


4
หนาตัด, จุดรองรับ, ขอกําหนด และคาคงที่
เนื้อหาทีจ่ ะกลาวถึงในบทนี้
„ สรางโมเดล Portal 2D

„ Property : กําหนดคุณสมบัติองคอาคาร

„ Steel Section : เลือกหนาตัดเหล็ก

„ Beta Angle : กําหนดมุมหนาตัด

„ Spec | Offset : กําหนดออฟเซตองคอาคาร

„ Spec | Truss : กําหนดองคอาคารโครงถัก

„ Supports : กําหนดจุดรองรับ

„ Constants : กําหนดคาคงที่

„ User Provided Steel Table : ตารางเหล็กผูใชกําหนดเอง

„ STAAD2005: Property Calculator for General Sections

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-1


สรางโมเดล Portal 2D
 หลังจากที่เราสรางโมเดลซึ่งไดแก โหนด คาน และแผนพื้นแลว ในบทนี้เราจะกําหนด
คุณสมบัติของหนาตัดองคอาคาร ความหนาแผนพื้น ชนิดและคุณสมบัติของวัสดุที่ใช จุด
รองรับ ตลอดจนคุณสมบัติอื่นๆที่เกี่ยวของของโครงสราง
 สรางโมเดลใหมแบบ Plane ตั้งชื่อวา Portal2D หนวยความยาวเปน Meter สรางโมเดล
งายๆดังในรูปขางลาง

 โมเดลที่เราพึ่งจะสรางขึ้น STAAD.Pro จะเก็บเปนไฟลคําสั่งคือ Portal2D.std เรา


สามารถดูไดตลอดเวลาโดยคลิกไอคอน บนทูลบาร หรือเลือกจากเมนู Edit | Edit
Input Command File หนาตางแสดงไฟลคําสั่งจะแสดงขึ้นมาดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-2


ขอมูลคําสั่งทั้งหมดที่เราทํางานใน STAAD.Pro จะถูกบรรจุอยูในไฟลนี้ เนื่องจากเปน
ไฟลตัวอักษรมีขนาดเล็ก ทําใหสะดวกในการตรวจสอบขอผิดพลาดและจัดเก็บ
 คําสั่งที่เราใชกําหนดโหนดและคานคือ
JOINT COORDINATES
1 0 0 0; 2 0 4 0; 3 6 4 0; 4 6 0 0;
MEMBER INCIDENCES
1 1 2; 2 2 3; 3 3 4;

ซึ่งเปนคําสั่งที่สั้นเขาใจงาย นับจากนี้เมือ่ เราเรียนรูคําสั่งใหม จะอางอิงถึงคําสั่งที่ถูกสราง


ขึ้นในไฟลคําสั่งนี้ดวย ซึง่ จะชวยใหเราเขาใจการทํางานของโปรแกรมไดดีขึ้น หากเกิด
ขอผิดพลาดในการรันโปรแกรมก็สามารถตรวจสอบไดจากไฟลคําสั่งนี้
 ปดหนาตาง Snap Node/Beam แลวคลิก Labels ใหแสดงหมายเลขคาน

Property : กําหนดคุณสมบัติองคอาคาร
 คลิกแถบดานขาง หนาหลัก General หนายอย Property หรือ
 คลิกไอคอน Property Page บนทูลบารดานบน

 หนาตาง Property จะแสดงขึ้นมา มีสองขั้นตอนที่ตองทําคือ


• กําหนดหนาตัดขึ้นมากอนโดยอาจเลือกจากตารางในกรณีของหนาตัดเหล็ก หรือ
กําหนดขนาดเองถาเปนหนาตัดคอนกรีต ซึ่งจะแสดงเปนหนาตัดอางอิงในรายการ
• กําหนด (Assign) หนาตัดอางอิงใหแกองคอาคารที่ตองการ มีสี่วิธีคือ
− Assign To Selected Beams : กําหนดใหคานที่ถูกเลือก

− Assign To Edit List : กําหนดตามหมายเลขคาน

− Use Cursor To Assign : ใชเคอรเซอรกําหนด

− Assign To View : กําหนดใหทุกองคอาคารในมุมมอง

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-3


Steel Section : เลือกหนาตัดเหล็ก
 สมมุติวาเราตองการใชหนาตัดเหล็ก ใหคลิกปุม Section Database หนาตางแสดงตาราง
เหล็กจะแสดงขึ้นมา

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-4


 จะมีหนาตัดจากหลายประเทศใหเลือก ยกเวนไทย ดังนั้นจึงใหเลือกที่ใกลเคียงกับเราทีส่ ดุ
คือ South Korean หนาตัด W Shape อาจลองคลิกปุม View Table

 คลิกเครื่องหมายถูกเลือกในชอง Material เปน STEEL เปนการใชคาคงที่วัสดุที่มีมา


กับตัวโปรแกรม

 เลือกหนาตัด W300X200X56 และ W350X250X69 คลิกปุม Add เมื่อเลือกแตละ


หนาตัด เสร็จแลวกดปุม Close รายการหนาตัดที่ถูกเลือกจะแสดงขึ้นมา

 คลิกเลือกรายการ Ref 1 : W300X200X56 ในกรอบ Assignment Method เลือก


Use Cursor To Assign

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-5


 กดปุม Assign เคอรเซอรจะเปลี่ยนเปนรูป นําไปชี้แลวคลิกเลือกเสา 1 และ 3 เสร็จ
แลวคลิกถอนปุม Assign คืน

จะเห็นวา Label เสา เปลี่ยนเปน 1:R1 และ 3:R1 แปลวาถูกกําหนดเปน Ref 1 แลว

 ใชวิธีเดิม Assign หนาตัด Ref 2 : W350X250X69 ใหกับคาน 2

Beta Angle : กําหนดมุมหนาตัด

 เปนอีกแถบหนึ่งในหนาตาง Properties เพื่อใหกําหนดมุมในการวางหนาตัด ซึ่งโดย


ปกติแลว STAAD.Pro จะวางใหโดยอัตโนมัติ

 ลองใชคา Beta Angle = 90 แลว Use Cursor To Assign ใหเสาหมายเลข 3

ถาดูในตารางแสดงขอมูลคาน จะเห็นวาคา Beta Angle ของเสาหมายเลข 3 เปลี่ยนไป

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-6


 คลิกขวาแลวเลือก 3D Rendering เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงในสามมิติ

 เปลี่ยน Beta Angle ของเสาหมายเลข 3 กลับไปเหมือนเดิม

การเปลี่ยนหนวยความยาว
ในการกําหนดคาออฟเซตขององคอาคาร จะใชหนวยความยาวเปน ซม. แทนที่จะเปน เมตร
คําสั่งที่ใชเปลี่ยนหนวยคือ

 เพื่อเปลี่ยนหนวยใหคลิกไอคอน Input Units บนทูลบารดานบน:

หรืออาจเลือกจากเมนู Tools | Set Current Input Unit เมื่อมีหนาจอแสดงขึ้นใหคลิกเลือก


หนวยความยาวเปนเซนติเมตรแลวคลิก OK

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-7


Spec | Offset : กําหนดออฟเซตขององคอาคาร
เนื่องจากคานเบอร 2 มีชวงความยาวจริงคือระยะชองวางระหวางผิวในของเสาทั้งสองขาง ไมใช
ระยะระหวางศูนยกลาง เราสามารถใชขอไดเปรียบนี้ไดโดยกําหนดออฟเซตคานหมายเลข 2 ให
ปลายคานทั้งสองขางหดสั้นลงขางละ 15 cm

 ไปหนา General | Spec เพื่อกําหนดคุณลักษณะเฉพาะแกโหนดหรือองคอาคาร

 คลิกเลือกคาน 2 โดยคานที่ถูกเลือกจะถูกไฮไลทขึ้นมา

 คลิกปุม Beam ในหนาตาง Specification ดานขาง

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-8


 เมื่อหนาจอ Beam Specs แสดงขึ้นมาใหเลือกแถบ Offset เพื่อกําหนดออฟเซตที่ node
เริ่มตนในทิศทาง X ใสคา 15 ลงในชองวาง แลวกดปุม Add

 ทําขั้นตอนซ้ํา แตเลือก End และใสคา -15 ในชอง X จะไดรายการดังในรูปขางลาง

 Assign ทั้งสองรายการใหแกคานหมายเลข 2 ดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4-9


Spec | Truss : กําหนดองคอาคารโครงถัก

 สมมุติวาเราตองการใสหลังคาโครงถักลงบนโครง Portal 2D เดิมของเรา

 เลือกเมนู Geometry | Run Structure Wizard

 เลือก Truss Models | Howe Roof ใสคาตัวแปรดังนี้

 เลือก Edit | Add/Paste Model in STAAD.Pro วางแบบ Reference Pt.

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 10


 เลือกหนาตัด L50X50X4 แลวลอง Assign ใหกับองคอาคารที่เพิ่มขึ้นมาใหม

 อาจใชวิธี Assign To Edit List โดยพิมพหมายเลขคาน 7 To 15 ดังในรูป

 ตามที่ กํ า หนดตั้ ง แต เ ริ่ ม ต น องค อ าคารทุ ก ตั ว จะต อ แบบโครงข อ แข็ ง (Frame) เรา
สามารถกําหนดใหโครงหลังคาเปนโครงขอหมุน(Truss) เปนการเฉพาะได
 ไปหนา General | Spec คลิกปุม Beam… เลือกแถบ Truss คลิกปุม Add

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 11


 จะมีรายการ MEMBER TRUSS แสดงขึ้นมา อาจใชวิธี Assign To Edit List
เหมือนเดิม คือ 7 To 15 จะไดโมเดลดังในรูป

กําหนดจุดรองรับ
 การกําหนดจุดรองรับทําโดยการเลือกหนายอย Support ในหนาหลัก General

 ใชหลักการเดียวกับการกําหนดหนาตัดคือ เลือกจุดรองรับขึ้นมากอนแลว assign ให


โหนดที่ตองการ เริ่มโดยคลิกปุม Create

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 12


 ในหัวขอนี้จากรูปเดิม Portal 2D ตองการจุดรองรับที่โหนด 1 เปนแบบ FIXED และที่
โหนด 4 เปนแบบ PINNED คําสั่งที่ใชคือ

 เลือกแบบ Fixed แลวกดปุม Add จากนั้นก็สรางแบบ Pinned ดังแสดงในรูปขางลาง

 คลิกเลือก S2 จุดรองรับแบบ FIXED และเลือก Use Cursor To Assign คลิกปุม


Assign แลวเลือกคลิกที่โหนด 1 เสร็จแลว Assign S3 จุดรองรับแบบ PINNED
ใหแกโหนด 4 โดยวิธีเดียวกัน โมเดลจะกลายเปนดังรูป

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 13


Constants : กําหนดคาคงที่

 กลับมาที่หนายอย Property ในหนาหลัก General ในรายการแสดสงหนาตัดจะเห็น


วาหนาตัดถูกกําหนดวัสดุเปน STEEL

 ใน STAAD.Pro จะมีวัสดุพรอมทั้งคุณสมบัติมาใหเราใชอยูแลวเพื่อความสะดวก
รวดเร็ว สามารถดูไดโดยคลิกปุม Materials…

 ถาลองเปดคอมมานดไฟลดูจะพบการกําหนดคุณสมบัติวัสดุดังนี้
DEFINE MATERIAL START
ISOTROPIC STEEL
E 2.05e+008
POISSON 0.3
DENSITY 76.8195
ALPHA 1.2e-005
DAMP 0.03
END DEFINE MATERIAL
MEMBER PROPERTY KOREAN
1 3 TABLE ST W300X200X56
2 4 TO 6 TABLE ST W350X250X69
7 TO 15 TABLE ST L50X50X4
CONSTANTS
MATERIAL STEEL ALL

เริ่มจากการนิยามวัสดุขึ้นมากอน แลวนํามากําหนดใหองคอาคาร การกําหนดคาวัสดุตอง


ระวังเรื่องหนวยใหดี โดยดูวากอนจะถึงการนิยามวัสดุนั้นมีคําสั่งกําหนดหนวยเปนอะไร

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 14


 ที่สมมุติวาเราตองการกําหนดคุณสมบัติวัสดุเอง ก็ใหคลิกที่รายการหนาตัดที่ละหนาตัด
คลิ ก ปุ ม Edit… หน า ต า งตารางหน า ตั ด เหล็ ก ที่ เ ราเคยจะแสดงขึ้ น มา ให สั ง เกตุ ใ น
หนาตางจะเห็นการเลือกวัสดุเปน STEEL ไวใหเลือกหนาตัดใหมโดยคลิกถอนการ
เลือกออก แลวคลิกปุม Change…

 ทําเชนเดียวกันนี้จนครบทุกหนาตัด ในรายการแสดงหนาตัดจะไมมีการกําหนดวัสดุ

 กอนอื่นใหทําการกําหนดหนวยเสียกอน คลิกไอคอน หรือเลือกเมนู Tools | Set


Current Input Unit… เปลี่ยนหนวยความยาวเปน cm และแรงเปน kg

 เลือกหนายอย Material ในหนาหลัก General

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 15


 คลิกปุม Create แลวตั้งชื่อเปน STEEL2 ใสขอมูลดังนี้
Young’s Modulus (E) : 2.05e6 kg/cm2

Poisson’s Ratio (nu) : 0.3

Density : 7.85 kg/cm3

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 16


 คลิกเลือก STEEL2 เลือก Assign To View ใหทุกองคอาคาร

 การกําหนดคาคงที่วัสดุทําใหอีกวิธีโดยการกําหนดคาใหโดยตรงกับองคอาคาร โดยไม
ตองสรางเปนวัสดุตั้งชื่อใหม

 กอนอื่นเราตองลบขอมูลการกําหนดวัสดุเดิมเสียกอน คลิกไอคอน เปดไฟลคําสั่ง


ขึ้นมา ลบคําสั่งตามในรูปขางลาง

 ใชหนวยความยาว Centimeter หนวยแรง Kilogram

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 17


 เลือกเมนู Commands | Material Constants | Elasticity…

 เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Meter แลวเลือกเมนู Commands | Material


Constants | Density…

 เลือกเมนู Commands | Material Constants | Poisson’s Ratio… ใสคา 0.3

 เปดดูไฟลคําสั่ง
UNIT CM KG
CONSTANTS
E 2.05e+006 ALL
DENSITY 0.00785 ALL
POISSON 0.3 ALL

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 18


User Provided Steel Table : ตารางเหล็กผูใชกําหนดเอง
 จะเห็นวาหนาตัดที่มีใหเลือกในตารางหนาตัดที่มีอยูในตัวโปรแกรมนั้นยังไมมีหนาตัด
เหล็กที่ใชในประเทศไทย แมวาจะพอใชของ South Korean แทนได แตการมีตาราง
หน า ตั ด ไว ใ ช เ องจะช ว ยให ส ะดวกกว า มาก โดยเฉพาะเวลาออกแบบจะกํ า หนดให
โปรแกรมเลือกหนาตัดที่มีอยูในตารางมาใชได
 การสรางตารางนั้นเราตองกําหนดชื่อตาราง ชื่อหนาตัด และคุณสมบัติหนาตัดที่เกี่ยวของ
ทั้งหมดเพื่อใหโปรแกรมนําไปใชในการคํานวณได ตารางที่สรางขึ้นอาจเปนสวนหนึ่ง
ของไฟลคําสั่ง หรือเปนไฟลแยกตางหากวางอยูในโฟลเดอรเดียวกับไฟลคําสั่ง
การสราง User Table ในไฟลคําสั่ง
 จากเมนู Tools | Set Current Input Unit… กําหนดหนวยที่จะใชในการกําหนด
ขนาดหนาตัดวาจะเปน in, cm หรือ mm
 เลือกเมนู Tools | Create User Table… เมื่อหนาตาง Create User Provided
Table แสดงขึ้นมา ใหคลิกปุม New Table

 หนาตางถัดมาจะใหเลือกวาจะสรางตารางภายนอกโดยกําหนดชื่อไฟลหรือตารางภายใน
ไฟลคําสั่งก็ไมตองทําอะไร และเลือกชนิดหนาตัดเปน WIDE FLANGE คลิกปุม OK

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 19


 เมื่อกลับมาหนาตางเดิม ใหคลิกปุม Add New Property

 หนาตางใหใสคาคุณสมบัติหนาตัด WIDE FLANGE จะแสดงขึ้นมา ใหใสขอมูลดัง


ในรูปขางลาง ถามีบางคาที่เราไมรูเชน Ix, Ay, Az ใหใส 0 เขาไปกอน

 เมื่อกดปุม Calculate โปรแกรมจะคํานวณคาให จากนั้นเติมคาในชองที่รูคาแนนอนอีก


ครั้งแลวกดปุม OK

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 20


 เมื่อกําหนดหนาตัดแลว เวลาเลือกใชในหนา Property ใหคลิกเลือกปุม User
Table…

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 21


 จะมีรายการหนาตัดที่เราสรางไวขึ้นมาใหเลือกพรอมทั้งใหเลือกวัสดุที่ดานลาง

 คลิกเลือกรายการหนาตัดแลวคลิกปุม Add เมื่อกลับมาที่หนาตาง Property จะมี


รายการหนาตัดแสดงขึ้นมา

 เมื่อนําไปใชกําหนดใหองคอาคารในไฟลคําสั่งจะมีคําสั่งเพิ่มเติมขึ้นคือ

START USER TABLE


TABLE 1
UNIT CM KG
WIDE FLANGE
W300X94.0
119.8 30 1 30 1.5 20400 6750 76.5 30 60
END

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 22


การสราง User Table เปนไฟลภายนอก
วิธีนี้จะเหมาะสําหรับหนาตัดที่ใชบอยๆ การสรางเปนตารางภายนอกคือยอมเสียเวลาใสขอมูล
ครั้งหนึ่ง ทําใหสะดวกในการนําไปใชกับการคํานวณในครั้งตอๆไปได
 จากเมนู Tools | Set Current Input Unit… กําหนดหนวยที่จะใชในการกําหนด
ขนาดหนาตัดวาจะเปน in, cm หรือ mm
 เลือกเมนู Tools | Create User Table… เมื่อหนาตาง Create User Provided
Table แสดงขึ้นมา ใหคลิกปุม New Table

 หนาตางถัดมาจะใหเลือกวาจะสรางตารางภายนอกโดยกําหนดชื่อไฟลเปน THAI WF
Table คลิกปุม Browse กําหนดที่อยูใหอยูในโฟลเดอรเดียวกับไฟลคําสั่ง เลือกชนิด
หนาตัดเปน WIDE FLANGE คลิกปุม OK

 คลิกปุม Add New Property แลวลองใสขอมูลสัก 2-3 หนาตัดดังในรูปขางลาง คลิก


ปุม Save Table แลวตามดวยปุม Close

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 23


 เปดโฟลเดอรที่กําหนดไวจะพบไฟลชื่อ THAI WF Table ใช Notepad เปดดู
Unit cm
Wide Flange
W300X94.0
119.8 30 1.0 30 1.5 20400 6750 76.5 30 60
W350X137
173.6 35 1.2 35 1.9 40300 13600 178 42 88.7
W400X172
218.7 40 1.3 40 2.1 66600 22400 273.2 52 112

 ซึ่งเปน text file ธรรมดา เมื่อเราคลิกปุม User Table… ในหนาตาง Property ก็จะมี
รายการแสดงขึ้นมาใหเลือก

การใชงาน User Table ไฟลภายนอก


 ถาเปดไฟลเริ่ม STAAD.Pro ขึ้นมาใหมแลวตองการใชตารางที่เคยสรางไวแลว ใหเลือก
เมนู Tools | Create User Table… คลิกปุม New Table คลิกเลือก External
Table คลิกปุม Browse เลือกไฟล THAI WF Table คลิกปุม Open

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 24


STAAD2005: Property Calculator for General Sections
ในการสร า งตารางหน า ตั ด แบบผู ใ ช กํ า หนดเอง ในกรณี ข องหน า ตั ด General จะมี ก าร
ปรับปรุงดังนี้คือ
− กําหนดรูปรางหนาตัดโดยใชพิกัดของมุมหนาตัด
− มีเครื่องมือชวยคํานวณคุณสมบัติหนาตัด
− สามารถกําหนดจุดแสดงผลหนวยแรง
 จากเมนู Tools | Set Current Input Unit… กําหนดหนวยที่จะใชในการกําหนด
ขนาดหนาตัดวาจะเปน in, cm หรือ mm
 เลือกเมนู Tools | Create User Table… เมื่อหนาตาง Create User Provided
Table แสดงขึ้นมา ใหคลิกปุม New Table

 หนาตางถัดมาจะใหเลือกวาจะสรางตารางภายนอกโดยกําหนดชื่อไฟลหรือตารางภายใน
ไฟลคําสั่งก็ไมตองทําอะไร และเลือกชนิดหนาตัดเปน GENERAL คลิกปุม OK

 เมื่อกลับมาหนาตางเดิม ใหคลิกปุม Add New Property

 หนาตางใหใสคาคุณสมบัติหนาตัด GENERAL จะแสดงขึ้นมาใหใสขอมูลดังในรูป

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 25


 สมมุติวาเราตองการใสหนาตัดดังในรูปขางลาง
60 cm

10 cm

30 cm

10 cm 10 cm 20 cm 10 cm 10 cm

 สมมุติใหมุมบนซายของหนาตัดเปนพิกัด (0,0) สําหรับระนาบ (Z,Y) เมื่อ Z เปนพิกัด


ในแนวราบ และ Y เปนพิกัดในแนวดิ่ง ใสขอมูลตามในรูปขางลางโดยเรียงลําดับพิกัดที่
ใสเปนวงรอบ เมื่อใสเสร็จแลวใหกดปุม Compute Section Properties คาที่คํานวณ
ไดจะแสดงขึ้นมาในชองที่เกี่ยวของ

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 26


 จะเห็นวาหลังกดปุมคํานวณพิกัดจะถูกเปลี่ยนใหมเปนอางอิงจากจุดศูนยถวงของหนาตัด
 เราสามารถกําหนดจุดแสดงคาหนวยแรง พิกัดจุดที่ใสใหอางอิงกับจุดศูนยถวงหนาตัด

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 27


 เมื่อกําหนดหนาตัดแลวก็สามารถนํามาใชไดโดยคลิกจากปุม User Table… ใน
หนาตาง Property

 คําสั่งที่จะถูกสรางขึ้นในไฟลคําสั่งคือ

START USER TABLE


TABLE 1
UNIT CM KG
GENERAL
DOUBLETEE
1200 40 0 60 0 170000 320000 40936.7 6800 10666.7 676.05 378.245 -
18000 12500 4.35727e+007 0
PROFILE_POINTS
-30 15 -30 5 -20 5 -20 -25 -10 -25 -10 5 10 5 10 -25 20 -25 20 5 30 5 30
15
STRESS_LOCATIONS
-30 15 30 15 -20 -25 20 -25
END

STAAD.Pro : Properties,Supports and Specification 4 - 28


5
น้ําหนักบรรทุก
เนื้อหาในบทนี้
„ สรางโมเดล House2D

„ สรางกรณีบรรทุกหลัก : Create Primary Load


„ Selfweight / Member Load / Nodal Load

„ กําหนดกรณีบรรทุกรวม : Define Combinations


„ Area Load / Floor Load

„ Wind Load Generation

„ Seismic Load Generation

„ SPro2006 : Load Envelope

STAAD.Pro : Loading 5-1


สรางโมเดล House2D
ในบทนี้จะกลาวถึงวิธีการสรางกรณีบรรทุก และการใสน้ําหนักบรรทุกรูปแบบตางๆ กอนอื่นจึง
ตองสรางโมเดลขึ้นมากอน

 สรางโมเดลใหมแบบ Plane ตั้งชื่อวา House2D หนวยความยาวเปน Meter และหนวย


แรงเปน Kilogram ดังในรูป

 เปดตารางเหล็กเลือกหนาตัดใหทุกองคอาคารตามความเหมาะสม

STAAD.Pro : Loading 5-2


 การกําหนดจุดรองรับแบบ FIXED และ PINNED ใหแกโหนดดังในรูป

สรางกรณีบรรทุกหลัก : Create Primary Load


 ไปหนา General | Load จะมีหนาตางแสดงการกําหนดน้ําหนักบรรทุกแสดงขึ้นมา

Definition : ใชกําหนดขอมูลในการสรางน้ําหนักบรรทุกเชน แรงลม แผนดินไหว ตาม


มาตรฐานตางๆเชน IBC และ UBC

Load Cases Details : กําหนดน้ําหนักบรรทุกในแตละกรณี กําหนดการรวมกระทํา


(Load Combination) และการสรางน้ําหนักบรรทุกแบบตางๆ

Load Envelopes : ในเวอรชั่นใหมจะมีรายการนี้ใหเราไดกําหนดกรณีบรรทุกเพื่อนําไป


สรางสภาวะขอบเขตบรรทุก (Load Envelope) ได

 เลือกรายการ Load Cases Details แลวกดปุม Add จะมีหนาตางแสดงขึ้นมาใหเรา


กําหนด Primary Load

STAAD.Pro : Loading 5-3


 ตั้งชื่อวา DEAD LOAD แลวกดปุม Add แลวกดปุม Close

 จะมีรายการ DEAD LOAD แสดงขึ้นมา

 คลิกเลือกรายการ DEAD LOAD บนทูลบารจะแสดง DEAD LOAD ขึ้นมา ซึ่งถามี


หลายกรณีเราก็สามารถเปลี่ยนกรณีบรรทุกไดที่นี่

 คลิกปุม Add จะมีหนาตาง Add New : Load Items แสดงขึ้นมาเพื่อใหเราเลือกวาจะ


ใสน้ําหนักบรรทุกใดลงใน DEAD LOAD บาง

 น้ําหนักบรรทุกแรกที่ DEAD LOAD มักตองมีเสมอคือน้ําหนักของตัวโครงสรางเอง


ดังนั้นเลือก Selfweight Load ในทิศทาง Y -1 ดังในรูป คลิกปุม Add

STAAD.Pro : Loading 5-4


 คลิกรายการ Member Load | Uniform Force กําหนดคาน้ําหนักบรรทุกและทิศทาง
ดังในรูป คลิกปุม Add

 สังเกตรายการที่แสดงขึ้นมา จะเห็นวาของ Uniform load ยังมีเครื่องหมายคําถาม ? ไม


เหมื อ นของ Selfweight เนื่ อ งจากน้ํ า หนั ก ตั ว เองจะถู ก กํ า หนดให ทุ ก องค อ าคารโดย
อัตโนมัติ แตสําหรับน้ําหนักบรรทุกอื่นเราตองกําหนดวาใหกระทํากับองคอาคารใด

 คลิกที่รายการ UNI GY -1000 kg/m แลวกําหนดใหกับคานตามในรูปขางลาง


เครื่องหมายคําถามจะหายไป รูปโมเดลจะมีน้ําหนักบรรทุกแสดงขึ้นมา

STAAD.Pro : Loading 5-5


 ถาขนาดลูกศรไมเหมาะสม ใหคลิกขวา เลือก Labels… คลิกแถบ Scales ปรับคาในชอง
Dist. Force

 สรางน้ําหนักบรรทุกกรณีใหมตั้งชื่อวา LIVE LOAD โดยคลิกเลือก Load Cases


Details แลวกดปุม Add… เชนเดิม

 ใสน้ําหนัก Member Load | Uniform Force ในทิศ GY -1500 kg/m แลว


กําหนดใหคานตัวเดิม

 สราง Uniform Force อีกครั้ง ขนาด -500 kg/m ทิศทาง GY กําหนดใหองคอาคาร


หลังคาทั้งสองดังในรูป

 ปรับ Scales การแสดงผล และคลิกไอคอน Change Graphical Display Unit


เลือกรายการ Force Units ปรับคาในชอง Distr. Force ตามตองการ

STAAD.Pro : Loading 5-6


 สังเกตที่ทูลบารดานบน ในชองที่แสดงน้ําหนักบรรทุกคราวนี้เรามาสองกรณี สามารถเลือก
สลับไปมาไดอยางสะดวก

 สราง Load case 3 ตั้งชื่อวา WIND LOAD คราวนี้ใสเปน Nodal Load | Node ใส
คา Fx = 500 kg ดังแสดงในรูปขางลาง แลวกําหนดใหโหนดตามในรูปขางลาง

 ใน Load 3 : WIND LOAD สราง Uniform Force ขนาด -300 kg/m ทิศทาง Y
(Local) และขนาด 300 kg/m ทิศทางเดียวกัน กําหนดใหองคอาคารหลังคาทั้งสองดังใน
รูปขางลาง

STAAD.Pro : Loading 5-7


 เราไดสราง Load case ขึ้นมาทั้งหมด 3 กรณีดังรายการในรูปขางลาง

กําหนดกรณีบรรทุกรวม : Define Combinations


กรณีบรรทุกรวม Load Combination โดยนํากรณีบรรทุกหลักที่ไดสรางขึ้นมาแลวคูณดวย
ตัวคูณ Load Factor แลวนํามารวมกันตามขอกําหนดที่ใชในการออกแบบ

 คลิกเลือก Load Cases Details แลวกดปุม Add…

 ในหนาตาง Add New : Load Case เลือกรายการ Define Combinations

STAAD.Pro : Loading 5-8


 ตั้งชื่อ Load Case 4 นี้วา 1.2DL+1.6LL ใสคาตัวแปร ai = 1.2 เลือกรายการ DEAD
LOAD คลิกปุม แลวเลือก LIVE LOAD โดยใชตัวแปร 1.6 ในรายการจะเปน

 คลิกปุม Add จะมารายการ Load Combination 4 : 1.2DL+1.6LL แสดงขึ้นมา

 สราง Load Case 5 : 0.75[DL+LL+WIND] โดยใชคาตัวแปร 0.75 แลวกดปุม


ทุกรายการจะถูกนําเขามาโดยใชตัวแปร 0.75 เทากัน

STAAD.Pro : Loading 5-9


 คลิกปุม Add จะมี Load Case 5 แสดงขึ้นมาในรายการ

 คําสั่งที่เพิ่มขึ้นสําหรับการกําหนดน้ําหนักบรรทุกคือ
LOAD COMB 4 1.2DL+1.6LL
1 1.2 2 1.6
LOAD COMB 5 0.75[DL+LL+WIND]
1 0.75 2 0.75 3 0.75

 คลิกปุม Save ขอมูลเก็บไวในชื่อไฟล House2D.std เพื่อใชในบทตอไป

Area Load
การคํานวณน้ําหนักบรรทุกจากพื้นถายลงสูคานนั้นมักจะใชเวลาคอนขางมาก แตดวยเครื่องมือ
AREA, ONEWAY หรือ FLOOR LOAD เราเพียงกําหนดน้ําหนักบรรทุกตอพื้นที่
โปรแกรมจะคํานวณพื้นที่รับน้ําหนัก (Tributary Area) และน้ําหนักบรรทุกลงคาน

เราจะใชคําสั่งเหลานี้เมื่อโมเดลโครงสรางไมมีพื้นเปนสวนประกอบ (มีแตคานกับเสา)
ดังนั้นตองระวังการเลือกใชน้ําหนักเหลานี้กับ Plate Load หรือ Surface Load

สมมุติฐานที่ใชในการคํานวณถายน้ําหนักจาก Area/Floor Load ลงสู Member Load:


1) Member load ที่คํานวณไดจะแปรผันเปนเสนตรงซึ่งอาจมีคาที่ปลายทั้งสองขององค
อาคารไมเทากัน
2) Tributary area ขององคอาคารคํานวณถึงจุดกึ่งกลางระยะระหวางองคอาคารที่ใกล
ที่สุดที่ขนานกันจากทั้งสองขาง ถาระยะหางมากกวาหรือเทากับความยาวองคอาคารจะ
ไมคิด area load ให
3) Area/Floor load ไมควรถูกกําหนดใหแกองคอาคารจําพวก Cable, Truss,
Tension or Compression Only หรือ Curved

STAAD.Pro : Loading 5 - 10
 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกแบบ Floor ตั้งชื่อวา Floor1 ใชหนวยความยาวเปน Meter
และหนวยแรงเปน Kilogram โมเดลที่เราจะสรางมีผังคานดังในรูปขางลาง

4m S

6m
S

2m S

5m 4m

 เปลี่ยนมุมมองเปน View From +Y ในหนาตาง Snap Node/Beam คลิกเลือกระนาบ


X-Z คลิกปุม Snap Node/Beam แลวเริ่มวาดผังคานดังในรูปขางลาง

 ไปที่หนา General | Property เพื่อสรางหนาตัดคาน คลิกปุม Define… เลือกรายการ


Rectangle ใสหนาตัดคาน ลึก YD = 0.50 m กวาง ZD = 0.30 m วัสดุใชเปน
Concrete

STAAD.Pro : Loading 5 - 11
 คลิกปุม Add แลวตามดวย Close จากนั้นกําหนดใหแกคานทุกตัว

 ไปที่หนา General | Support กําหนดจุดรองรับแบบ Pinned ใหแกโหนดที่มุมผังคาน


ทั้งสี่

 ไปที่หนา General | Load เลือกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add… สราง
Primary LOAD CASE 1 คลิกปุม Add แลว Close

 เลือกรายการ LOAD CASE 1 ที่เพิ่มขึ้นมา คลิกปุม Add…

 ในหนาตาง Add New : Load Items ที่แสดงขึ้นมา เลือกรายการ Area Load ใสตาม
ในรูปขางลาง คลิกปุม Add ตามดวย Close

STAAD.Pro : Loading 5 - 12
 การกําหนดคา Area Load ทําเหมือน Member Load คือกําหนดใหแกคานทุกตัวโดย
ใชวิธี Assign To View

 คําสั่งที่ใชคือ:
AREA LOAD
1 TO 10 ALOAD -500

 ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option = No Print คลิกปุม Add ตามดวย


Close

 สั่งรันการคํานวณจากเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 กลับมาที่หนา General | Load อีกครั้ง ปรับสเกลโดยคลิกขวาในพื้นที่โมเดล เลือก


รายการ Labels… | Scales

 ปรับหนวยการแสดงผล คลิกไอคอน เลือกรายการ Force Units และ Load Labels

STAAD.Pro : Loading 5 - 13
เมื่อตรวจสอบจะพบวาการใช Area Load นั้นจะคํานวณใหเปนการถายน้ําหนักบรรทุกทาง
เดียวหมดโดยไมสนใจอัตราสวนระหวางดานสั้นตอดานยาวเลย

Floor Load
การคํานวณน้ําหนักบรรทุกจากพื้นดวย FLOOR LOAD นั้นจะเปนแบบสองทิศทาง (Two-
way distribution) ลงสูคานโดยรอบ

 กลับมาที่หนา General | Load อีกครั้ง ลบรายการ Area Load ออก คลิก Add รายการ
Floor Load หนาตางใหใสขอมูลจะรายละเอียดดังนี้

Load : น้ําหนักบรรทุกลงพื้นตอหนวยพื้นที่ น้ําหนักบรรทุกนี้จะกระทําในทิศแกนดิ่ง Global

Direction : น้ําหนัก floor load กระทําในทิศตั้งฉากกับระนาบของพื้น ยกเวนในบางกรณี โดยทั่วไป


เรามักเลือกทิศ Global Y
Range : Define X Range / Define Y Range / Define Z Range
กําหนดตําแหนงพื้น น้ําหนักบรรทุกจะถูกคํานวณสําหรับทุกองคอาคารในชวงที่กําหนด
โดยปกติเราจะเลือก YRANGE แลวกําหนดชวง Define X Range และ Define Z
Range ซึ่งถาไมใสชวง X Range และ Z Range น้ําหนักบรรทุกจะกระทํากับทุกองค
อาคารในชวง Y Range

One Way : ถาคลิกเลือกโปรแกรมจะถายน้ําหนักพื้นลงคานแบบทางเดียว

STAAD.Pro : Loading 5 - 14
สําหรับในตัวอยางนี้ระบบพื้นของเราอยูที่ระดับ Y = 0 ดังนั้นปลอยใหชวง Ymin และ
Ymax เปนศูนยได แตถาไมกําหนดชวง X และ Z พื้นทั้งหมดจะถูกคิดวาเปนพื้นสองทาง
ดังในรูปขางลาง

ดังนั้นจึงตอง Add น้ําหนัก Floor Load สามครั้งสําหรับพื้นแตละแผนคือ


แผนที่ 1 : X Range : 0 Æ 5, Z Range : 0 Æ 4
แผนที่ 2 : X Range : 5 Æ 9, Z Range : 0 Æ 6
แผนที่ 3 : X Range : 0 Æ 5, Z Range : 4 Æ 6, ; One Way Distribution

 ปรับสเกลโดยคลิกขวาในพื้นที่โมเดล เลือกรายการ Labels… คลิกแถบ Scales เพื่อปรับ


สเกลใหเหมาะสม

STAAD.Pro : Loading 5 - 15
Wind Load Generation
โครงสร า งเฟรมสามมิ ติ ใ นตั ว อย า งนี้ จ ะถูก วิเ คราะหโ ดยใช เ ครื่ อ งมือ การสร า งแรงลมและ
น้ําหนักบนพื้นที่มีมากับโปรแกรม

 เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสรางเปน Space ตั้งชื่อวา BLDWIND หนวยความยาว


เปน Meter หนวยแรงเปน Metric Ton

 เลือก Open Structure Wizard ในหนาตางถัดมาเลือกชนิดโมเดลแบบ Frame


Models ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Bay Frame เมื่อหนาจอแสดงขึ้นมาใหใสขอมูลดังในรูป
ขางลาง

 ถาแตละ bays มีขนาดไมเทากันใหคลิกปุม ... เพื่อเปลี่ยนแปลง เมื่อคลิก Apply จะได


โครงสรางดังในรูปขางลาง วางกลับลงบนตัวโปรแกรมหลัก

STAAD.Pro : Loading 5 - 16
 ไปที่หนา General | Property เลือกหนาตัดเหล็ก WF แลว Assign To View ใหองค
อาคารทั้งหมด ใชวัสดุเปน STEEL

 ไปที่หนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ FIXED BUT MX MZ แลว


assign ใหทุกจุดรองรับ

STAAD.Pro : Loading 5 - 17
ในการวิเคราะหโครงสรางรับแรงลม งานแรกที่ตองทําคือการแปลงจากความเร็วลมหรือแรงดัน
ลมใหเปนแรงกระทําที่จุดตอ, น้ําหนักกระจายบนองคอาคาร หรือ แรงดันบนผนังอาคาร เรา
สามารถหลี ก เลี่ ย งการคํ า นวณส ว นใหญ ไ ด โ ดยการใช เ ครื่ อ งมื อ สร า งน้ํ า หนั ก บรรทุ ก ของ
STAAD โดยคํานวณจากแรงดันลมที่แปรตามความสูง แลวแปลงเปนแรงกระทําที่จุดตอ

 เริ่มโดยการนิยามแรงลม DEFINE WIND LOAD โดยไปที่หนา General | Load


คลิกเลือกรายการ Definitions ในหนาตาง Load แลวคลิกปุม Add…

 เลือกรายการ Wind ในชอง Type No = 1 เราสามารถสรางแรงลมไดหลายชนิดในหนึ่ง


โมเดล คลิกปุม Add และ Close รายการในหนาตาง Load จะกลายเปน

STAAD.Pro : Loading 5 - 18
 คลิกเลือกรายการ TYPE 1 คลิกปุม Add… จะมีหนาตางแสดงขึ้นมาเพื่อใหเราใสคา
แรงดันลมตามระดับความสูง

 ถาเรารูคาอยูแลวก็ใสคาลงไปไดเลย หรือจะใหโปรแกรมคํานวณใหก็คลิกปุม Calculate


as per ASCE-7 เพื่อเขาสูการคํานวณตามมาตรฐาน ASCE-7

STAAD.Pro : Loading 5 - 19
 ในหนาตางถัดมา หัวขอ Common Data จะใหเรากรอกขอมูลทั่วไป ไดแก มาตรฐานที่
ใช, ประเภทอาคาร, ความเร็วลม, การเปดโลงของภูมิประเทศ, ชนิดโครงสราง และเปนลม
พัดขึ้นเขาหรือไม ใสขอมูลเสร็จแลวกดปุม Apply

STAAD.Pro : Loading 5 - 20
 คลิกรายการตอมา Main Building Data ใสขอมูลของอาคารเชนขนาดดานตางๆ สวน
ความถี่ธรรมชาติถาไมรูอาจใชสูตรประมาณคือ คาบการแกวง: T = 0.1×จํานวนชั้น เชน
ในตัวอยางเปนตึกสองชั้นก็ใช T = 0.2 วินาที แปลงเปนความถี่ F = 1/0.2 = 5 Hz ใส
ขอมูลเสร็จแลวกดปุม Apply

 ในรายการตอมา Building Design Pressure ใหเลือกวาจะเปนผนังอาคารที่จะรับ


แรงลมวาเปนดานปะทะลม(Windward), ดานหลบลม(Leeward) หรือดานขาง(Side
Wall) เสร็จแลวกดปุม Apply

STAAD.Pro : Loading 5 - 21
 เมื่อคลิกปุม OK จะกลับมาที่หนาตาง Add New : Wind Definition เดิมพรอมขอมูล
แรงดันลมที่คํานวณได

STAAD.Pro : Loading 5 - 22
 คลิกปุม Add โปรแกรมจะใหเราใสคา Exposure Factor เสร็จแลวคลิกปุม Add

 คลิกปุม Close ใตรายการ Wind Definition จะมีรายการเพิ่มขึ้นมา

 รายการ Exposure 0.900000 ยังมีเครื่องหมายคําถามอยู เราตองคลิกเลือกแลวกําหนด


ใหกับจุดตองที่จะรับแรงลมที่มีลักษณะพิเศษเชนเปนชองเปดในโครงสราง

 เปลี่ยนมุมมองเปน View from +X ใชเคอรเซอรโหนดตีกรอบเลือกโหนดที่ตองการ แลว


คลิกเลือก Assign To Selected Nodes

STAAD.Pro : Loading 5 - 23
 สรางกรณีน้ําหนักบรรทุกขึ้นใหมสําหรับแรงลมจากการคลิก Load Cases Details แลว
กดปุม Add… ในหนาตาง Primary เลือก Loading Type = Wind ตั้งชื่อแลวกดปุม
Add

 เมื่อมีรายการของกรณีบรรทุกใหมของแรงลมแสดงขึ้นในรายการ ใหเลือกแลวคลิกปุม
Add… เลือกรายการ Wind Load ในหนาตาง Add New : Load Items

 เลือกชนิด Type 1 ตามที่ตั้งไวตอนนิยามแรงลม เลือกทิศทาง และกําหนด Y Range, X


Range และ Z Range เปนพื้นที่บนโครงสรางที่รับแรงดันลม

STAAD.Pro : Loading 5 - 24
 โปรแกรมจะสรางแรงลมดังแสดงในรูป

 จากรูปจะเห็นวาแรงลมยังไมตรงกับที่เราตองการ ใหดับเบิ้ลคลิกที่รายการแรงลม แลวลอง


เปลี่ยนทิศทางจาก Z Direction เปน (-ve) Z Direction และในชอง Factor จาก 1
เปน -1 สลับกันไปมา ดูผลที่เกิดขึ้นจนไดตามตองการ

STAAD.Pro : Loading 5 - 25
Seismic Load Generation
โครงสรางเฟรมสามมิติในตัวอยางนี้จะถูกวิเคราะหโดยใชเครื่องมือการสรางแผนดินไหวตาม
มาตรฐาน UBC

 เริ่มตนสรางโมเดลใหมแบบ Space ตั้งชื่อวา BLDEQK ใช Structure Wizard สราง


Bay Frame ดังในรูปขางลาง

 ในหนา Property เลือกหนาตัดจากตาราง South Korean มาสองหนาตัดคือ


W300X300X87 มาเปนเสา และ W400X300X94 มาเปนคาน ใชวิธีเลือกและการ
เปลี่ยนมุมมองชวยในการกําหนดหนาตัดใหกับองคอาคารที่ตองการ

STAAD.Pro : Loading 5 - 26
 กําหนดจุดรองรับเปนแบบ FIXED : ไปที่หนายอย Support สรางจุดรองรับแบบ
FIXED แลวกําหนดใหแกฐานเสาทุกตน

STAAD.Pro : Loading 5 - 27
 ไปที่หนายอย Load เลือกรายการ Definitions แลวคลิกปุม Add…

 เลือกรายการ Seismic เลือกมาตรฐานและกําหนดคาพารามิเตอรตางๆ

 เมื่อคลิกปุม Add รายการในหนาตาง Load จะกลายเปน

 คลิกรายการที่นิยามขึ้นใหมแลวคลิกปุม Add…

STAAD.Pro : Loading 5 - 28
มี ขั้ น ตอนในการกํ า หนดน้ํ า หนั ก บรรทุ ก แผ น ดิ น ไหวคื อ ในขั้ น แรกกํ า หนดพารามิ เ ตอร ที่
เกี่ยวของเชน Zone factor, Importance factor, Site coefficient etc. และน้ําหนัก
บรรทุกในแนวดิ่งซึ่งจะใชในการคํานวณแรงเฉือนที่ฐาน(base shear) ในตัวอยางนี้เราจะใช
แต Self Weight ดังนั้นเลือกรายการนี้แลวกดปุม Add แลว Close

ขั้นตอนที่สองจะสรางกรณีบรรทุกแลวใสน้ําหนักที่นิยามไวกระทําในทิศทางที่ตองการ

 เลือกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add… ในหนาตาง Primary เลือก Load
Type = Seismic ปลอยเปนชื่อ LOAD CASE 1 ก็ได แลวคลิกปุม Add

 สราง LOAD CASE 2 ในลักษณะเดียวกัน รายการในหนาตาง Load จะเพิ่มขึ้นเปน

 คลิกเลือก LOAD CASE 1 แลวคลิกปุม Add…

 ในหนาตาง Add New : Load Item เลือกรายการ Seismic Loads เพื่อกําหนดทิศทาง


และคาแฟกเตอรดังในรูป

 คลิกเลือก X Direction และใสคา Factor = 0.75 แลวคลิกปุม Add

STAAD.Pro : Loading 5 - 29
 สําหรับ LOAD CASE 2 เลือก Z Direction และ Factor = 0.75 คลิกปุม Add

 ในแตละ LOAD CASE จะใสน้ําหนักในแนวดิ่ง ในตัวอยางนี้เราจะใสน้ําหนักตัวเอง


เพื่อที่จะวิเคราะหแบบ P-Delta ตอไป ใหคลิกที่รายการแตละ LOAD CASE แลวเลือก
SELF WEIGHT Y -1 รายการจะเพิ่มเปน

STAAD.Pro : Loading 5 - 30
 ตอมาเพิ่มรายการ Floor Load ซึ่งเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ของพื้นอาคารใสคา 0.8
MTon/m2 ลงในทั้งสองกรณีบรรทุก

คําสั่งที่ถูกสรางขึ้นมาคือ :
LOAD 1 LOADTYPE None TITLE LOAD CASE 1
UBC LOAD X 0.75
SELFWEIGHT Y -1
FLOOR LOAD
YRANGE 0 12 FLOAD -0.8 XRANGE 0 12 ZRANGE 0 9 GY
LOAD 2 LOADTYPE None TITLE LOAD CASE 2
UBC LOAD Z 0.75
SELFWEIGHT Y -1
FLOOR LOAD
YRANGE 0 12 FLOAD -0.8 XRANGE 0 12 ZRANGE 0 9 GY

 ไปที่หนา Analysis/Print เลือกแถบ PDelta Analysis ในหนาตางที่แสดงขึ้นมา

STAAD.Pro : Loading 5 - 31
 ใสคาดังในรูปขางลาง Converge = 10 คือจํานวนรอบของการวิเคราะหมากที่สุด
หมายความวาใหทําการวิเคราะหซ้ําจนกวาการโยกตัวดานขางจะคงที่หรือครบ 10 รอบของ
การทําซ้ํา

 คลิกปุม Add ตามดวย Close

 สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis…

STAAD.Pro : Loading 5 - 32
Spro2006 : Load Envelope
ใน STAAD.Pro เวอรชั่น 2006 เราสามารถกําหนด load envelopes ซึ่งเปนการจัดกลุม
กรณีบรรทุกที่ไดสรางขึ้นมาแลว เมื่อเขาไปโหมด Post-processing ผูใชสามารถเรียกดูผล
การวิเคราะหของแตละกลุมที่กําหนดไวได

การใช load envelopes ในการออกแบบจะทําใหผูออกแบบสามารถกําหนดพารามิเตอรที่


เหมาะสมกับธรรมชาติของน้ําหนักบรรทุกในแตละ envelope ได ตัวอยางเชนในกรณีของ
แรงลม ขอกําหนดในการออกแบบสวนใหญจะยอมใหเพิ่มคาหนวยแรงที่ยอมใหขึ้น อีกกรณีคือ
การกําหนดกลุมน้ําหนักบรรทุกแยกกันเพื่อการตรวจสอบ serviceability, working stress
และตรวจสอบ limit state

 เริ่มตนสรางโมเดลใหมแบบ Space ตั้งชื่อวา LoadEnv ใช Structure Wizard สราง


Bay Frame ดังในรูปขางลาง

 เลือกเมนู File | Merge Model with STAAD.Pro Model

STAAD.Pro : Loading 5 - 33
 ไปหนา General | Property คลิกปุม Section Database เลือกตาราง South
Korean
- เลือกหนาตัด W300X200X56 กําหนดใหเสาทุกตน

- เลือกหนาตัด W350X250X69 กําหนดใหคานทุกตัว

 ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed กําหนดใหโหนดที่ฐานเสา

 ไปหนา General | Load คลิกรายการ Load Cases Details เพื่อสรางกรณีบรรทุก

 คลิกไอคอน Input Units กําหนดหนวยความยาวเปน Meter และหนวยแรงเปน


Kilogram

 คลิกปุม Add… สราง Primary Load Case 1, 2 และ 3

STAAD.Pro : Loading 5 - 34
 คลิกรายการ LOAD CASE 1 คลิกปุม Add… เลือก Uniform Force ใสคา W1 =
-200 kg/m ทิศทาง GY ดังในรูป

 คลิกปุม Add ตามดวย Close แลวกําหนดใหคานบนอาคารดังในรูป

 คลิกรายการ LOAD CASE 2 คลิกปุม Add… เลือก Selfweight ทิศทาง Y -1

 คลิกรายการ LOAD CASE 3 คลิกปุม Add… เลือก Nodal Load ใสคา Fx = 500 kg
กําหนดใหโหนดที่มุมอาคารดังในรูป

STAAD.Pro : Loading 5 - 35
รายการน้ําหนักบรรทุกทั้งสามกรณีแสดงขึ้นมาในหนาตาง Load

 คลิกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add… เลือกรายการ Define


Combinations กําหนดคาตามในรูปขางลาง คลิกปุม Add ตามดวย Close

STAAD.Pro : Loading 5 - 36
 คลิกรายการ Load Cases Details เพื่อสราง Primary Load Case 5

 คลิกรายการ LOAD CASE 5 คลิกปุม Add… เลือก Nodal Load ใสคา Fy = -500
kg กําหนดใหโหนดบนอาคารดังในรูป

 ไปหนา Analysis/Print ในแถบ Perform Analysis เลือก Print Option = No


Print

 ไปหนา General | Load เลือกรายการ Load Envelope คลิกปุม Add…

STAAD.Pro : Loading 5 - 37
 หนาตาง Add New : Load Envelopes จะแสดงขึ้นมาใหเราเลือกกําหนดตามในรูป
ขางลาง แลวคลิกปุม Add

 กําหนดอีกกลุมตามในรูปขางลาง คราวนี้คลิกปุม Add แลวตามดวย Close

STAAD.Pro : Loading 5 - 38
 รายการในหนาตาง Load จะเปนดังในรูปขางลาง

 คําสั่งที่ถูกสรางขึ้นคือ
DEFINE ENVELOP
1 2 ENVELOP 1 TYPE SERVICEABILITY
3 5 ENVELOP 2 TYPE STRESS
END DEFINE ENVELOP

 พิมพคําสั่งเพิ่มเขาไปคือ
LOAD LIST ENV 1
PRINT SUPPORT REACTIONS

 เลือกเมนู Commands | Loading | Load List… เลือกทุกกรณีบรรทุก

 ไปหนา Design | Steel เลือกมาตรฐาน AISC ASD

 คลิกปุม Define Parameters… เลือกรายการ DFF ใสคา 360

 กําหนดใหคานตามในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Loading 5 - 39
 คลิกปุม Commands เลือกรายการ CHECK CODE กําหนดใหคานเดิมตามรูปขางบน

 สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis…

 เมื่อรันผาน ขณะจะเขาโหมด Post-processing หนาตาง Result Setup จะมีทางเลือก


สําหรับ Defined Envelope เพื่อใหเลือกแสดงผลตามที่เราตองการ

STAAD.Pro : Loading 5 - 40
 เมื่อเขามาในโหมด Post-processing แลว เลือก Envelope ในชองเลือกกรณีบรรทุก บน
ทูลบารดานบน

 ไปหนา Beam | Graphs คลิกเลือกคานดังในรูปขางลาง สังเกตกราฟแรงภายในดานขาง

STAAD.Pro : Loading 5 - 41
6
การวิเคราะหและแสดงผล
เนื้อหาทีจ่ ะกลาวถึงในบทนี้
„ Analysis/Print

„ Beam2D : คานสองมิติ

„ Post Processing : โหมดหลังการคํานวณ

„ Local Coordinate System : แกนพิกัดองคอาคาร

„ Internal Hinge : จุดหมุนภายใน

„ Truss2D : โครงถักสองมิติ

„ User Customized Report : รายงานผูใชกําหนดเอง

„ Inclined Support & Support Settlement

„ P-Delta Analysis

„ Bracing with Truss or Tension Members

„ Building with Flat Slab & Shear Wall

„ SPro2006 : Transfer Force for Connection Design

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-1


Analysis/Print
 ในบทนี้เราจะกลาวถึงการใชคําสั่งวิเคราะหและการแสดงผล
 เริ่มโปรแกรมใหม เลือกโครงสรางแบบ Plane ตั้งชื่อไฟลวา Beam2D
 ลองคลิกที่หนา Analysis/Print โปรแกรมจะนําเราเขาหนายอย Analysis และแสดง
หนาตาง Analysis/Print Commands ขึ้นมา

เพื่อใหผูใชเลือกคําสั่งที่จะใชในการคํานวณวิเคราะหโครงสราง สําหรับปญหาโดยทั่วไปแลว
เราจะใชแถบ Perform Analysis สวนตัวเลือกอื่น เชน PDelta Analysis ซึ่งอาจจะใชบาง
จะเปนการวิเคราะหแบบพิเศษเฉพาะตัว

คําสั่งที่เราสามารถเลือกใชไดในแถบ Perform Analysis คือการกําหนดสิ่งที่จะพิมพออกมา


ในไฟลผลลัพธ (Output File) ไดแก
• No Print ไมพิมพ

• Load Data พิมพขอมูลน้ําหนักบรรทุก

• Statics Check ตรวจสอบผลรวมของแรงภายนอก แรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ รวมทั้ง


โมเมนตของแรงดังกลาวที่จุดกําเนิด
• Statics Load เชนเดียวกับ Statics Check แตเพิ่มการแสดงผลรวมของแรง
ภายนอกและแรงภายใน ที่แตละจุดตอดวย

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-2


• Mode Shapes พิมพคาโหมดการสั่นไหวสําหรับการวิเคราะหแบบพลศาสตร

• Both มีคาเทากับ Load Data รวมกับ Statics Check

• All มีคาเทากับ Load Data รวมกับ Statics Load

ใน STAAD.Pro รุนใหม เรามีโหมด Post Processing ซึ่งสามารถแสดงผลการวิเคราะหได


อยางละเอียดและเปนกราฟก นอกจากนั้นยังมีการสรางรายงานแบบผูใชกําหนดเองไดอีก

ดังนั้นการพิมพผลในไฟลผลลัพธซึ่งเปนไฟลตัวอักษรเทานั้น จึงลดความนาสนใจลง มักใชใน


กรณีพิเศษเทานั้น โดยทั่วไปจึงมักเลือกเปน No Print

 คลิก Close เพื่อปดหนาตาง แลวกลับไปเริ่มสรางโมเดลที่หนา Geometry กอน

 โมเดล Beam2D เปนคานตอเนื่องรับน้ําหนักดังแสดงในรูปขางลาง


1200 kg
500 kg/m

2m 1m 4m

 ใช Snap Node/Beam ในมุมมอง View From +Z สรางโมเดลดังในรูป

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-3


 ไปที่หนา General | Property เพื่อความรวดเร็ว เลือกหนาตัดจากตารางเหล็กมาตรฐาน
แลวกําหนดใหแกองคอาคาร

 ไปที่หนา General | Support สรางเพื่อที่จะใสจุดรองรับใหแกโครงสราง ซึ่งมีทั้งหมด 3


แบบ คือ แบบยึดแนน (Fixed) แบบหมุนได (Pinned) และเลื่อนได (Roller) โดยสราง
รูปแบบจุดรองรับทั้ง 3 ขึ้นมากอนดวยคําสั่ง Add แลวจึง Assign ใหแกจุดตอที่ตองการที
ละจุดตามลําดับ ดวย Node Cursor

สําหรับจุดรองรับแบบ Roller ใหเลือกแถบ Fixed But คลิกเลือกดีกรีอิสระที่ตองการ

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-4


รายการแสดงจุดรองรับจะเปนดังในรูป

 กําหนดจุดรองรับใหกับโหนดทั้งสามดังแสดงในรูป

 ไปที่หนา General | Load สรางกรณีบรรทุกใหม โดยคลิกรายการ Load Cases


Details แลวคลิกปุม Add…

 คลิกรายการกรณีบรรทุกที่สรางขึ้นมาใหม คลิกปุม Add ในหนาตาง Add New : Load


Items ใสน้ําหนักบรรทุกแบบ Concentrated Force และ Uniform Force ดังในรูป

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-5


 ในรายการจะแสดงน้ําหนักบรรทุกทั้งสองขึ้นมาดังในรูปใหคลิกเลือกแลว Assign ใหคาน
ที่ตองการ

 เพื่อใหการแสดงภาพดูดีขึ้น ใหคลิกขวาแลวเลือกรายการ Labels คลิกเลือกใหแสดงคา


น้ําหนักบรรทุก

 ความยาวลูกศรน้ําหนักบรรทุกจะขึ้นกับขนาดน้ําหนักบรรทุก เราสามารถปรับขนาดไดโดย
ปรับสเกล คลิกเมาทขวา เลือก Structure Diagrams… เลือกแถบ Scales แลวเลือก
ปรับคาตามหัวขอที่ตองการ

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-6


 เมื่อปรับสเกลเสร็จจะไดรูปคานรับน้ําหนักดังในรูป

 ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option = All เพื่อใหพิมพผลลัพธทุกอยาง


ออกมาในไฟลแสดงผล (.ANL) คลิกปุม Add แลว Close

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-7


 สังเกตหนาตาง Analysis-Whole Structure ดานขาง จะมีรายการคําสั่งเหมือนในไฟล
คําสั่งแสดงใหเราดูเพื่อใหตรวจสอบความถูกตอง บางครั้งคําสั่งเรียงสลับกันก็ทําใหเกิด
ผิดพลาดตอนรันคํานวณได จะเห็นรายการที่เราพึ่งสั่งใหพิมพผลแสดงเปนตัวเขม

 นอกจากนี้ถาเราลองคลิกหนายอย Pre-Print หรือ Post-Print แลวคลิกปุม Define


Commands… จะมีหนาตางแสดงขึ้นมาใหเราเลือกรายการที่เราสามารถกําหนดใหพิมพ
แสดงผลได

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-8


 สั่งใหโปรแกรมรันการคํานวณ เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… หรือกด Ctrl F5
เลือก STAAD Analysis แลวคลิกปุม Run Analysis

หนาตางแสดงสถานการณทํางานจะปรากฏขึ้นมา

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6-9


ถาไมมีขอผิดพลาด (0 Error) และคําเตือน (0 Warning) เมื่อเสร็จสิ้นการคํานวณ ผลลัพธจะ
ถูกพิมพออกมาในไฟลแสดงผลนามสกุล .anl ในตัวอยางนี้คือ Beam2D.anl

เรามีทางเลือกสามทางคือ 1) View Output File : ดูไฟลแสดงผล 2) Go to Post


Processing Mode : ไปยังโหมดหลังการคํานวณ หรือ 3) Stay in Modeling Mode : อยู
ในโหมดสรางโมเดลเหมือนเดิม

 คลิกเลือก View Output File แลวกดปุม Done โปรแกรมจะเปดหนาตางใหมขึ้นมา


แสดงขอมูลในไฟลแสดงผล

****************************************************
* *
* STAAD.Pro *
* Version 200X Bld US *
* Proprietary Program of *
* Research Engineers, Intl. *
* Date= MMM DDD, YYYY *
* Time= XX:XX:XX *
* *
* USER ID: XXX *
****************************************************

1. STAAD PLANE
INPUT FILE: Beam2D.STD
2. START JOB INFORMATION
3. ENGINEER DATE 11-JUN-08
4. END JOB INFORMATION
5. INPUT WIDTH 79
6. UNIT METER KN
7. JOINT COORDINATES
8. 1 0 0 0; 2 4 0 0; 3 8 0 0
9. MEMBER INCIDENCES
10. 1 1 2; 2 2 3
11. DEFINE MATERIAL START
12. ISOTROPIC STEEL
13. E 2.05E+008
14. POISSON 0.3
15. DENSITY 76.8195
16. ALPHA 1.2E-005
17. DAMP 0.03
18. END DEFINE MATERIAL
19. MEMBER PROPERTY AMERICAN
20. 1 2 TABLE ST W12X230
21. CONSTANTS
22. MATERIAL STEEL ALL
23. SUPPORTS
24. 1 FIXED
25. 2 PINNED
26. 3 FIXED BUT FX FZ MX MY MZ
27. LOAD 1 LOADTYPE NONE TITLE LOAD CASE 1
28. MEMBER LOAD
29. 1 CON GY -1.2 2
30. 2 UNI GY -0.8
31. PERFORM ANALYSIS PRINT ALL

P R O B L E M S T A T I S T I C S
-----------------------------------

NUMBER OF JOINTS/MEMBER+ELEMENTS/SUPPORTS = 3/ 2/ 3
ORIGINAL/FINAL BAND-WIDTH= 1/ 1/ 3 DOF
TOTAL PRIMARY LOAD CASES = 1, TOTAL DEGREES OF FREEDOM = 3
SIZE OF STIFFNESS MATRIX = 0 DOUBLE KILO-WORDS
REQRD/AVAIL. DISK SPACE = 12.0/ 93731.5 MB

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 10


LOADING 1 LOADTYPE NONE TITLE LOAD CASE 1
-----------

MEMBER LOAD - UNIT KN METE

MEMBER UDL L1 L2 CON L LIN1 LIN2

1 -1.2000 GY 2.00
2 -0.8000 GY 0.00 4.00

FOR LOADING - 1
APPLIED JOINT EQUIVALENT LOADS
JOINT FORCE-X FORCE-Y FORCE-Z MOM-X MOM-Y MOM-Z
1 0.00000E+00-6.00000E-01 0.00000E+00 0.00000E+00 0.00000E+00-6.00000E-01
2 0.00000E+00-2.20000E+00 0.00000E+00 0.00000E+00 0.00000E+00-4.66667E-01
3 0.00000E+00-1.60000E+00 0.00000E+00 0.00000E+00 0.00000E+00 1.06667E+00

STATIC LOAD/REACTION/EQUILIBRIUM SUMMARY FOR CASE NO. 1


LOADTYPE NONE TITLE LOAD CASE 1

***TOTAL APPLIED LOAD ( KN METE ) SUMMARY (LOADING 1 )


SUMMATION FORCE-X = 0.00
SUMMATION FORCE-Y = -4.40
SUMMATION FORCE-Z = 0.00

SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN-


MX= 0.00 MY= 0.00 MZ= -21.60

***TOTAL REACTION LOAD( KN METE ) SUMMARY (LOADING 1 )


SUMMATION FORCE-X = 0.00
SUMMATION FORCE-Y = 4.40
SUMMATION FORCE-Z = 0.00

SUMMATION OF MOMENTS AROUND THE ORIGIN-


MX= 0.00 MY= 0.00 MZ= 21.60

MAXIMUM DISPLACEMENTS ( CM /RADIANS) (LOADING 1)


MAXIMUMS AT NODE
X = 0.00000E+00 0
Y = 0.00000E+00 0
Z = 0.00000E+00 0
RX= 0.00000E+00 0
RY= 0.00000E+00 0
RZ= 6.99740E-06 3

EXTERNAL AND INTERNAL JOINT LOAD SUMMARY ( KN METE )-

JT EXT FX/ EXT FY/ EXT FZ/ EXT MX/ EXT MY/ EXT MZ/
INT FX INT FY INT FZ INT MX INT MY INT MZ

SUPPORT=1
1 0.00 -0.60 0.00 0.00 0.00 -0.60
0.00 0.19 0.00 0.00 0.00 0.23 111111

2 0.00 -2.20 0.00 0.00 0.00 -0.47


0.00 -0.47 0.00 0.00 0.00 0.47 111110

3 0.00 -1.60 0.00 0.00 0.00 1.07


0.00 0.28 0.00 0.00 0.00 -1.07 011110

************ END OF DATA FROM INTERNAL STORAGE ************

32. FINISH

*********** END OF THE STAAD.Pro RUN ***********

 เราสามารถดูไฟลนี้ไดโดยเลือกไอคอน บนทูลบารขางๆไอคอนสําหรับดูไฟลคําสั่ง
หรือเลือกเมนู File | View | Output File | STAAD Output

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 11


Post Processing Mode : โหมดหลังการคํานวณ
 เปนโหมดที่เราใชดูผลที่ไดจากการคํานวณ ลองเลือกเมนู Mode ดูจะพบวาทั้งหมดที่ผาน
มานั้นเราอยูในโหมดสรางโมเดล(Modeling Mode)เทานั้น ซึ่งเราจะไปโหมดอื่นไดก็
ตอเมื่อรันการคํานวณผานแลวเทานั้น
 การเขาสูโหมดหลังคํานวณทําไดโดยคลิกไอคอน หรือเลือกเมนู Mode | Post
Processing

 ในหนาตางตอมาจะใหเรากําหนดผลลัพธที่จะแสดง เชนเลือกกรณีน้ําหนักบรรทุก องค


อาคารที่จะใหแสดง หรือมุมมอง ในที่นี้เรามีกรณีบรรทุกเดียว คลิกปุม Apply แลว OK

Node Displacements
 เมื่อเขาสูโหมด Post Processing ผลที่แสดงขึ้นมาจะอยูในหนา Node |
Displacement ใหลองปรับสเกล Displacement = 0.01 mm/m

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 12


สังเกตไอคอน Displacement บนทูลบารเราสามารถเลือกคลิกที่ไอคอนเพื่อกลับมาดู
ผลไดอีกอยางรวดเร็ว

 หนาตางดานขวาเปนตารางแสดงคาตางๆ เชนถาคลิกเลือกแถบ Max Relative


Displacements จะแสดงคาการแอนตัวมากที่สุดในทิศทางตางและตําแหนงที่เกิด

Node Reactions
 ไปที่หนา Beam | Reactions โปรแกรมจะแสดงคาแรงปฎิกิริยาที่โหนด

Beam Forces
 ไปที่หนา Beam | Forces โปรแกรมจะแสดงคาแรงภายในตางๆที่เกิดขึ้นในคาน ซึ่งเรา
สามารถเลือกไดจากทูลบารเชน Bending Z Moment

หรือ Shear Y Force เมื่อปรับสเกลใหเหมาะสมจะได

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 13


การแสดงคาบนแผนภูมิแรงและโมเมนต
 เลือกเมนู Result | View Value… คลิกแถบ Ranges แลวเลือก All

 เลือกแถบ Beam Results คลิก Ends และ Midpoint สําหรับ Bending คลิก
Annotate แลว Close

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 14


Beam Stresses

 ไปที่หนา Beam | Stresses โปรแกรมจะแสดงการกระจายหนวยแรงในองคอาคาร โดย


เราสามารถเลื่อนสไลดเปลี่ยนหนาตัดที่แสดงไดอยางสะดวก

Beam Graphs
 ไปที่หนา Beam | Graphs โปรแกรมจะแสดงแผนภูมิแรงภายในเชนโมเมนตดัด แรง
เฉือนของแตละองคอาคาร คลิกเลือกองคอาคารที่ตองการใหแสดง และคลิกขวาในแผนภูมิ
ดานขางแลวเลือก Diagrams… เพื่อเลือกแรงที่ตองการใหแสดง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 15


Local Coordinate System : แกนพิกัดองคอาคาร

ถาลองพิจารณาผลที่ไดจากการคํานวณ อาจจะยังไมเขาใจเกี่ยวกับทิศทางของแรงที่แสดงใน
Beam Forces, Beam Stresses และ Beam Graphs ที่เห็นไดชัดเจนคือทิศทางของ
โมเมนตดัด Mz ที่จะตรงกันขามกับที่เราเคยชินคือผลที่แสดงออกมานั้น คาโมเมนตที่เปนบวก
จะดัดให คานโกงตั ว ทั้งนี้ก็เพราะ การแสดงค าแรงในคานนั้นจะอางอิง ระบบแกนเฉพาะที่
(Local)ของแตละองคอาคารตามกฎมือขวา

 คานดังแสดงในรูปขางลางมีโหนดเริ่มตน i และโหนดสิ้นสุด j แกน local-x บวกคือแกน


องคอาคารหรือเสนที่ลากจากโหนด i ไปหา j จากนั้นใชกฎมือขวาพิจารณาแกน local-y
และ local-z

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 16


 ในกรณีของคานซึ่งอยูในแนวราบทิศทางของแรงภายในที่เปนบวก โดยในการวาดกราฟ
แผนภูมิโปรแกรมจะยึดตามทิศทางแรงที่โหนด i เริ่มตนดังแสดงในรูป
Local y

+Fy +Fy

+Fx
i Local x j +Fx

+Mz +Mz

ดังนัน้ โมเมนต +Mz จะดัดใหคานโกง และแรง +Fx เปนแรงอัดตามแนวแกน สวน +Fy


เหมือนที่เราเคยชินคือ ทิศขึน้ เปนบวก

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 17


Internal Hinge : จุดหมุนภายใน

จากตัวอยางคานสองชวงมีจุดหมุนภายในระหวางชวงคานขางซายใตแรงกระทําเปนจุดดังในรูป
ขางลาง
1200 kg
500 kg/m

2m 1m 4m

 เริ่มตนสรางโมเดลใหมหรือเปดแฟมขอมูลขอมูลเดิมของตัวอยางคานมาแกไข โดยใชคําสั่ง
File | Save As… แลวบันทึกเปนแฟมงานใหม

 แทรกจุดตอโดยคลิกเลือกคาน แลวเลือกเมนู Geometry | Insert Node… หรือคลิก


เมาทขวาคางไวแลวเลือก Insert Node จากรายการที่แสดงขึ้นมา

 ใสระยะ 2 เมตร คลิกปุม Add New Point แลวคลิก OK โมเดลจะกลายเปน

จุดตอที่แทรกใหมจะเปนเบอร 4 ซึ่งเราอาจเรียงใหมเพือ่ ใหสะดวกตอการอางอิงและความ


รวดเร็วในการคํานวณ

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 18


 คลิกเลือกจุดตอทั้งหมดโดยเลือกเมนู Select | By All | All Nodes

 เลือกเมนู Geometry | Renumber | Nodes… กลองโตตอบจะแสดงขึ้นมา

 เลือก X Coordinate เปนเงื่อนไขในการเรียงแบบ Ascending แลวคลิกปุม Accept

 ทําเชนเดียวกันสําหรับคาน เมื่อเรียงเสร็จจะไดดังในรูปขางลาง

 ไปที่หนา General | Spec เพื่อทําการ Release องคอาคารใหไมรับโมเมนตก็จะ


กลายเปนจุดหมุน โดยคลิกที่ Beam… ในกลองโตตอบ Specifications

 คลิกแถบ Release เลือก Location: Start เลือกโมเมนตที่จะ Release คือ Mz แลวคลิก


Add → START MZ

 ทําซ้ํา เลือก Location: End, Mz แลวคลิก Add → END MZ

 รายการในกลอง Specification จะแสดงขึ้นดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 19


 กําหนดการรีลีสโมเมนตใหองคอาคารที่ตองการ ดวยตัวเลือก Assign To Selected
Beams โดยกําหนด START MZ ใหแกคานหมายเลข 2 และกําหนด END MZ ใหแก
คานหมายเลข 1

 ถาเปดดูไฟลคําสั่งจะมีรายการเพิ่มขึ้นคือ
MEMBER RELEASE
2 START MZ
1 END MZ

 ทําการวิเคราะหตอไปตามปกติจะไดผลการวิเคราะหดังนี้

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 20


Truss 2D : โครงถักสองมิติ

 ลักษณะปญหา การวิเคราะหโครงถักสองมิติ ใหเริ่มตนโปรแกรมใหม เลือกชนิดโครงสราง


เปนแบบ TRUSS ตั้งชื่อไฟลวา Truss2D ในหัวขอนี้เราจะมาวิเคราะหโครงถัก

200 kg
200 kg

200 kg
200 kg

200 kg

200 kg
200 kg

200 kg
200 kg
100 kg

100 kg
2m
1m

10 @ 1 m = 10 m

 ใชหนวยความยาวเปน Meter และหนวยแรงเปน Kilogram


 เลือกระนาบ X-Y กําหนดเสนกริด X: 0 → 5, Spacing = 1 และ Y : 0 → 2, Spacing
= 1 สรางโครงสรางดังแสดงในรูป

 เลือกองคอาคารหมายเลข 2 ดังในรูป คลิกไอคอน Insert Node แทรกโหนด 4 จุด


ระยะหางเทากัน

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 21


 คลิกไอคอน ลากเสนจากโหนดที่ถูกแทรกใหมลงมาองคอาคารแนวนอนขางลาง

 คลิกไอคอน Add Beams วาดทอนยึดทแยงจนครบ แลวปดหนา Snap


Node/Beam

 ไปที่หนา General | Property เพื่อกําหนดคุณสมบัติใหแกองคอาคาร สําหรับตัวอยางนี้


เราจะใชหนาตัดทอกลม(Pipe) กอนอื่นใหเปลี่ยนหนวยความยาวเปน cm แลวคลิกปุม
Section Database เลือกตาราง South Korean | Pipe หนาตางที่แสดงขึ้นมาจะใหเรา
ใสเสนผาศูนยกลางวงนอกและวงใน คลิกเลือกวัสดุ STEEL ใสคาสองหนาตัดคือ
R1: OD = 7.63 cm ID = 6.99 cm (ทอ 3 นิ้ว)
R2: OD = 4.86 cm ID = 4.30 cm (ทอ 2 นิ้ว)

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 22


 กําหนดหนาตัด R1 ใหแกจันทันและขื่อ สวนหนาตัด R2 กําหนดใหองคอาคารที่เหลือ

 เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Meter เลือกทุกองคอาคารโดยกด Ctrl + A แลวคลิกไอคอน


Mirror ใสขอมูลตามในรูปขางลาง

 ไปที่หนา General | Support ใสจุดรองรับแบบ Pinned และแบบ Roller ที่แตละขาง


ของโครงถัก

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 23


TIPS ในกรณีที่ตองการลบจุดรองรับออกจากโครงสรางทําไดโดย Assign S1 (No Support)
ใหแกจุดตอที่มีจุดรองรับเดิมอยู

 ไปที่หนา General | Load เลือก Load Cases Details คลิกปุม Add สราง Load
Case 1 แลว Add น้ําหนักบรรทุก Nodal Load | Fy = -100 kg และ Fy = -200 kg

 กําหนดน้ําหนักบรรทุกลงโหนดที่ตองการ ปรับสเกล และกําหนดการแสดงคาใหน้ําหนัก


บรรทุกจนไดดังในรูปขางลาง

 ทําการบันทึกภาพ ไวเพื่อใชประกอบรายงานโดยคลิกไอคอน Take Picture


 ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option = No Print แลวคลิกปุม Add
 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… เลือกทําการวิเคราะหดวย STAAD
 เขาสูโหมด Post Processing เลือกใหแสดงแรงปฏิกิริยา (Reactions) และการเสีย
รูปทรง (Displacements) แลว Take Picture เก็บไว

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 24


 เราสั่งใหโปรแกรมแสดงคาบนรูปภาพไดโดยเลือกเมนู Results | View Value… เลือก
แถบ Node | Global Y แลวคลิกปุม Annotate ดังในรูป

 ไปที่หนา Beam | Forces คา Fx คือแรงตามแนวแกนสังเกตคาในตารางจะเห็นวา คาที่


เปนบวกคือแรงอัด และคาที่เปนลบคือแรงดึง คลิกปุมแสดง Fx บนทูลบารจะได

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 25


User Customized Report : รายงานผูใชกําหนดเอง

แตเดิมผลการคํานวณ จะอยูในไฟลแสดงผลเปนตัวอักษร(Output File)นามสกุล .ANL ซึ่ง


ถูกกําหนดเอาไว ใน STAAD.Pro รุนใหมเราสามารถสราง “รายงานผูใชกําหนดเอง” ซึ่งจะมี
รูปแบบที่สวยงามและสามารถกําหนดเนื้อหาไดเอง โดยเราสามารถแทรกรูปกราฟกและตาราง
แสดงผลตางเขาดวยกันไดตามตองการ
 เริ่มโดยการไปยังหนา Reports หรือคลิกไอคอนจากเมนูบาร Report Setup เมื่อ
เลือกรายการที่ตองการแลวสามารถดูตัวอยางกอน พิมพไดดวยไอคอน Print Preview
จะไดรายงานที่จัดพิมพสําเร็จรูป หนาตาง Report Setup จะแสดงขึ้นมา

แถบ Items : ใชกําหนดหัวขอที่จะแสดงในรายงาน รายการ Available แสดงหัวขอที่มีให


เลือกเชน Input, Output และ Pictures รายการ Input จะเปนขอมูลที่ผูใชใสเขาไป สวน
รายการ Output จะเปนผลที่ไดจากการคํานวณ รายการ Pictures จะเปนรูปที่ถายเอาไวซึ่งดู
ไดจากแถบ Picture Album
แถบ Load Cases : ใชกําหนดกรณีบรรทุกที่จะแสดงในรายงาน
แถบ Modes : ใชในการวิเคราะหแบบพลศาสตร เพื่อเลือกรูปแบบการสั่นไหว
แถบ Ranges : ใหกําหนดองคอาคารที่ตองการแสดง ปกติจะเลือกไวเปน All แตเราอาจเลือก
ใหแสดงเฉพาะบางองคอาคารได

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 26


แถบ Picture Album : เปนอัลบั้มรูปภาพที่ถูกถายเก็บเอาไว โดยเราสามารถกําหนดขนาด
ของภาพที่จะแสดงได รวมถึงเขียนขอความอธิบายใตภาพในชอง Caption

แถบ Options : ใชกําหนดทางเลือกตางของรายงานเชน Header, Page Outline และ


Footer เลขที่หนา รูปแบบตาราง

แถบ Name and Logo : ใชใสชื่อบริษัทและโลโกลงในรายงาน โดยเราสามารถพิมพชื่อ


บริษัทลงไปพรอมเลือกชนิดและขนาดฟอนท สวนโลโกตองเปนไฟลภาพชนิด Windows
Metafile (.wmf) หรือ .bmp

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 27


แถบ Load/Save : ใชจัดเก็บเนื้อหารายงานผูใชกําหนดเอง และโหลดรายงานที่ถูกเก็บไวขึ้นมา

แถบ Steel Design : จะนําผลการออกแบบเหล็กที่คํานวณไวระหวางการวิเคราะหมาใสลงในรายงาน

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 28


Inclined Support & Support Settlement
โครงขอหมุนประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมดานเทาความยาวเทากับ 2 m พื้นที่หนาตัด A = 10
cm2 สําหรับทุกชิ้นสวน มีจุดรองรับเอียงและอีกจุดรองรับทรุดตัวดังในรูป

500 kg

200 kg

60o 60o
o
60 60o

60o
60o 60o 60o 60o

0.5 cm
30o

 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกชนิดโครงสรางแบบ Truss ตั้งชื่อวา Truss2D ใชหนวยความ


ยาวเปน Meter และหนวยแรงเปน Kilogram

 ในปญหานี้คานยาว 2 m เอียงทํามุม 60 องศา การกําหนดเสนกริดจะไดพิกัดเปนตัวเลขไม


ลงตัวพอดี เพื่อใหไดคาพิกัดที่ถูกตอง เราจะใชการหมุนระนาบ (Angle of Plane) ดังนี้

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 29


 หมุนระนาบ Z-Z ไป 30 องศา และตั้งคาระนาบ X-Y และระยะกริด :
Construction Lines : X : Left = 0, Right = 3, Spacing = 1
Y : Left = 0, Right = 3, Spacing = 1
จากนั้นสรางองคอาคารหมายเลข 1 ดังในรูปขางบน

 หมุนระนาบ Z-Z กลับไปยังที่เดิม สรางองคอาคารที่เหลือ คลิกเลือก Snap to existing


nodes too แลวสรางโมเดลตอจนไดรูปสามเหลี่ยม เพิ่มจํานวนชอง X : Right = 4

 หมุนระนาบ Z-Z ไป 30 องศาอีกครั้ง แตคราวนี้ยายจุดกําเนิดไป X = 2 ดังในรูป

 หมุนระนาบ Z-Z กลับไปยังที่เดิม แลวสรางองคอาคารที่เหลือจนเสร็จ

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 30


 ไปที่หนา General | Property เปลี่ยนหนวยโดยเลือกเมนู Tools | Set Current Unit
ใหเปน Centimeter

 คลิกปุม Define… เลือก General ใสขอมูลพื้นที่ Ax = 10 cm2 แลวคลิกเครื่องหมาย


ถูกที่ Material = Steel

 คลิก Add เลือก Assign To View แลวคลิกปุม Assign

 ไปหนายอย General | Support เพื่อที่จะใสจุดรองรับใหแกโครงสราง ซึ่งมีทั้งหมด 2


แบบ คือ แบบหมุนได (Pinned) และเลื่อนได (Roller) โดยสรางรูปแบบจุดรองรับทั้ง 2
ขึ้นมากอนดวยคําสั่ง Add แตเนื่องจากจุดรองรับเปนแบบเอียงใหเลือกแถบ Inclined
แลวกรอกขอมูลตามในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 31


 จุดรองรับแบบ Roller ใหเลือกชนิดจุดรองรับเปน Fixed But โดย Release ทุก
องคประกอบยกเวน FX ตามแกนพิกัดโลคอล X

NOTES จุดอางอิง (Incline Reference Point) ของที่รองรับแบบเอียงคือจุดสมมุติที่เทียบกับ


จุดรองรับ โดยวัดแกนพิกัดโลคอลเทียบกับแกนพิกัดโกลบอล ในแกนพิกัดโลคอล X จะ
มีทิศทางจากจุดรองรับไปยังจุดอางอิง ดังแสดงในรูปขางลาง

Y
Global
X
30o
Reference -1.732
point
-1 30o

Y
Local
X

 กําหนดจุดรองรับใหแกโหนดที่ตองการ ดังในรูป

 ไปที่หนาหนายอย General |Load สราง Load Case 1 คลิกปุม Add เลือก Nodal
Load ใสคาแรง Fx = -200 kg และ Fy = -500 kg แลวใสลงโหนด

 ปรับสเกลและกําหนดการแสดงคาใหน้ําหนักบรรทุกจนไดดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 32


 ตอมาเราตองการกําหนดใหจุดรองรับตัวกลางทรุดตัวลง -0.5 cm ทําไดโดยกําหนดเปน
น้ําหนักบรรทุกชนิดหนึ่ง คลิกเลือกรายการ LOAD CASE 1 คลิกปุม Add ในรายการ
Nodal Load จะมี Support Displacement ใหเลือก

 เมื่อกําหนดใหจุดรองรับตัวกลางจะไดดังในรูป

 ไปที่หนา Analysis/Print เลือกแบบ No Print

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 33


 สั่งใหโปรแกรมทําการวิเคราะหดวยคําสั่งจากเมนูบาร Analyze | Run Analysis…

 หลังการคํานวณ ลองตรวจดูแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับดูวาถูกตองหรือไม โดยเฉพาะจุด


รองรับเอียงขางซายวาองคประกอบของแรงใหแรงลัพธในทิศทางตั้งฉากกับระนาบเอียง

 ดู Displacement เพื่อดูผลของการทรุดตัว แสดงผลโดยเลือกเมนู Result | View Value


| Node Displacement = Global Y

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 34


P-Delta Analysis
เปนการวิเคราะหซึ่งพิจารณาผลของการเซ (Sway) ของอาคารที่มีตอการรับน้ําหนักบรรทุกใน
แนวดิ่งของโครง เนื่องการเซจะทําใหโมเมนตจากน้ําหนักบรรทุกเพิ่มขึ้นซึ่งผลที่ตามมาก็จะทํา
ใหการเซเพิ่มขึ้นอีก การวิเคราะห P-Δ จะทําหลายครั้งจนการเซคงที่
 เริ่มตนโดยการสรางโมเดล SteelFrame ดังในรูปขางลาง เปนโครงสรางเหล็กสองชั้น
DL = 1 ton/m
LL = 2 ton/m
Wind = 1 ton

4m
DL = 1 ton/m
LL = 2 ton/m
Wind = 1 ton

4m

6m

 สรางโมเดลเปนโครงสองชั้นกวาง 6 เมตร สูง 4 เมตร

 เลือกหนาตัดจากตารางเหล็ก South Korean เลือกวัสดุ STEEL กําหนดหนาตัด


W300X200X56 เปนเสาทั้งหมด และ W350X250X69 เปนคานทั้งหมด

 สรางจุดรองรับแบบ Fixed และ Pinned แลวกําหนดใหจุดรองรับทั้งสอง

 สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 1 เปน DEAD LOAD เพิ่มน้ําหนักตัวเอง Self Weight และ


Uniform Load ทิศทาง GY ขนาด -1 Mton/m

 สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 2 เปน LIVE LOAD เพิ่มน้ําหนัก Uniform Load ทิศทาง


GY ขนาด -2 Mton/m

 สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 3 เปน WIND LOAD เพิ่มน้ําหนัก Nodal Load ทิศทาง Fx


ขนาด 1 Mton
 กําหนด Uniform Load ของ DEAD LOAD และ LIVE LOAD ใหแกคาน และ
Nodal Load ของ WIND LOAD ใหแกโหนดดานขางอาคารดังในรูป

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 35


 สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 4 เปน Primary Load ตั้งชื่อวา DL+LL+W

 คลิกปุม Add… เลือกรายการ Repeat Load ซึ่งจะใชแทน Load Combination


เพื่อใหการวิเคราะห P-Δ มีความถูกตอง ใชคาตัวคูณ 1.0 กับทุกกรณีบรรทุกดังในรูป

 ไปหนา Analysis/Print ในแถบ Perform Analysis เลือก Print Option = No


Print

 สั่ง Run Analysis… ไปยังโหมด Post Processing เลือกใหแสดงกรณีบรรทุก 4 ดูคา


Displacement ของโหนดที่มุมบน ในตัวอยางนี้คือ Node 2 และ 3

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 36


 กลับมาที่โหมด Modeling ไปหนา Analysis/Print ลบรายการ Perform Analysis
ในหนาตางดานขวาออก

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 37


 คลิกปุม Define Commands… เลือกแถบ PDelta Analysis เลือก Print Option =
No Print นอกจากนั้นจะมีอีกสองชองคือ Iterations ตัวเลขที่ใสในชองนี้จะเปนจํานวน
ครั้งที่จะทําการคํานวณซ้ํา ถาไมใสจะถูกกําหนดเปน 1 ครั้ง สวนอีกชองคือ Converge ถา
เราใสจํานวนในชองนี้ โปรแกรมจะทําการคํานวณซ้ําไปจนคาการเคลื่อนที่ของโหนดไม
เปลี่ยนแปลง หรือจํานวนครั้งการคํานวณถึงคานี้กอน

 ใหคลิกชอง Converge ใสคามากหนอยเชน 10 ดังรูป

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 38


 สั่ง Run Analysis… ไปยังโหมด Post Processing เลือกใหแสดงกรณีบรรทุก 4 ดูคา
Displacement ของโหนดที่มุมบน ในตัวอยางนี้คือ Node 2 และ 3

 จะเห็นวามีคามากกวาการวิเคราะหแบบปกติ

Beam Ends Moment Release : กําหนดจุดหมุนปลายคาน

จุดตอคานและเสาในโครงสรางเหล็กมักจะเปนแบบจุดหมุน ใน STAAD.Pro เราสามารถ


กําหนด Moment Release ใหปลายคานทั้งสอง

 ในโมเดลเดิม กลับมาที่โหมด Modeling ไปหนา General | Spec คลิกปุม Beam… ใน


แถบ Release เลือก Location = Start และ Release = MZ คลิกปุม Add

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 39


 คลิกปุม Beam… อีกครั้ง เลือก Location = End และ Release = MZ รายการใน
หนาตาง Specifications จะเปนดังในรูปขางลาง

 กําหนดทั้งสองรายการใหคานตัวลางดังในรูป

 สั่งรันการคํานวณ Run Analysis แลวเขาสูโหมด Post-processing

 ดูแผนภูมิโมเมนตดัดของคานทั้งสองในหนา Beam | Graphs เปรียบเทียบกันดังในรูป

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 40


Bracing with Truss or Tension Members
ในทางปฏิบัติแลวจุดตอทุกจุดในโครงสรางเหล็กมักจะเปนจุดหมุน

 กลับมาที่โหมด Modeling เปลี่ยนปลายคานตัวบนเปนจุดหมุน โดยใช Moment


Release เดิมที่ไดกําหนดไวแลว

 สั่งรันการคํานวณ Run Analysis เมื่อรันผาน ใหเขาสูโหมด Post-processing

 ดูคา Node Displacement ของโหนดที่ชั้นบนอาคารคือโหนด 2 และ 3 ดังในรูปขางลาง


จะเห็นวามีคาคอนขางมากเนื่องจากจุดตอคาน-เสาเปนจุดหมุน

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 41


เพื่อลดการเซของอาคาร เราจะทําการยึดโยง (Bracing) โครงเหล็ก
 กลับมาที่โหมด Modeling สรางองคอาคารยึดโยงดังในรูปขางลาง

 ไปหนา General | Property คลิกปุม Define… เลือกรายการ General ใสพื้นที่ AX


= 5 cm2 ตามในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 42


 กําหนดหนาตัดใหแกองคอาคารยึดโยงทั้งหมด

 ไปหนา General | Spec คลิกปุม Beam เลือกแถบ Truss แลวกําหนดใหองคอาคารยึด


โยงทั้งหมด

 สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis คลิกปุม Run Analysis

 ดูคา Node Displacement ของโหนดที่ชั้นบนอาคารคือโหนด 2 และ 3 ดังในรูปขางลาง


จะเห็นวามีคาลดลงจากเดิมมาก

 ไปหนา Beam | Forces ในหนาตาง Beam Force Detail ดูคาแรงตามแนวแกน Fx ใน


องคอาคารยึดโยง 7 ถึง 10 จะเห็นวามีทั้งคาบวกซึ่งเปนแรงอัด และคาลบซึ่งเปนแรงดึง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 43


 ในบางครั้งเราอยากใชองคอาคารยึดโยงซึ่งรับแรงดังไดเพียงอยางเดียว ใหกลับไปที่หนา
General | Spec สราง Member Tension แทนที่ Truss ดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 44


 สั่งรันการคํานวณ Run Analysis อีกครั้ง แลวเขาสูโหมด Post-processing โดยเลือก
กรณีบรรทุก 4 ไปหนา Beam | Forces
 ในหนาตาง Beam Force Detail ดูคาแรงในองคอาคารยึดโยง 7 ถึง 10 ในชอง Fx คราว
นี้จะเห็นวามีแตคาเปนลบซึ่งเปนแรงดึงเทานั้น

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 45


Flat Slab & Shear Wall : พื้นไรคานและผนังเฉือน

เป น การวิ เ คราะห แ บบทุ ติ ย ภู มิ ข องการรั บ น้ํ า หนั ก บรรทุ ก ในแนวดิ่ ง ของโครงซึ่ ง มี ก ารเซ
เนื่องจากแรงดานขาง เพราะการเซของโครงจะทําใหโมเมนตจากน้ําหนักบรรทุกเพิ่มขึ้นทําให
การเซมากขึ้นได การวิเคราะห P-Δ จะทําหลายครั้งจนการเซคงที่

 เริ่มตนโปรแกรมใหม เลือกโครงสรางแบบ Space ตั้งชื่อวา Building ใชหนวยความยาว


เปน Meter หนวยแรงเปน Metric Ton

 คลิกไอคอน Snap Node/Plate เพื่อเริ่มสรางแผนผนังเฉือนซึ่งในตัวอยางนี้เราจะ


สรางเฉพาะผนังแบบงายๆรูปสี่เหลี่ยมจึงเลือกสรางเปน Plate ในกรณีที่มีความซับซอน
เชนผนังมีรูเปด จะโมเดลเปน Surface แลวคอยแตกออกเปน Plate ยอยอีกที

 คลิกเลือกมุมมอง View From –X ในหนาตาง Snap Node/Plate เลือก Plane Y-Z


และ Grid Origin : X = 6, Y = 0, Z = 0 วาดแผนสูง 6 m กวาง 6 m

 คลิกขวาเลือก Structure Diagrams… เลือกใหแสดง Fill Plates

 คลิกเลือกมุมมอง View From +Y ในหนาตาง Snap Node/Plate เลือก Plane X-Z


และ Grid Origin : X = 0, Y = 6, Z = 0 วาดแผน 2 แผนกวาง 6 m ยาว 6 m

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 46


 เมื่อดูจากมุมมองสามมิติ Isometric View จะไดดังในรูป

 คลิกไอคอน Snap Node/Beam เพื่อวาดเสา คลิกเลือกมุมมอง View From -X ใน


หนาตาง Snap Node/Beam เลือก Plane Y-Z และ Grid Origin : X = 0, Y = 0, Z
= 0 วาดเสา 2 ตนยาว 6 m

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 47


 คลิกเลือกมุมมอง View From +X ในหนาตาง Snap Node/Beam เลือก Plane Y-Z
และ Grid Origin : X = 12, Y = 0, Z = 0 วาดเสาอีก 2 ตนยาว 6 m

 เมื่อดูจากมุมมองสามมิติ Isometric View จะไดดังในรูป

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 48


 ไปที่หนา General | Property เพื่อกําหนดคุณสมบัติหนาตัดองคอาคาร

 คลิกปุม Define… ในหนาตาง Property เลือกรายการ Rectangle ใสขนาดเสา 0.40 m


× 0.40 m และใช Material = Concrete แลวคลิก Add ตามดวย Close

 กําหนดคุณสมบัติ R1 ใหแกเสาทั้ง 4 ตนในโมเดล

 คลิกปุม Thickness… ในหนาตาง Property เลือกรายการ Plate/Surface Thickness


ใสคาความหนาที่มุมทั้ง 4 เปน 0.20 m เลือกMaterial = Concrete

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 49


 คลิกปุม Add ตามดวย Close แลวกําหนด R2 ใหทั้งแผนพื้นและผนัง

 หรือคลิกปุม 3D Rendering

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 50


 ไปที่หนา General | Load เพื่อกําหนดน้ําหนักบรรทุก สราง 3 กรณีบรรทุกคือ
LOAD 1: DEAD LOAD
LOAD 2: LIVE LOAD
LOAD 3: WIND LOAD

 คลิกรายการ DEAD LOAD ใสน้ําหนัก Selfweight ทิศทาง Y -1

 คลิกรายการ LIVE LOAD เลือก Plate Loads | Pressure on Full Plate ใสคาดังใน
รูปขางลาง

 คลิกปุม Add แลว Close กําหนดใหแกแผนพื้นทั้งสอง คลิกเมาทขวาเพื่อปรับสเกลและ


การแสดงคา
 คลิกปุม Change Graphical Display Unit เพื่อปรับหนวยในการแสดงผล

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 51


 เลือกทุกองคอาคาร จากเมนู Select | By All | All Geometry

 ใชคําสั่ง Translational Repeat

 คลิกปุม OK ตรวจสอบดูวาคุณสมบัติหนาตัดและน้ําหนักบรรทุกถูกทําซ้ําสําหรับองค
อาคารที่สรางขึ้นมาใหมหรือไม

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 52


 กลับวาที่หนา General | Load คลิกรายการ WIND LOAD คลิกปุม Add…

 เลือกรายการ Nodal Load ใสคา Fz = -10 MTon แลวกําหนดใหโหนดที่ชั้นบนสุดของ


อาคารดังในรูป

 สรางน้ําหนักบรรทุกอีกสองกรณีแบบ Repeat Load คือ LOAD4: 1.2DL+1.6LL


และ LOAD5: 0.75[DL+LL+WIND]

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 53


 ไปที่หนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed แลวกําหนดใหฐานรองรับ
อาคารดังในรูปขางลาง

 ไปที่หนา Analysis/Print เลือกแถบ PDelta Analysis ใสคาตามในรูปขางลาง คลิกปุม


Add แลว Close

 สั่ง Run Analysis ถาผานใหเลือกไป Post Processing Mode

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 54


 ไปที่หนา Node | Displacement

 ไปที่หนา Plate จะมีหนาตาง Diagrams แสดงขึ้นมาใหเรากําหนด Plate Stress


Contour ใหลองเลือกดู หรือทําตามในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 55


STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 56
SPro2006: Transfer Force for Connection Design
เปนการคํานวณแรงที่ถายเทผานจุดตอเพื่อนําไปใชในการออกแบบจุดตอ

 เปดไฟลตัวอยาง TransferForces.std ใน
ไดเรคทอรี่ Spro200X/STAAD/Examp/US

 สั่ง Run Analysis… เมื่อรันผานแลวเลือกไป


โหมด Post Processing

 เลือกใหแสดงผลทุกกรณีบรรทุก คลิก OK

 เลือกองคอาคารดังแสดงในรูป

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 57


 เลือกเมนู Report | Column Transfer Force…

หนาตาง Transfer Force For Selected Members… จะแสดงขึ้นมา ในชอง Loads


แสดงกรณีบรรทุกที่จะนํามาพิจารณาในการคํานวณแรงถายเทซึ่งจะเลือกไวทั้งหมด เราสามารถ
เอากรณีที่ไมตองการออกไดโดยคลิกที่รายการ ในชอง Left Beams และ Right Beams
แสดงรายการคานที่อยูทางดานซายและขวาของเสาโดยมีคาแรงแสดงอยูในชองดานลางคือ
Left TF และ Right TF

 เลือกปุม Insert Table ตารางจะถูกสรางขึ้นดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 58


 เลือกเมนู File | Report Setup หรือไปที่หนา Report หนาตาง Report Setup จะ
แสดงขึ้นมา

รายการ Transfer Force จะถูกเลือกใหไวแลว เมื่อ Print Preview Report ดูจะได

STAAD.Pro : Analysis & Post Processing 6 - 59


7
กก
  ก
 
 
Portal 2D
 
กกกก ก LOAD LIST
 ก   ก
  ก SELECT
   !ก Perform Analysis #2
 " ก ก CHECKCODE
 #$#%& '(

  ก SELECT OPTIMIZED
 #&#  TAKE OFF
  %)ก ก*ก
 " ก
)   GROUP
 " ก
)   FIXED GROUP
 ก() + STAAD.etc | Component Design
 ก  
,ก STAAD.etc | Steel Design

STAAD.Pro : Steel Design 7-1



    Portal 2D
 
ก  ก ก  ก   ! ก"
"##$ #ก%ก" $ #ก%ก
   #& '   
DL = 1 ton/m
LL = 2 ton/m
Wind = 1 ton

4m

6m

 ("    )ก  Plane *#)"+, - Portal2D  
  Meter   Metric Ton

    !ก  6 * & 4 *


ก*   ก' South Korean  )ก
#  %  !  STEEL  )  ก *#  . +  ก  /)"   #  
ก /(
0 1 ก 
ก ก$  *# W300X300X106  !  W500X300X114  ! 

  
%# Fixed  Pinned  ก$ 
%##

   (*(  (ก'  )ก ก  Structure Diagram… 


Structure ก 3D Section  )ก Full Sections

STAAD.Pro : Steel Design 7-2


 +  General | Load  (ก ก  Load Cases Details  ก0%ก 
 ก ) 1 : DEAD LOAD, 2 : LIVE LOAD  3 : WIND LOAD #&

STAAD.Pro : Steel Design 7-3


  (ก ก  1 : DEAD LOAD ก %2 Add… $ #ก Self Weight 
Uniform Load (3  GY '  -1 Mton/m ก$  - 2 #&

  (ก ก  2 : LIVE LOAD ก %2 Add… $ #ก Uniform Load (3  GY
'  -2 Mton/m ก$  - 2 (

  (ก ก  3 : WIND LOAD ก %2 Add… $ #ก Nodal Load (3  Fx
'  1 Mton ก$ #&

  (ก ก  Load Cases Details ก %2 Add…

  )ก ก  Define Combinations  $ #ก%กก0 4 : DL+LL+WIND

STAAD.Pro : Steel Design 7-4


  ก  *  Load
 !#& '   

 +  Analysis/Print  )ก Print Option = No Print

 #"#ก $ 0  )ก& Analyze | Run Analysis… *


1 ก ( -

ก กกกก LOAD LIST


 #  '   
("  ก    $ #"  "    ก ก   ก $ #"  ก) 
LOAD LIST  !ก ก ก
ก/)"#$ #ก%กก0+ 
4"#"+
 ! Combination Load Case *# ) Load 4

  )ก& Command | Loading | Load List…

  * "'  )ก 4 : DL+LL+WIND


ก 4   (ก %2 >  
  '  Load List #&

STAAD.Pro : Steel Design 7-5


ก  ก
 +  Design | Steel  )ก *5 "ก Current Code: AISC ASD

ก *   ' )

  " ! Centimeter – Kilogram

  (ก %2 Define Parameters…

STAAD.Pro : Steel Design 7-6


  *  Design Parameters
 ก /  (*- ก   )กก$ 
+ *#ก"
*ก$ ) ก
ก- 
,ก  )ก ก  FYLD  2500
kg/cm2   (ก %2 Add

 *  )ก ก  TRACK 4" !ก ก$ ก /(/-1 ก ก  )ก 2

/(/-1 "%( )ก  7"%)

  (ก %2 Add  *  Close  *  Steel Design


 ก /("'


   ก  FYLD  TRACK # !)" $  &  )ก*
 ก   Assign %ก-  

STAAD.Pro : Steel Design 7-7



 ก SELECT
  (ก %2 Commands…  *  Steel Design

  )ก ก  SELECT  !$ #" ก )ก *#" "%"1 'ก$ 

  (ก %2 Add  *  Close

  (ก" ก  SELECT "/("' 4"#)" $    ก 

 Assign ก#   ' 2  Use Cursor to Assign ) )ก   (ก
Assign to Selected Beams ก+

 #"#ก $ 0 Analyze | Run Analysis…  ก


' *)

STAAD.Pro : Steel Design 7-8


)" 
ก  $ #"  SELECT 4" 
 ก  )ก *#   *#(  * 
9 "ก ก#
ก$ #ก *#( ##
$ ก ( -ก#
(re-analysis) 4"
 $ *9  #

 )"#1   (ก )ก View Output File /)"&1 ก  )ก *#+, -1

STAAD.PRO MEMBER SELECTION - (AISC 9TH EDITION)


***********************************************

|--------------------------------------------------------------------------|
| Y PROPERTIES |
|************* | IN CMS UNIT |
| * |=============================| ===|=== ------------ |
|MEMBER 2 * | KOREAN SECTIONS | | AX = 76.10 |
| * | ST W12-12X8X40 | | --Z AY = 21.04 |
|DESIGN CODE * | | | AZ = 35.77 |
| AISC-1989 * =============================== ===|=== SY = 181.28 |
| * SZ = 851.49 |
| * |<---LENGTH (M)= 6.00 --->| RY = 4.92 |
|************* RZ = 13.02 |
| |
| 98.3 (KNS-METRE) |
|PARAMETER | L4 L4 STRESSES |
|IN KNS CMS | L4 IN NEWTON MMS|
|--------------- + -------------|
| KL/R-Y= 122.02 | L4 FA = 70.25 |
| KL/R-Z= 46.08 + L4 L4 fa = 1.80 |
| UNL = 600.00 | L4 FCZ = 120.10 |
| CB = 1.00 + FTZ = 147.10 |
| CMY = 0.85 | L4 FCY = 183.87 |
| CMZ = 0.85 +L4 L4 FTY = 183.87 |
| FYLD = 24.52 | L4 fbz = 115.41 |
| NSF = 1.00 +---+---+---+---+---+---+---+---+---+---| fby = 0.00 |
| DFF = 0.00 5.4 Fey = 70.90 |
| dff= 0.00 ABSOLUTE MZ ENVELOPE Fez = 497.06 |
| (WITH LOAD NO.) FV = 98.07 |
| fv = 2.49 |
| |
| MAX FORCE/ MOMENT SUMMARY (KNS-METRE) |
| ------------------------- |
| |
| AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z MOMENT-Y MOMENT-Z |
| |
| VALUE 13.7 96.9 0.0 0.0 98.3 |
| LOCATION 0.0 6.0 0.0 0.0 3.0 |
| LOADING 4 4 0 0 4 |
| |
|**************************************************************************|
|* *|
|* DESIGN SUMMARY (KNS-METRE) *|
|* -------------- *|
|* *|
|* RESULT/ CRITICAL COND/ RATIO/ LOADING/ *|
| FX MY MZ LOCATION |
| ====================================================== |
| PASS AISC- H1-3 0.987 4 |
| 13.72 C 0.00 -98.27 3.00 |
|* *|
|**************************************************************************|
| |

 *# W12-12X8X40


&ก )ก  W500X300X114 "  )ก+(  +ก
*  #ก* MOMENT-Z ) 98.3 kN-m  ! "+
กก $ #ก *#(

##
&ก
*$ ก ( -ก#$ #ก *#

STAAD.Pro : Steel Design 7-9


& ' ก  Perform Analysis #2
ก    +ก  )ก *#ก-   * )"$ ก ก )ก
 *#  
 "+ $ *( -ก#

 +  Analysis/Print | Analysis  (ก*# )ก No Print

  (ก %2 Add  Close


 ก: ก  PERFORM ANALYSIS ก ก *

ก$ #" SELECT #&

&7
กก CHECK CODE
  #ก ( -#"
$ -  %* +  ก
ก( 
  *
&   9#)+* 'ก$  $ #" :
CHECK CODE ALL

  (ก 2% Command 


 Steel Design  )ก Check Code   (ก %2
Add  *  Close

 )"
ก$ #" CHECK CODE * assign %ก member (;ก "  "%) 
 (ก %2 Assign to View

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 10



 & ' '<=ก&>
  )ก& Analyze > Run Analysis…   (ก %2 Run Analysis

  +'1(/   (ก )ก View Output File  ก %2 Done

1 ก ก
ก"/("'  #ก70   ก# *#ก**- Mz
STAAD.PRO CODE CHECKING - (AISC 9TH EDITION)
********************************************

|--------------------------------------------------------------------------|
| Y PROPERTIES |
|************* | IN CMS UNIT |
| * |=============================| ===|=== ------------ |
|MEMBER 2 * | KOREAN SECTIONS | | AX = 76.10 |
| * | ST W12-12X8X40 | | --Z AY = 21.04 |
|DESIGN CODE * | | | AZ = 35.77 |
| AISC-1989 * =============================== ===|=== SY = 181.28 |
| * SZ = 851.49 |
| * |<---LENGTH (M)= 6.00 --->| RY = 4.92 |
|************* RZ = 13.02 |
| |
| 85.7 (KNS-METRE) |
|PARAMETER | L4 STRESSES |
|IN KNS CMS | IN NEWTON MMS|
|--------------- + L4 L4 -------------|
| KL/R-Y= 122.02 |L4 L4 FA = 70.25 |
| KL/R-Z= 46.08 + fa = 2.82 |
| UNL = 600.00 | L4 L4 FCZ = 120.10 |
| CB = 1.00 + FTZ = 147.10 |
| CMY = 0.85 | L4 FCY = 183.87 |
| CMZ = 0.85 + L4 L4 FTY = 183.87 |
| FYLD = 24.52 | L4 fbz = 100.65 |
| NSF = 1.00 +---+---+---+---+---+---+---+---+---+---| fby = 0.00 |
| DFF = 0.00 1.1 Fey = 70.90 |
| dff= 0.00 ABSOLUTE MZ ENVELOPE Fez = 497.06 |
| (WITH LOAD NO.) FV = 98.07 |
| fv = 45.23 |
| |
| MAX FORCE/ MOMENT SUMMARY (KNS-METRE) |
| ------------------------- |
| |
| AXIAL SHEAR-Y SHEAR-Z MOMENT-Y MOMENT-Z |
| |
| VALUE 21.4 95.2 0.0 0.0 85.7 |
| LOCATION 0.0 6.0 0.0 0.0 6.0 |
| LOADING 4 4 0 0 4 |
| |
|**************************************************************************|
|* *|
|* DESIGN SUMMARY (KNS-METRE) *|
|* -------------- *|
|* *|
|* RESULT/ CRITICAL COND/ RATIO/ LOADING/ *|
| FX MY MZ LOCATION |
| ====================================================== |
| PASS AISC- H1-3 0.878 4 |
| 21.43 C 0.00 85.70 6.00 |
|* *|
|**************************************************************************|
| |
|--------------------------------------------------------------------------|

#ก* MOMENT-Z
 
ก 98.3  ) 85.7 kN-m

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 11


ก ก%ก#
$ ก ( -ก# (re-analysis)  *
 (check
code) /)"#"
 %ก-  1 ก *
  9#$ #ก
ก *#"

(
&>&<>&?&@'
A=
 *#*-#" 2006  ก+/("   ก $ 0*#&0  
 (;(1 (Effective Length Factor, KY) *  *5  AISC ASD

 ก #  "  Portal2D (' %*( 


    ก# 
  ' 3 + " Design | Steel

 $ #" KY 4" !ก ก$ /  (*- *&กก &ก'#* *$ "*ก 


) #$ #" FYLD 2500

   ( ก  )  ก   ' 3 ก       ( ก  ก  FYLD


ก#  ก %2  Define
Parameters

  *  Define Parameters  (ก )ก ก  KY ) KZ  ก



ก$      (;(1 ' -#"ก 1&
*ก$  *-
#"(""/("' ) %2 Calculate

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 12


 )"ก %2 Calculate  ก
   ! braced ) unbraced 
 (ก %2 No  )ก ! unbraced

  KY
&ก$ 0ก  )ก braced /)"& *ก* 

 *  ก*( $ #"  


& ก ก$ * 
ก FYLD ก $ )  (  )   ( ก %2  Add   
Assign   -   " *  ก  *  *#     !  ก ก$ #"     ( ก Add

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 13


 ก 
&ก/("* $ 1('#* ##
* (ก )ก After Current 4"
&*(ก# %2 Add  
 (ก %2 Add  *  Close

  ก  KY
&กก' +  (ก )ก  Assign    ' 3

 *  ก +'$ #" SELECT  )ก *#    ' 3    (ก  ) ก


 ก  SELECT
   ' 2 &ก )ก&

  Use Cursor to Assign  (ก %2 Assign  +  (ก"   ' 3 #ก*
 Assign To Edit List
/(" ! 2 3

 ก ก+'+, -$ #"


ก  ก  <&+, -$ #"
"/("'4"

/(/- +, -$ #" ก+
...
PARAMETER 1
CODE AISC
FYLD 2500 ALL
KY 2.02357 MEMB 3
TRACK 2 ALL
SELECT MEMB 2 3
PERFORM ANALYSIS
PARAMETER 2
CODE AISC
CHECK CODE ALL
FINISH

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 14


 #" Analyze > Run Analysis… & *ก* +, -1      '
1  3
/
-   KL/R-Y FA
1 55.12 122.46
3 164.26 39.12


 ก SELECT OPTIMIZED

กก $ #" SELECT  CHECK CODE  # * )ก *# ( -
 #
ก
CHECK CODE 1 %ก-   #ก/ )"ก  )ก *#
$ #ก Selfweight
 " +  #*( ,  -  ก " 
##
$ 9  "+ $ ก  CHECK CODE *% +1 
"%
$ #" SELECT OPTIMIZED
$   ก'  ก
 )ก
 *#  % ก -    $ ก (  -  # 
ก #"  + $ # ก '
 "%
  "$ #" SELECT ( ! SELECT OPTIMIZED  +* )ก-
  )"
ก$ #"
 )ก *#%ก-  
  (ก ก  SELECT  ก %2 Command…
  )ก ก  SELECT OPIMIZED  (ก After Current /)"$ #"ก
*
ก$ #" SELECT (
ก#
 $ #"((

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 15


  +ก* /)" +    #" Perform Analysis  *  CHECK
CODE )(

  ก  *  Steel Design


 !#& '   

 #" Analyze > Run Analysis… &1 ก ก+, -1

&>@>&
 MEMBER TAKE OFF
  (ก %2 Command…  )ก ก  MEMBER TAKE OFF  ก
$ 0
( 0#%"  1 ก +, -1 #& '   

STEEL TAKE-OFF
--------------

PROFILE LENGTH(CM ) WEIGHT(KG )

ST W6-6X6X15 400.00 89.614


ST W300X200X65 600.00 391.984
ST W8-8X8X31 400.00 184.555
----------------
TOTAL = 666.153

&?B กก Cก


ก ก#ก /)"  กก ก   / +ก"  *#   

#  #   ')"     *#  "      ("       ก  *#  "   # 
STAAD.Pro $ #""
$ #") GROUP  FIXED GROUP 4"

 &ก  ก#*# 

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 16


 ("*   )ก ( TRUSS *#)" TrussDSGN  
  ! Meter   ! Kilogram

  )ก Open Structure Wizard   # Howe Roof  #&

   ก # " STAAD.Pro


+ #& '   

 +  General | Property  (ก %2 Section Database /)"ก$  *#ก


-  

  )ก*   South Korean  )ก *##


• R1 : WT100X150 ก$ 
## ')"

• R2 : L50X50X4 ก$ (" 

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 17


 +  General | Support  
%# Fixed   Roller ( Fixed
But : Release %กกก FY ) Assign "
%##ก#&

 +  General | Load  ก0%ก LOAD CASE 1 $ #ก Selfweight
 Nodal Load | Fy = -200 kg "
###&

 +  Analysis/Print  )ก Print Option = No Print  (ก %2 Add * 


Close

 #"#ก ( -  Analyze | Run Analysis…

 )"#1   &   )ก& Commands | Loading | Load


List…  )ก$ #ก%ก LOAD CASE 1 /)"ก ก


 7กB  GROUP
 !$ #""ก 
#ก %-  /)"ก ( - ก  ก
%ก-  ก %
 *#ก#* -  " *#."%

$ #""ก 
#ก %$ #") GROUP  FIXED GROUP  
$ #" GROUP
*
ก$ #" )ก *# SELECT )" *#'* -  
&ก )ก   $ #" GROUP
$ ก   *#ก %   )ก *#.

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 18


" %   % ก -   ก %     ก$ + 
 % 0 # *(  ก 
  *#   ! ก
 & # *# SZ *$ #*#  !
#กก
/)" *# AX

 +  Design | Steel  )ก *5  AISC ASD ก$ /  (*-* *ก 

  (ก %2 Commands…  )ก$ #" SELECT   Assign %ก-  

  (ก %2 Commands…  )ก$ #" GROUP  )ก%0#*("


  ! Ax
 (ก %2 Add # *  Close

  *  Steel Design   ก /  (*- 2  3 ก

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 19


  (ก" GROUP  ก ก ( #1 ) Assign -  
## ')" & '   )
MEMB 1 To 12

  (ก" GROUP  ก " ( #1 ) Assign -  ("  & '   


) MEMB 13 To 21

 ก  *  Steel Design


ก  !

$ #"+, -$ #""&ก ')


LOAD LIST 1
PARAMETER 1
CODE AISC
SELECT ALL
GROUP AX MEMB 1 TO 12
GROUP AX MEMB 13 TO 21

 )"
ก *#ก  "  ##
/("$ #" Perform Analysis 
*
 CHECK CODE ALL < 

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 20


 #"#ก ( -  Analyze | Run Analysis…

 )"#1    )ก <+, -1 'ก ก


 -   1 
12
   *# )  ก#  )  WT75X75  -    13   21
 !   *# 
L45X45X2

STAAD.PRO CODE CHECKING - (AISC 9TH EDITION)

********************************************

ALL UNITS ARE - KG METE (UNLESS OTHERWISE NOTED)

MEMBER TABLE RESULT/ CRITICAL COND/ RATIO/ LOADING/


FX MY MZ LOCATION
=======================================================================

1 ST WT75X75 (KOREAN SECTIONS)


PASS TENSION 0.062 1
831.63 T 0.00 0.00 0.00
2 ST WT75X75 (KOREAN SECTIONS)
PASS TENSION 0.062 1
831.63 T 0.00 0.00 0.00
3 ST WT75X75 (KOREAN SECTIONS)
PASS TENSION 0.049 1
667.52 T 0.00 0.00 0.00
. . .

12 ST WT75X75 (KOREAN SECTIONS)


PASS AISC- H1-3 0.098 1
1001.82 C 0.00 0.00 1.20
13 ST L45X45X2 (KOREAN SECTIONS)
PASS TENSION 0.002 1
8.79 T 0.00 0.00 0.67
14 ST L45X45X2 (KOREAN SECTIONS)
PASS TENSION 0.023 1
121.67 T 0.00 0.00 1.33

. . .

21 ST L45X45X2 (KOREAN SECTIONS)


PASS AISC- H1-3 0.098 1
198.15 C 0.00 0.00 0.00

43. FINISH

*********** END OF THE STAAD.Pro RUN ***********


 7กB  FIXED GROUP
)" $ #" FIXED GROUP ก 
#ก %" ก$ 
+& 
$ 
 ก 
&ก$ #" SELECT "*  ก 
#ก %
+ก('  +#"
SELECT (MEMBER, ALL ) OPTIMIZED)

  <+, -$ #"   $ #"(ก"ก#ก 


#ก %#&

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 21


 +  Design | Steel  (ก %2 Commands…  )ก FIXED GROUP  (ก %2
Add

  )ก$ #" GROUP ก %2 Add #  ก$ -  #ก %(

  )ก$ #" SELECT OPTIMIZED /)"ก-  #

 +  Analysis/Print /)"ก$ #" Perform Analysis

 ก #  Design | Steel ก %2 Commands…

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 22


  )ก$ #" CHECK CODE   Assign %ก-  

 $ #""&ก '+, -$ #")


LOAD LIST 1
PARAMETER 1
CODE AISC
FIXED GROUP
GROUP AX MEMB 1 TO 12
GROUP AX MEMB 13 TO 21
SELECT OPTIMIZED
PERFORM ANALYSIS
CHECK CODE ALL

 #"#ก ( -  Analyze | Run Analysis…

 )"#1    )ก <+, -1 'ก ก


 -   1 
12
   *# )  ก#  )  WT75X75  -    13   21
 !   *# 
L45X45X2

% : $ #" FIXED GROUP + GROUP


กก  )ก *#$ #ก ( -
 ก'#*+ $ #"
  (;(9 / ก)"ก ก"ก 
   :(#*(4"*ก  -   *#)ก#

%ก-  " %$ #" GROUP


* *#(ก#  $ #"
GROUP MEMB 1 TO 10

 -   3  ! *# W *-   7  ! *# $



#ก %
+&ก
ก $ -  
 ! W # ) $ #

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 23


ก=B D
 STAAD.etc
STAAD.etc  !& /("*(ก ก  ก +ก 5  ก 1
 ก5   ก ก/)

 ก # "*#  Portal2D  #$ ก ( -


(   )ก Component
Design ) )ก& Mode | Interactive Design | Component Design  * 
' Component Design
'  )ก$ 0 3 & #&

  (ก )ก+ Base Plate   ก+ #


%*"*ก ก 

  *  Staad.etc Interactive Design


' #& '    กก'& "
*ก   (ก OK

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 24


  * 1 ก ก
'   )ก&)  Results

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 25


  Calculations  ก $ 0

   Output Drawing   

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 26


ก  ก STAAD.etc | Steel Design
ก ก STAAD.etc
 ! :(#/#;- 4"* 
ก("$ #"+ 
 #"#ก $ 0 $ 1&   # " ก+'+ ก'
  #$ ก ( -
(   )ก Steel Design ) )ก& Mode |
Interactive Design | Steel Design  * ' Steel Design
'

 ("      )  กก0  % ก "


$  /(
0 ก ก  ( ก %2  New
Envelope  )กก0" 4 #&

 + " Member Design | Member Setup /)"ก$ -  "


$ ก 
ก  (ก )ก   ' 2
  )ก& Member Design | Physical Members | Form Members

 + # Member Design | Restraints *


 #กก #-  
 + #   Briefs/Groups /)" ก$ $ #"  ก 
# ก %  -   "

ก
  (ก %2 New Brief  *  Design Briefs
+

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 27


 ก$  FYLD = 2500 kg/cm2   (ก OK
 ก '

 *  (ก %2 New Design Grp  *  Design Groups


+

  (ก %2 Add  )ก ก  M1 '  ก %  (ก %2 OK


 ก '

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 28


  )ก& Member Design | Perform Group Design
 )ก $ #")

  )ก& $ #"  &1 ก $ 0"ก ("


ก Design Result Table
 Member Design | Results/Reports

  ) ก-  ก *     ) ก& Member Design | View Design


Calculation /)" ก $ 0

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 29


 +  Connection Design  )  ก" *  ก ก  ( ก %2  New
Connection

  * 
' /)"ก$  *# * =

  (ก %2 ' &


%*/)" "(
%*  )ก
%** & '   

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 30



 ก '*   '  )ก& Connection Design | Perform
Connection Design

  #1  )" (ก )ก ก *   &


%*
'

 +  Results/Reports /)"& ก % 1 ก ก

STAAD.Pro : Steel Design 7 - 31


8
กกก
  ก
 ก 
 
RC Frame

 ก  ก กก

 ก  

  ก

 
กก

 กก  STAAD.etc | Component Design

 ก  ! RC Designer
 RC Designer | Beam Design

 RC Designer | Column Design

STAAD.Pro : Concrete Design 8-1


  ! RC Frame
 ก
ก กก
ก  !
"#$%! 

"& "ก'ก( & "ก'ก 


6m
6m

1 ton

6m

2 ton

1 ton
4m
Y
X

 (! 
 
)ก!  Space " )(*+
, RCFrame 
)ก 
  Meter 
  Metric Ton 
ก$'- Next >

 
)ก! 
 ! Open Structure Wizard 
ก$'- Finish

 
)ก Frame Models "

ก* Bay Frame    #$%! 


 
)ก# File | Merge Model with STAAD.Pro Model *!
 #$
%! 


STAAD.Pro : Concrete Design 8-2


 $
(   $. cm 
 $. kg
 *$! General | Property 
ก$'- Define…
 !   Properties 
)ก ก  Rectangular   YD = 30 cm 
 ZD = 30
cm 
ก* 
)ก Material "#$

 ! ! "(%  YD = 50 cm 


 ZD = 30 cm 
ก* 
)ก Material
 ก"

STAAD.Pro : Concrete Design 8-3


 
ก
)ก ก  1 : Rect 0.30x0.30 ก& ! "

 
ก
)ก ก  2 : Rect 0.50x0.30 ก& ! "

 ก& '/" "' 


)ก# Command | Material Constants | Elasticity…
  233,928 kg/cm2

 $
(   $. m 
!   Density = 2,400 kg/m3
 ก&  Poisson’s Ratio = 0.17  #*+
,& "( ก (0(%)

STAAD.Pro : Concrete Design 8-4


CONSTANTS
E 233928 ALL
DENSITY 0.0024 ALL
POISSON 0.17 ALL

 *$! General | Support ! '" Fixed 


! ก& !'ก1 

 *$(! General | Load 0)(ก& & "ก'ก

 ! & "ก'กก/ 1 $. DEAD LOAD 0(& "ก"  Self Weight 

Floor Load 2  GY %  -300 kg/m2 "#$

STAAD.Pro : Concrete Design 8-5


 ! & "ก'กก/ 2 $. LIVE LOAD 0(& "ก Floor Load 2  GY
%  -400 kg/m2 
 Y Range Min = 3.5 m, Max = 4.5 m

 ! & "ก'กก/ 3 $. WIND LOAD 0(& "ก Nodal Load 2  Fz
%  -1000 kg 
 -2000 kg ก& ! #$

 ! & "ก'กก/ 4 


 5    *  ! Load Combination (
&    ! REPEAT LOAD )( ก& ก   , P-Delta 4(
5
%ก& ! %! 
 (0!ก"

 ! & "ก'กก/ 4 )ก/( 1 – 3 )$. Primary Load " )(


1.2DL+1.6LL

 
)ก ก & "ก'กก/ 4 
ก$'- Add… 
)ก ก  Repeat Load

STAAD.Pro : Concrete Design 8-6


 ! & "ก'กก/ 5 $. Primary Load " )( 1.2DL+LL+1.6W

 
ก$'- Add… 
)ก ก  Repeat Load    #$%! 


 *$! Analysis/Print 
ก PDelta Analysis 
)ก Print Option = No
Print 
 Converge = 10 
ก$'- Add  !  Close


"ก   ,# %!50
)* ก (ก ก 
)ก# Analyze |
Run Analysis… 
)ก STAAD Analysis 
! 
ก$'- Run Analysis

 )("5  %!  Post Processing  #ก #$


6  #ก!
)*

STAAD.Pro : Concrete Design 8-7


ก"!"#ก$กก
 " %!    (  ก
  & "(  (  !  ก ก! 
 ก & "(  ก) 
LOAD LIST $.ก ก$ก ก0)("& "ก'กก/*! 
4("( *$$. Combination Load Case "  ) Load 4 
 Load 5
 
)ก# Command | Loading | Load List… 
)ก Load Case 4 
 5

ก"!%
&ก
 *$! Design | Concrete 
)ก 1 ( !ก Current Code: ACI  ก
!   ! % )
 $
( $. Centimeter – Kilogram 
! 
ก$'- Define Parameters…
 !   Design Parameters 
)ก0  ,
ก&  "
- CLB = 3 cm 
ก$'- Add
- CLS = 2.5 cm 
ก$'- Add
- CLT = 2.5 cm 
ก$'- Add
- FC = 240 kg/cm2 
ก$'- Add
- FYMAIN = 4000 kg/cm2 
ก$'- Add
- MAXMAIN = 25 mm 
ก$'- Add
- MINMAIN = 16 mm 
ก$'- Add
- TRACK = 1 
ก$'- Add 
!  !  Close

STAAD.Pro : Concrete Design 8-8


 !  Concrete Design "#$

 )( &   "* #ก Assign !,   !


ก( ก  
)ก 7
Assign To View 
! ก$'- Assign

ก"!" #ก
 & "(ก#ก! *! ก!  Concrete Design ก$'- Command…
 
)ก Design Beam 
ก$'- Add   
)ก Design Column 
ก$'- Add

! 
ก$'- Close ! $."#$

 
 ก  ก  DESIGN BEAM 
! Assign ! ก"    
 ก  DESIGN
COLUMN 
! Assign !ก" "#$%! 


STAAD.Pro : Concrete Design 8-9


 
)ก# Analysis | Run Analysis… )(! % !
)ก STAAD
Analysis 
! 
ก$'- Run Analysis

 %/& ก &  /


%! %  ก* %!50
 )(
! !

)ก View Output File 
! 
ก$'- Done

'กก
 5
ก ก# *+
,5
  ก5
ก   , ""  %! 


=====================================================================

BEAM NO. 6 DESIGN RESULTS - FLEXURE PER CODE ACI 318-02

LEN - 6000. MM FY - 392. FC - 24. MPA, SIZE - 300. X 500. MMS

LEVEL HEIGHT BAR INFO FROM TO ANCHOR


(MM) (MM) (MM) STA END
_____________________________________________________________________

1 51. 3 - 16MM 0. 4867. YES NO


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL POS MOMENT= 55.34 KN-MET AT 2500.MM, LOAD 4|
| REQD STEEL= 474.MM2, ROW=0.0035, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 295./ 41./ 104. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 467. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 73790.5 cm^4

2 454. 3 - 16MM 0. 608. YES NO


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL NEG MOMENT= 17.38 KN-MET AT 0.MM, LOAD 4|
| REQD STEEL= 479.MM2, ROW=0.0035, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 295./ 41./ 104. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 467. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 75588.9 cm^4

3 454. 3 - 16MM 4142. 6000. NO YES


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL NEG MOMENT= 91.29 KN-MET AT 6000.MM, LOAD 4|
| REQD STEEL= 598.MM2, ROW=0.0044, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 295./ 41./ 104. MMS |

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 10


| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 467. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 74867.2 cm^4

B E A M N O. 6 D E S I G N R E S U L T S - SHEAR

AT START SUPPORT - Vu= 42.02 KNS Vc= 196.64 KNS Vs= 0.00 KNS
Tu= 4.80 KN-MET Tc= 4.3 KN-MET Ts= 6.4 KN-MET LOAD 4
STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT FOR SHEAR IS PER CL.11.5.5.1.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 174. MM C/C FOR 2555. MM
ADDITIONAL LONGITUDINAL STEEL REQD. FOR TORSIONAL RESISTANCE = 1.20 SQ.CM.

STAAD SPACE -- PAGE NO. 4

AT END SUPPORT - Vu= 66.66 KNS Vc= 110.28 KNS Vs= 0.00 KNS
Tu= 4.80 KN-MET Tc= 4.3 KN-MET Ts= 6.4 KN-MET LOAD 4
STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT FOR SHEAR IS PER CL.11.5.5.1.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 174. MM C/C FOR 2555. MM
ADDITIONAL LONGITUDINAL STEEL REQD. FOR TORSIONAL RESISTANCE = 1.20 SQ.CM.

___ 10J____________________ 6000X 300X 500_____________________ 11J____


| |
||====== =======================||
| 3No16 H 454. 0.TO 608 3No16|H 454.4142.TO 6000 |
| 16*12c/c174 | | | 16*12c/c174 |
| 3No16 H 51. 0.TO 4867 | | | |
||============================================================ |
| |
|___________________________________________________________________________|
_________ _________ _________ _________ _________ _________
| | | | | | | | | | | |
| ooo | | | | | | | | ooo | | ooo |
| 3#16 | | | | | | | | 3#16 | | 3#16 |
| | | | | | | | | | | |
| 3#16 | | 3#16 | | 3#16 | | 3#16 | | 3#16 | | |
| ooo | | ooo | | ooo | | ooo | | ooo | | |
| | | | | | | | | | | |
|_________| |_________| |_________| |_________| |_________| |_________|

********************END OF BEAM DESIGN**************************

====================================================================

COLUMN NO. 8 DESIGN PER ACI 318-02 - AXIAL + BENDING

FY - 392.3 FC - 23.5 MPA, SQRE SIZE - 300.0 X 300.0 MMS, TIED


AREA OF STEEL REQUIRED = 963.0 SQ. MM

BAR CONFIGURATION REINF PCT. LOAD LOCATION PHI


----------------------------------------------------------

4 - 20 MM 1.396 4 END 0.650


(PROVIDE EQUAL NUMBER OF BARS ON EACH FACE)
TIE BAR NUMBER 12 SPACING 300.00 MM

COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Z -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------
P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
2268.30 1814.64 804.79 122.19 151.8
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
60.36 -492.94 155.94 26.74 0.04287
--------------------------------------------------------

COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Y -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------
P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
2268.30 1814.64 804.79 122.19 151.8
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
60.36 -492.94 155.94 43.66 0.06999
--------------------------------------------------------
********************END OF COLUMN DESIGN RESULTS********************

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 11


 ก
"  Modeling "

ก( 
 ( "(ก !  (
% 
)ก Concrete Design

  
ก ก 

  
ก ก

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 12


STAAD.etc | Component Design (ก(ก)
STAAD.etc $.#
0(ก ก $ก! *!ก 1  ก 5 

ก1  
ก ก0)

 
"& ก   ,
! !
)ก Component Design )
)ก#
Mode | Interactive Design | Component Design !  % Component
Design % !
)ก&  / 3 #
"#$

 
ก
)ก* Footing 
!
ก*$"' (!ก !ก! 

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 13


 !   Staad.etc Interactive Design % "#$%! 
 กก%!#
(
!ก 
! 
ก OK

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 14


 !  5
ก ก%  !
)ก#)  Results

  Calculations  ก &  /

 
 Output Drawing  


STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 15


STAAD.etc | Component Design  RC Designer
ก กก &  ! RC Designer 4($.$ก  STAAD.Pro

 ก )(!! 

! !"( Run Analysis !*!5
ก   ,ก ก 

 $

%! # RC Designer 
ก Concrete Design

 RC Designer ((! ! กก%!#


Job Information 4(*  ก*!

 *$! Des. Layer | Envelopes 


)กก/'ก(&  0 / ก ก

ก$'- New Env. " )( Envelope 1 "#$

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 16


 !   Define Envelopes % 
ก Show Combination Only ก
0)(!& "ก'กก/ 
)ก L4 
 L5 
! ก OK

 *$!   Members 0)(ก& ,  (& ก ก 


)ก'ก,  

)ก# Select | Select All

 
)ก# Members | AutoForm Members )* 'ก,  #ก
ก&  
%ก ก! "ก  ,   
% ก"

 *$! Groups/Briefs 
ก$'- New Brief !   Design Briefs " )( B1
Beam Brief 

)ก 1  ACI Beam "#$

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 17


  ก %     ก "  0   , ! " 

ก  B1 %
 ก 

 !  % ! ก& 0  ,ก ก

 ก
" (   Design Briefs 
ก$'- New Brief " )( B2 Column Brief 
)ก
Design Code $. ACI Column

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 18


 "

ก  B2 0)($
(" $ก ก !ก  
)ก Member
Loadcases 
)ก& "กก/ L4 
 L5 "#$

 ก&  Beam Design Group  ! Member Cursor 


)ก "  !
ก ก$'- Ctrl ก 
)ก

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 19


 
ก$'- New Design Group !   Design Groups 
" )(

 0)(!   (!ก 
)ก# ก
'  "

ก  G1   

 ก&  Column Design Group  ! Member Cursor 


)ก "

 
ก$'- New Design Group !   Design Groups

 0)(!   (!ก 
)ก# ก
'  "

ก  G2   

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 20


RC Designer | Beam Design
 *$! Concrete Member | Summary ก
' (#ก%  %! 4! %)
G1 : Beam Design Group 1 ! *  !
)ก ก#
 ,! 

"ก#   M1 
 M2 #ก"$.  ""

 *$!   Design 
)ก!ก"
! 
ก$'- Design

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 21


 *$!   Main Layout 
! 
)ก M1  ก ก #
 ,!  $""  
!  *! "#$%! 


 *$!   Shear Layout $""   !  *! "#$%! 




 *$!   Drawing ! !ก  Export Drawing $.*+


, DXF % AutoCAD

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 22


RC Designer | Column Design
 *$! Concrete Member | Summary ก
' (#ก%  %! 4! %
) G2 : Column Design Group 2 ! *  !
)ก ก#
 ,! 

 *$"!   Design !   Design Options %  


%,
  (  ก*! 
)ก"
! 
ก$'- Design

 !  "," กก " $ก & )& !ก$.


  )(ก5   'ก!$.%

 *$"!   Main Layout 


! 
)ก ก  M6

  $
( (*!
)ก# View > Option

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 23


 *$!   Shear Layout 0)(# 
ก 
ก$
ก

 *$!   Drawing ! !ก  Export Drawing $.*+


, DXF % AutoCAD

 
)ก# File | ACI 318 Report Setup 0)(ก& #$%  

STAAD.Pro : Concrete Design 8 - 24


1
Physical Member

ใน STAAD.Pro เราสามารถจัดกลุมหลายองคอาคารรวมเปนองคอาคารเดียวเรียกวา องค


อาคารกายภาพ (Physical member) หรือ PMEMBER ซึ่งจะองคอาคารในกลุมจะยาว
ตอเนื่องกัน มีหนาตัดและคุณสมบัติเหมือนกัน ซึ่งในตัวอยางนี้ที่เราจะสาธิตคือคานตอเนื่อง
2 ton/m

4m

4m 6m 4m

 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกแบบ Plane ตั้งชื่อวา ConBeam ใชหนวยความยาวเปน


Meter และหนวยแรงเปน Kilogram

 เปลี่ยนมุมมอง View From +Z ในหนาตาง Snap Node/Beam เลือกระนาบ X-Y


วาดโครงสรางดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Physical Member 1-1


 ไปหนา Geometry | Physical Member เลือกคานทั้งสามคานซึ่งยาวตรงตอเนื่องกัน

 คลิกปุม Form Member บนทูลบารแนวดิ่งขางซายหนาจอ คานทั้งสามจะถูก


กําหนดหมายเลข M1 เดียวกัน

 หนาตางทางดานขวาจะแสดงขอมูลขององคอาคารกายภาพที่ถูกสรางขึ้น

 ในการกําหนดคุณสมบัติใหองคอาคารกายภาพ เราตองอยูในโหมดองคอาคารกายภาพ
(Physical Member Mode) กอนโดยคลิกปุม Toggle Physical Member Mode

 ไปหนา General | Property คลิกปุม Define… เลือกหนาตัด Rectangle กําหนด


หนาตัดคาน 0.50 m x 0.30 m และ Material = Concrete รายการที่สรางขึ้นจะมีคํา
วา Physical ตอทายดังในรูป

 กําหนดหนาตัดใหคานทั้งหมด โดยใช Use Cursor To Assign คลิกปุม Assign

 ถอนปุม Toggle Physical Member Mode ขึ้น กําหนดหนาตัดเสา 0.30 m x


0.30 m และ Material = Concrete กําหนดใหเสาทั้งหมดจะได

STAAD.Pro : Physical Member 1-2


 ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed กําหนดใหฐานเสาดังในรูป

 ไปหนา General | Load เลือกรายการ Load Cases Details สราง Load Case 1

 คลิกปุม Add… เลือกรายการ Physical Member Load | Uniform Force

 กําหนดแรงกระทําบนคาน M1 ตามในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Physical Member 1-3


 ไปหนา Analysis/Print | Analysis เลือก Print Option = No Print คลิกปุม
Add ตามดวย Close

 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 เมื่อรันการคํานวณผาน ใหเลือก Go to Post Processing Mode คลิกปุม Done


 คลิกปุม Select Physical Member Cursor ในทูลบารแนวดิ่งดานขางซาย แลว
ดับเบิ้ลคลิกเลือกองคอาคารกายภาพ M1 เพื่อดู แผนภูมิแรงเฉือน โมเมนตดัด และการ
แอนตัว

STAAD.Pro : Physical Member 1-4


Z UP System
จากตัวอยางที่ผานมาจะเห็นวาโมเมนตดัดในแผนภูมิจะกลับทิศกับที่เราคุนเคย กลาวคือคา
โมเมนตที่เปนบวกในแผนภูมิคือโมเมนตที่พยายามดัดใหคานโกง

ใน STAAD.pro เราสามารถกําหนดใหสลับแกน Z มาเปนแกนดิ่งแทนแกน Y ไดดังใน


รูปขางลาง

 การกําหนดแกน Z UP จะตองทํากอนที่จะเริ่มสรางโมเดลใหม เมื่อเปดโปรแกรมขึ้นมา


ใหเปดหนาตางสรางโมเดลใหมกอน แลวเลือกเมนู File | Configure…

 คลิกเลือกแถบ Global Axis Orientation แลวเลือกแกน Z up ดังในรูป

 จากนั้นลองสรางโมเดลเปนคานชวงเดี่ยวรับน้ําหนักบรรทุกคงที่ดังในรูปขางลางดู

STAAD.Pro : Physical Member 1-5


Z 500 kg/m

X
6m

 คลิกไอคอน New Structure เลือกโครงสรางชนิด Plane ตั้งชื่อวา BeamZup


ใชหนวยความยาว Meter หนวยแรง Kilogram

 สังเกตในหนาตาง Whole Structure แกน Z จะเปนแกนดิ่งชี้ขึ้น สวนแกน Y จะชี้ไป


ขางหลัง

 วาดคานยาว 6 เมตร แลวไปหนา Property เลือกหนาตัดมากําหนดใหองคอาคาร

 ไปหนา Support สรางจุดรองรับแบบ Pinned และแบบ Roller ซึ่งคราวนี้จะเลือก


Fixed But แบบรีลีสทุกแกนยกเวน FZ แลวกําหนดใหจุดรองรับ

 ไปหนา Load สราง LOAD CASE 1 เลือก Member Load | Uniform Force ใส
คา -500 kg/m และทิศทาง GZ

 ไปหนา Analysis/Print เลือก Print Option = No Print คลิกปุม Add ตามดวย


Close

STAAD.Pro : Physical Member 1-6


 สั่งรันการคํานวณวิเคราะหโครงสราง Analyze | Run Analysis…

 เขาสูโหมด Post Processing ไปหนา Beam | Graph คลิกขวาเลือกรายการ


Diagrams…

 เลือกใหแสดงโมเมนตดัดในคานซึ่งตอนนี้คือ Bending yy พรอมทั้งเปลี่ยนสีที่แสดง


ตามความเหมาะสม

จะไดแผนภูมิโมเมนตดัดแบบที่เราคุนเคยใชกันอยูดังในรูป

 สําหรับแผนภูมิแรงเฉือนใหเลือก Shear zz จะได

STAAD.Pro : Physical Member 1-7


2
Curved Beam

ในตัวอยางนี้จะสาธิตการวิเคราะหและออกแบบคานโคงคอนกรีตเสริมเหล็ก
X

Z
5m

5m 5m

„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Floor ตั้งชื่อวา CurvedBeam.std

„ เลือกหนวยความยาว Meter หนวยแรง Kilogram

„ เริ่มตนสรางโมเดล เลือกระนาบ X-Z และมุมมอง View From +Y

„ กําหนด Construction Lines: (Cons. Line)

ในแนวแกน X : Left = 0, Right = 2, Spacing 5 m

ในแนวแกน Z : Left = 0, Right = 1, Spacing 5 m

„ วาดโครงสรางดังในรูป

STAAD.Pro : Curved Beam 2-1


„ คลิกไอคอน Add Curved Beam บนทูลบาร

„ คลิกที่โหนดเริ่มตนคือ X = 5, Z = 0 แลวคลิกโหนดสิ้นสุดคือ X = 0, Z = 5

„ หนาตาง Curved Beam Properties จะแสดงขึ้นมา ใสคารัศมีความโคงและมุม

STAAD.Pro : Curved Beam 2-2


„ ไปหนา General > Property คลิกปุม Define… เลือก Rectangle กําหนดคาดังนี้
- YD = 0.60 m, ZD = 0.3 m กําหนดเปนหนาตัดคานทั้งหมด

- Material ยังไมเลือก กําหนดคาเองภายหลัง

„ เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Centimeter หนวยแรง Kilogram

„ กําหนดคาคงที่จากเมนู Command > Material Constant ดังนี้


Elasticity = 2.2e5 kg/cm2
Poisson’s Ratio = Concrete
Density = 0.0024 kg/cm3

„ ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Pinned แลวกําหนดใหทุกโหนด

STAAD.Pro : Curved Beam 2-3


„ เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Meter และหนวยแรงเปน Kilogram

„ ไปที่หนา General > Load สรางกรณีบรรทุกที่ 1 : 1.4DL+1.7LL คลิกปุม


Add…

„ คลิกปุม Add… เลือกรายการ Member Load | Uniform Force ใสคา W1 = -


1200 kg/m ทิศทาง GY คลิกปุม Add แลวตามดวย Close กําหนดใหคานโคง

„ ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option ที่ตองการ แลวกดปุม Add

„ ลองสั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis…

„ เลือกเมนู Commands > Loading > Load List เพื่อกําหนดกรณีบรรทุกที่จะใชใน


การออกแบบ ในตัวอยางนี้มีเพียง Load 1 แลวกด OK

„ ไปที่หนา Design > Concrete เลือกมาตรฐานเปน ACI

„ เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Centimeter หนวยแรงเปน Kilogram

„ คลิกปุม Define Parameters… เพื่อกําหนดคาพารามิเตอรในการออกแบบ

„ เลือกรายการ FC กําลังอัดประลัยคอนกรีต ใสคา 240 kg/cm2 กดปุม Add

„ เลือกรายการ FYMAIN กําลังครากเหล็กเสริมหลัก ใสคา 4000 kg/cm2 กดปุม Add

„ เลือกรายการ MAXMAIN กําหนดขนาดเหล็กเสริมใหญที่สุดที่จะใชในการออกแบบ


ใสคา 25 mm กดปุม Add

„ เลือกรายการ MINMAIN กําหนดขนาดเหล็กเสริมใหญที่สุดที่จะใชในการออกแบบ


ใสคา 12 mm กดปุม Add

STAAD.Pro : Curved Beam 2-4


„ เลือกรายการ Track เลือกหัวขอ (2) คลิกปุม Add ตามดวย Close

„ กําหนดรายการที่ยังเปนเครื่องหมาย ? แบบ Assign To View

„ คลิกปุม Commands… เลือกรายการ DESIGN BEAM แลวคลิกปุม Add กําหนด


ใหแกคานโคง

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis…

„ เป ด ไฟล แ สดงผลเพื่ อ ดู ผ ลการออกแบบคาน จะเห็ น ว า คานรั บ ทั้ ง โมเมนต ดั ด และ


โมเมนตบิด

=====================================================================

BEAM NO. 6 DESIGN RESULTS - FLEXURE PER CODE ACI 318-02

LEN - 7854. MM FY - 392. FC - 24. MPA, SIZE - 300. X 600. MMS

LEVEL HEIGHT BAR INFO FROM TO ANCHOR


(MM) (MM) (MM) STA END
_____________________________________________________________________

1 63. 4 - 25MM 222. 7854. NO YES


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL POS MOMENT= 310.32 KN-MET AT 7199.MM, LOAD 1|
| REQD STEEL= 1845.MM2, ROW=0.0115, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 275./ 50./ 58. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 1579. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 273756.8 cm^4

2 541. 3 - 16MM 0. 1917. YES NO


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL NEG MOMENT= 89.21 KN-MET AT 0.MM, LOAD 1|
| REQD STEEL= 573.MM2, ROW=0.0035, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 275./ 41./ 91. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 467. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 111364.4 cm^4

3 541. 3 - 16MM 6919. 7854. NO YES


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL NEG MOMENT= 14.39 KN-MET AT 7854.MM, LOAD 1|
| REQD STEEL= 573.MM2, ROW=0.0035, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 275./ 41./ 91. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 467. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 111364.4 cm^4

REQUIRED REINF. STEEL SUMMARY :


-------------------------------
SECTION REINF STEEL(+VE/-VE) MOMENTS(+VE/-VE) LOAD(+VE/-VE)
( MM ) (SQ. MM ) (KNS-MET )

0. 0./ 487. 0./ 89. 0/ 1


654. 0./ 285. 0./ 53. 0/ 1
1309. 0./ 88. 0./ 17. 0/ 1
1963. 105./ 0. 20./ 0. 1/ 0
2618. 303./ 0. 56./ 0. 1/ 0
3272. 505./ 0. 92./ 0. 1/ 0
3927. 713./ 0. 129./ 0. 1/ 0
4581. 926./ 0. 165./ 0. 1/ 0
5236. 1147./ 0. 201./ 0. 1/ 0
5890. 1374./ 0. 238./ 0. 1/ 0
6545. 1609./ 0. 274./ 0. 1/ 0
7199. 1853./ 0. 310./ 0. 1/ 0
7854. 0./ 77. 0./ 14. 0/ 1

STAAD.Pro : Curved Beam 2-5


B E A M N O. 6 D E S I G N R E S U L T S - SHEAR

AT START SUPPORT - Vu= 55.49 KNS Vc= 142.46 KNS Vs= 0.00 KNS
Tu= 0.79 KN-MET Tc= 5.4 KN-MET Ts= 0.0 KN-MET LOAD 1
NO STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT FOR SHEAR IS PER CL.11.5.5.1.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 275. MM C/C FOR 3390. MM

AT END SUPPORT - Vu= 38.83 KNS Vc= 128.85 KNS Vs= 0.00 KNS
Tu= 18.79 KN-MET Tc= 5.4 KN-MET Ts= 25.0 KN-MET LOAD 1
STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT FOR SHEAR IS PER CL.11.5.5.1.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 187. MM C/C FOR 3390. MM
ADDITIONAL LONGITUDINAL STEEL REQD. FOR TORSIONAL RESISTANCE = 4.79 SQ.CM.

___ 4J____________________ 7853X 300X 600_____________________ 1J____


| |
||================= =========||
| 3No16 H 541.| 0.TO 1917 3No16 H 541.6919.TO|7854 |
| 14*12c/c275 | | 20*12c/c187| | |
| |4No25|H |63. 222.TO 7854 | | | | | |
| =========================================================================||
| |
|___________________________________________________________________________|
_______ _______ _______ _______ _______ _______ _______
| | | | | | | | | | | | | |
| ooo | | ooo | | | | | | | | | | ooo |
| 3#16 | | 3#16 | | | | | | | | | | 3#16 |
| | | | | | | | | | | | | |
| | | 4#25 | | 4#25 | | 4#25 | | 4#25 | | 4#25 | | 4#25 |
| | | oooo | | oooo | | oooo | | oooo | | oooo | | oooo |
| | | | | | | | | | | | | |
|_______| |_______| |_______| |_______| |_______| |_______| |_______|

********************END OF BEAM DESIGN**************************

STAAD.Pro : Curved Beam 2-6


3
Cable Member
Linearized Cable Members

องคอาคารเคเบิ้ลกําหนดในหนา General | Spec | Beam หรือโดยใชคําสั่ง MEMBER


CABLE ซึ่งจะตองใสแรงดึงเริ่มตนดวย

ความยาวของเคเบิ้ลถูกดึงประกอบดวยสองสวน สวนแรกคือการยืดแบบอิลาสติกซึ่งเปนไป
ตามความสัมพันธ:
EA
F = kx where K elastic =
L
สวนที่สองเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ คือเมื่อเคเบิ้ลถูกดึงตึงขึ้น การแอนตัว
จะลดลง
12T 3
F = kx where Ksag = 2 3
(1/ cos 2 α )
w L
เมื่อ w = น้ําหนักตอความยาวของเคเบิ้ล

T = แรงดึงในเคเบิ้ล

α = มุมระหวางเคเบิ้ลและระนาบราบ

ดังนั้นเมื่อรวมผลทั้งสองเขาดวยกันจะได
1
K comb =
1/ Ksag + 1/ K elastic

EA / L
K comb =
1 + w L EA(cos 2 α ) /12T 3
2 2

หมายเหตุ: เมื่อ T = ∞, Kcomb = EA/L

เมื่อ T = 0, Kcomb = 0

องคอาคารเคเบิ้ลเปนเพียงองคอาคารโครงถักที่มีคุณสมบัติของการแอนตัวและแรงดึงเริ่มตน
รับแรงไดตามแนวแกนเทานัน้ ดังนั้นการโมเดลจึงใชกฎเหมือนโครงถัก เชนเมื่อสององค
STAAD.Pro : Cable Member 3-1
เราจะมาลองใชองคอาคารเคเบิ้ลโดยใชตวั อยางงายๆดังในรูปขางลาง
Ax = 1 cm2 Fx = 10 Mton

10 m

„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Truss ตั้งชื่อวา Cable1 เลือกหนวยความยาว


Meter หนวยแรง Mton

„ ใชมุมมอง View From +Z สรางโมเดลในระนาบ X-Y ยาว 10 m ดังในรูป

„ ไปหนา General | Property เพื่อกําหนดหนาตัด กดปุม Define… เลือกรายการ


General ใสคา AX = 1 cm2 เลือก Material = STEEL แลว Assign ใหองค
อาคาร

„ ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Pinned และ Roller (Fixed But


: รีลีสทุกชองยกเวน Fy) กําหนดใหจุดรองรับหัวและทายตามลําดับ

STAAD.Pro : Cable Member 3-2


„ ไปหนา General | Load สรางน้ําหนักบรรทุก Nodal Load : Fx = 10 Mton
กระทําที่ปลายองคอาคาร

„ ไปหนา Analysis/Print เลือก Print Option = No Print คลิกปุม Add ตามดวย


Close

„ ใชโหนดเคอรเซอรคลิกเลือกโหนด 2 ที่ปลายองคอาคาร เลือกเมนู Commands |


Post-Analysis Print | Joint Displacements… เลือก Assign To Selection
คลิก OK

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis… แลวเปดไฟลแสดงผล

„ ดูคา Joint Displacement 2 จะไดดังในรูปขางลาง

JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = TRUSS


------------------

JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN

2 1 4.7837 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

„ จะเห็นวาไดคาการเคลื่อนตัวของโหนดหรือการยืดตัวขององคอาคารคือ 4.7837 cm
ซึ่งเปนในกรณีขององคอาคารโครงถักปกติ เราจะใชคานี้เปรียบเทียบกับกรณีที่เปน
เคเบิ้ล

„ ไปที่หนา General | Spec คลิกปุม Beam… เลือกแถบ Cable ใสคาดังในรูป

STAAD.Pro : Cable Member 3-3


„ คลิกปุม Add ตามดวย Close รายการในหนาตาง Specification จะเพิ่มขึ้นคือ

„ กําหนดรายการ TENSION 1 ใหกับองคอาคาร โมเดลจะกลายเปน

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis… แลวเปดไฟลแสดงผล

„ ดูคา Joint Displacement 2 จะไดดังในรูปขางลาง

JOINT DISPLACEMENT (CM RADIANS) STRUCTURE TYPE = TRUSS


------------------

JOINT LOAD X-TRANS Y-TRANS Z-TRANS X-ROTAN Y-ROTAN Z-ROTAN

2 1 4.3514 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000 0.0000

„ จะเห็นวาไดคาการเคลื่อนตัวของโหนด 2 ลดลงจาก 4.7837 cm เหลือ 4.3514 cm


แสดงวาสติฟเนสมีคาเพิ่มขึ้น

STAAD.Pro : Cable Member 3-4


4
Load Envelope
Spro2006 :
ใน STAAD.Pro เวอรชั่น 2006 เราสามารถกําหนด load envelopes ซึ่งเปนการจัดกลุม
กรณีบรรทุกที่ไดสรางขึ้นมาแลว เมื่อเขาไปโหมด Post-processing ผูใชสามารถเรียกดูผล
การวิเคราะหของแตละกลุมที่กําหนดไวได

การใช load envelopes ในการออกแบบจะทํ า ให ผู อ อกแบบสามารถกํ า หนด


พารามิเตอรที่เหมาะสมกับธรรมชาติของน้ําหนักบรรทุกในแตละ envelope ได ตัวอยางเชน
ในกรณีของแรงลม ขอกําหนดในการออกแบบสวนใหญจะยอมใหเพิ่มคาหนวยแรงที่ยอมให
ขึ้น อีกกรณีคือการกําหนดกลุมน้ําหนักบรรทุกแยกกันเพื่อการตรวจสอบ serviceability,
working stress และตรวจสอบ limit state

เฟรมในตัวอยางขางลางรับน้ําหนักบรรทุกจากแรงโนมถวงและแรงลมซึ่งอาจพัดมาจาก
ดานซายหรือดานขวาก็ได

Load 1 : Gravity = 2 ton/m


1 ton 1 ton

Load 2 : Load 3 :
Wind Wind
From From
Left Right
4m

6m

 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกโครงสรางชนิด Plane ตั้งชื่อวา LoadEnv ใชหนวยความ


ยาวเปน Meter และหนวยแรงเปน Metric Ton
STAAD.Pro : Load Envelope 4-1
 ไปหนา General | Property คลิกปุม Section Database เลือกหนาตัดจากตาราง
เหล็ก South Korean
- เลือกหนาตัด W300X200X56 กําหนดใหเสาทั้งสอง

- เลือกหนาตัด W350X250X69 กําหนดใหแกคาน

 ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed กําหนดใหโหนดที่ฐานเสา

STAAD.Pro : Load Envelope 4-2


 ไปหนา General | Load คลิกรายการ Load Cases Details เพื่อสรางกรณีบรรทุก

 คลิกปุม Add… สราง Primary Load Case 1, 2 และ 3 ตั้งชื่อตามในรูปขางลาง

 คลิกรายการ Gravity Load คลิกปุม Add… เลือก Selfweight ทิศทาง Y แฟกเตอร


-1 คลิกปุม Add

 เลือก Member Load | Uniform Force ใสคา W1 = -2 Mton/m ทิศทาง GY

 คลิกปุม Add ตามดวย Close แลวกําหนดใหคานบนอาคารดังในรูป

STAAD.Pro : Load Envelope 4-3


 คลิกรายการ L 2 : Wind From Left คลิกปุม Add… เลือก Nodal Load ใสคา Fx
= 1 Mton คลิกปุม Add

 กําหนดแรง Fx = 1 Mton ใหแกโหนดมุมขางซาย ดังในรูปขางลาง

 คลิกรายการ L 3 : Wind From Right คลิกปุม Add… เลือก Nodal Load ใสคา
Fx = -1 Mton คลิกปุม Add แลวกําหนดใหแกโหนดมุมขวา ดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Load Envelope 4-4


 คลิกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add… เลือกรายการ Define
Combinations สราง Load 4 = Load 1 + Load 2 และ Load 5 = Load 1 +
Load 3 รายการน้ําหนักบรรทุกจะแสดงขึ้นมาในหนาตาง Load

 ไปหนา General | Load เลือกรายการ Load Envelope คลิกปุม Add…

 หนาตาง Add New : Load Envelopes จะแสดงขึ้นมาใหเราเลือกกําหนดตามในรูป


ขางลาง แลวคลิกปุม Add

STAAD.Pro : Load Envelope 4-5


 รายการในหนาตาง Load จะเปนดังในรูปขางลาง

 ไปหนา Analysis/Print ในแถบ Perform Analysis เลือก Print Option = No


Print แลวสั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis…

 เมื่อรันผาน ขณะจะเขาโหมด Post-processing หนาตาง Result Setup จะมีทางเลือก


สําหรับ Defined Envelope เพื่อใหเลือกแสดงผลตามที่เราตองการ

STAAD.Pro : Load Envelope 4-6


 เมื่อเขามาในโหมด Post-processing แลว เลือก Envelope ในชองเลือกกรณีบรรทุก
บนทูลบารดานบน

 ไปหนา Beam | Graphs คลิกเลือกคาน สังเกตกราฟแรงภายในดานขาง

STAAD.Pro : Load Envelope 4-7


5
Slab Analysis

ในตัวอยางนี้จะสาธิตการวิเคราะหพื้นคอนกรีตซึ่งมีจุดรองรับแบบยึดแนนที่ขอบสองดาน ในการ
ทําโมเดลจะแบงเปนแผน plate จํานวน 6 ชิ้น ดังแสดงในรูปขางลาง

Fixed Edge

4m
Fixed Edge
Free Edge

Free Edge

6m

2m

2m

2m 2m 2m

STAAD.Pro : Slab Analysis 5-1


„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Space ตั้งชื่อวา SlabAna.std

„ เลือกหนวยความยาว Meter หนวยแรง Kilogram

„ ในหนาจอถัดมาใหเลือก Add Plate แลวคลิก Finish

„ ในหนาตาง Snap Node/Plate คลิกเลือกระนาบ X-Z ใสคา Construction Lines:

„ ในหนาตาง Snap Node/Plate คลิกเลือกระนาบ X-Z ใสคา Construction Lines:


„ วาดพื้นแผนแรก พิกัดที่มุมทั้งสี่คือ (0, 0, 0), (2, 0, 0), (2, 0, 2), และ (0, 0, 2) ตามลําดับ
คลิกปุม Snap Node/Beam แลวเลื่อนเมาทไปคลิกที่จุดกําเนิด (0, 0, 0)
„ คลิกอีกสามจุดที่เหลือคือ (0, 0, 2), (2, 0, 2) และ (2, 0, 0) แลวคลิกถอนปุม Snap
Node/Plate ตําแหนงพิกัดของเมาท ดูไดจากแถบสถานะดานลางหนาจอ

„ คลิกขวาในบริเวณที่วาง เลือกรายการ Structure Diagrams… เลือก Fill Plates

STAAD.Pro : Slab Analysis 5-2


„ ใช Plate Cursor คลิกเลือกแผนพื้นที่สรางขึ้นมา แผนที่ถูกเลือกจะกลายเปนสีแดง

„ กด Ctrl + C ตามดวย Ctril + V ใสระยะหางคือ X = 2 m, Y = 0 m และ Z = 0 m

„ สรางแผนพื้นที่เหลือจนครบ 6 แผนโดยวิธีเดิม แตเปลี่ยนระยะ X และ Z จนไดโมเดลดังใน


รูปขางลาง

„ คลิกไอคอน Input Units ในทูลบารดานบน เปลี่ยนหนวยความยาวเปน cm

„ ไปหนา General | Property ในหนาตาง Properties - Whole Structure คลิกปุม


Thickness… ใสความหนา 30 cm ดังในรูป

STAAD.Pro : Slab Analysis 5-3


„ คลิกปุม Add ตามดวย Close จากนั้นใช Assign To View กําหนดใหแผนพื้นทุกแผน

„ ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed Support แลวกําหนดใหโหนด


บนขอบบนและขอบซายดังในรูป

„ เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Meter และหนวยแรงเปน Kilogram

„ ไปหนา General | Load คลิกเลือกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add…

„ สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 1 : DEAD LOAD คลิกปุม Add ตามดวย Close

„ คลิกรายการน้ําหนักบรรทุกที่สรางขึ้น แลวกดปุม Add…

„ เลือกรายการ Selfweight Load ใสคา Y -1 คลิก Add ตามดวย Close

„ สรางน้ําหนักบรรทุกกรณี 2 : LIVE LOAD คลิกปุม Add ตามดวย Close

„ คลิกรายการน้ําหนักบรรทุกที่สรางขึ้น แลวกดปุม Add…

„ เลือกรายการ Plate Loads | Pressure on Full Plate ใสคา -300 kg/m2 ทิศทาง GY

STAAD.Pro : Slab Analysis 5-4


„ กําหนดน้ําหนักบรรทุกที่สรางขึ้นใหแกทุกแผนพื้นโดยใช Assign To View แลวคลิกปุม
Assign

„ คลิกรายการ Load คลิกปุม Add… ในหนาตางที่เปดขึ้นมาเลือกรายการ


Cases Details
Define Combinations กําหนดคาเปน 1.4DL+1.7LL ดังแสดงในรูปขางลาง

„ คลิกปุม Add ตามดวย Close รายการในหนาตาง Load จะเปนดังในรูปขางลาง

„ ไปหนา Analysis/Print | Analysis เลือก Print Option = No Print คลิกปุม Add


ตามดวย Close
STAAD.Pro : Slab Analysis 5-5
„ เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

„ เมื่อรันการคํานวณผาน ใหเลือก Go to Post Processing Mode คลิกปุม Done

„ เลือกน้ําหนักบรรทุกกรณี 3 : 1.4DL + 1.7LL คลิกปุม OK

„ ในหนา Node | Displacement ปรับสเกลเพื่อดูลักษณะการแอนตัวดังในรูปขางลาง

„ ดูคาระยะเคลื่อนที่ของโหนดที่มุมอิสระ(ในรูปขางบนคือโหนด 12) จากตารางทางดานขวา


Node 12 | Vertical Y = -6.759 mm

„ ไปหนา Plate | Contour เลือก Stress type = Max Absolute

„ จะเห็นวาการกระจายหนวยแรงที่ไดดูหยาบไป เราจะลองทําใหละเอียดขึ้น

„ กลับมาที่โหมด Modelling เลือกทุกแผน สั่งเมนู Geometry | Generate Plate Mesh


ใสจํานวนแบงเทากับ 4 เลือกชนิด Quadrilateral Meshing
STAAD.Pro : Slab Analysis 5-6
„ ใสจุดรองรับเพิ่มจนไดตามรูปขางลาง

„ รันการวิเคราะหอีกครั้ง ดูการกระจายหนวยแรงจะเปนตามรูปขางลาง

STAAD.Pro : Slab Analysis 5-7


6
Slab Design
ในบทนี้จะกลาวถึงการออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบตางๆ ดังแสดงในรูปขางลางจะ
มีทั้งพื้นสองทาง (S2, S4) พื้นทางเดียว (S1) และพื้นยื่นที่ไมมีคานโดยรอบ (S3)
นอกจากนั้นจะออกแบบคาน B1 ซึ่งรับทั้งแรงเฉือน โมเมนตดัด และโมเมนตบิด
1.5 m 5m 1m

1m

4m S1 S2 S3 2m

B1 1m

2m S4

3m

การโมเดลพื้นสามารถทําไดงายโดยใช Plate Element ซึ่งจะมีใหเลือกทั้งแบบสี่เหลี่ยม


(Quad Plate) และสามเหลี่ยม (Triangular Plate) แตถาแผนพื้นมีความซับซอน
มากกวานี้เชนเปนแผนโคงหรือมีชองเปดก็ตองกําหนดเปน Surface กอนแลวมาแตกเปน
Plate อีกทีซึ่งจะกลาวถึงในบทตอไป

 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกแบบ Floor ตั้งชื่อวา SlabDSGN ใชหนวยความยาวเปน


Meter และหน ว ยแรงเป น Kilogram คลิ ก ปุ ม Next ในหน า ต า งต อ มาเลื อ ก Add
Beam คลิกปุม Finish

STAAD.Pro : Slab Design 6-1


 เปลี่ยนมุมมองเปน View From +Y ในหนาตาง Snap Node/Beam คลิกเลือก
ระนาบ X-Z คลิกปุม Snap Node/Beam ปรับเสนกริดแลวเริ่มวาดผังคานดังในรูป
ขางลาง

 คลิกไอคอน Snap Node / Quad Plates บนทูลบารดานบน

 ปรับมุมมองและเสนกริดใหเหมือนตอนวาดคาน คลิกปุม Snap Node/Plate วาดแผน


พื้นโดยคลิกเรียงตามโหนดวนตามเข็มหรือทวนเข็มเหมือนกันทุกแผน

 คลิกเมาทขวาบนพื้นที่วาง เลือกรายการ Structure Diagrams สั่ง Fill Plates จะได

STAAD.Pro : Slab Design 6-2


 เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Centimeter

 ไปที่หนา General | Property เพื่อสรางหนาตัดคาน คลิกปุม Define… เลือกรายการ


Rectangle ใสหนาตัดคาน ลึก YD = 40 cm กวาง ZD = 20 cm วัสดุใชเปน
Concrete

 คลิกปุม Add แลวตามดวย Close จากนั้นกําหนดใหแกคานทุกตัวโดย Assign To


View

 คลิกปุม Thickness… ใสคาความหนาพื้น 12 cm คลิกปุม Add ตามดวย Close

 กําหนดใหทุกพื้นโดยใช Assign To View

STAAD.Pro : Slab Design 6-3


 ไปที่หนา General | Support กําหนดจุดรองรับแบบ Pinned ใหแกโหนดที่เปนเสา
รองรับทั้งสี่ดังในรูปขางลาง

 เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Meter

 ไปที่หนา General | Load เลือกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add…


สราง LOAD 1 : Dead Load และ LOAD 2 : Live Load

 เลือกรายการ LOAD 1 ใสคาเปน Selfweight Y -1

 ใน LOAD 2 เลือกรายการ Plate Loads | Pressure on Full Plate ใสคา -200


kg/m2 ทิศทาง GY

 คลิกปุม Add ตามดวย Close กําหนดน้ําหนักบรรทุกใหแผนพื้นทุกแผน

STAAD.Pro : Slab Design 6-4


 สราง Load Combination 3 : 1.4DL + 1.7LL

 ไปหนา Analysis/Print | Analysis เลือก Print Option = No Print คลิกปุม


Add ตามดวย Close

 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 ถารันผาน เลือก Stay in Modeling Mode คลิกปุม Done

 เลือกเมนู Commands | Loading | Load List… เลือก Load Case 3

 ไปหนา Design | Concrete เลือก Current Code : ACI

 เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Centimeter คลิกปุม Define Parameters… กําหนดตัว


แปรตางๆดังนี้
- CLB = 2 cm
- CLT = 2 cm
- FC = 240 kg/cm2
- FYMAIN = 4000 kg/cm2
- MAXMAIN = 16 mm
- MINMAIN = 10 mm
- TRACK = 1

STAAD.Pro : Slab Design 6-5


- กําหนดใหทั้งหมดโดยใช Assign To View

 คลิกปุม Commands… เลือก DESIGN BEAM และ DESIGN SLAB

 กํ า หนดให กั บ คานและแผ น พื้ น ที่ ต อ งการออกแบบ ตามในรู ป ข า งล า งได แ ก คาน


หมายเลข 10 และพื้นหมายเลข 12, 13 และ 15

 คําสั่งในไฟลคําสั่งที่ถูกสรางขึ้นมาคือ
START CONCRETE DESIGN
CODE ACI
UNIT CM KG
CLB 2 ALL
CLT 2 ALL
FC 240 ALL
FYMAIN 4000 ALL
MAXMAIN 16 ALL
MINMAIN 10 ALL
TRACK 1 ALL
DESIGN BEAM 10
DESIGN ELEMENT 12 13 15
END CONCRETE DESIGN

 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 เมื่อรันการคํานวณผาน เปดดูผลการออกแบบในไฟลแสดงผล
=====================================================================

BEAM NO. 10 DESIGN RESULTS - FLEXURE PER CODE ACI 318-02

LEN - 3000. MM FY - 392. FC - 24. MPA, SIZE - 200. X 400. MMS

LEVEL HEIGHT BAR INFO FROM TO ANCHOR


(MM) (MM) (MM) STA END
_____________________________________________________________________

1 39. 3 - 12MM 0. 2012. YES NO

STAAD.Pro : Slab Design 6-6


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL POS MOMENT= 15.63 KN-MET AT 0.MM, LOAD 3|
| REQD STEEL= 254.MM2, ROW=0.0035, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 320./ 37./ 43. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 487. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 26602.4 cm^4

2 361. 3 - 12MM 1419. 3000. NO YES


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL NEG MOMENT= 15.69 KN-MET AT 3000.MM, LOAD 3|
| REQD STEEL= 254.MM2, ROW=0.0035, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 320./ 37./ 43. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 487. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 26602.4 cm^4

B E A M N O. 10 D E S I G N R E S U L T S - SHEAR

AT START SUPPORT - Vu= 7.42 KNS Vc= 58.17 KNS Vs= 0.00 KNS
Tu= 5.73 KN-MET Tc= 1.6 KN-MET Ts= 7.6 KN-MET LOAD 3
STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT FOR SHEAR IS PER CL.11.5.5.1.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 121. MM C/C FOR 1145. MM
ADDITIONAL LONGITUDINAL STEEL REQD. FOR TORSIONAL RESISTANCE = 2.49 SQ.CM.

AT END SUPPORT - Vu= 13.46 KNS Vc= 59.30 KNS Vs= 0.00 KNS
Tu= 5.73 KN-MET Tc= 1.6 KN-MET Ts= 7.6 KN-MET LOAD 3
STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT FOR SHEAR IS PER CL.11.5.5.1.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 121. MM C/C FOR 1145. MM
ADDITIONAL LONGITUDINAL STEEL REQD. FOR TORSIONAL RESISTANCE = 2.49 SQ.CM.

___ 9J____________________ 3000X 200X 400_____________________ 4J____


| |
| ========================================||
| 3No12 H 361.1419.TO 3000 |
| 11*12c/c121 | | | | 11*12c/c121 |
| 3No12 H 39. 0.TO 2012 | | | | |
||================================================= |
| |
|___________________________________________________________________________|
_______ _______ _______ _______ _______ _______ _______
| | | | | | | | | | | | | |
| | | | | | | ooo | | ooo | | ooo | | ooo |
| | | | | | | 3#12 | | 3#12 | | 3#12 | | 3#12 |
| | | | | | | | | | | | | |
| 3#12 | | 3#12 | | 3#12 | | 3#12 | | 3#12 | | | | |
| ooo | | ooo | | ooo | | ooo | | ooo | | | | |
| | | | | | | | | | | | | |
|_______| |_______| |_______| |_______| |_______| |_______| |_______|

********************END OF BEAM DESIGN**************************

ELEMENT DESIGN SUMMARY


----------------------

ELEMENT LONG. REINF MOM-X /LOAD TRANS. REINF MOM-Y /LOAD


(SQ.MM/MM) (KN-MM/MM) (SQ.MM/MM) (KN-MM/MM)

12 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required.


12 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required.
12 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required.
12 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required.
12 TOP : 0.240 1.57 / 3 0.240 1.28 / 3
BOTT: 0.240 0.00 / 0 0.240 0.00 / 0

13 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required.


13 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required.
13 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required.
13 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required.
13 TOP : 0.240 0.16 / 3 0.240 0.70 / 3
BOTT: 0.240 0.00 / 0 0.240 0.00 / 0

15 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required.

STAAD.Pro : Slab Design 6-7


15 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required.
15 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required.
15 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required.
15 TOP : 0.240 1.81 / 3 0.240 0.75 / 3
BOTT: 0.240 0.00 / 0 0.240 0.00 / 0

***************************END OF ELEMENT DESIGN***************************

 จากผลการออกแบบแผนพื้นแตละแผนจะเห็นวาเปนการคํานวณออกแบบที่ตําแหนง
เดียว โดยใชคา MX และ MY ที่จุดศูนยกลางของแผนดังในรูปขางลาง

 ดังนั้นเพื่อใหไดตําแหนงที่เหมาะสมในการคํานวณออกแบบจึงตองแบงแผนพื้นออกเปน
พื้นยอย ยิ่งละเอียดก็ยิ่งดีแตอาจทําใหการคํานวณชาลง ในที่นี้เราจะลองแบงออกเปน
แผนละ 0.50 เมตรดู

 กลับมาในโหมด Modelling ใช Plate Cursor เลือกแผนที่ตองการจะแบง ให


เลือกแผนตรงกลางดังในรูปขางลาง

 เลือกเมนู Geometry | Generate Plate Mesh เลือก Quadrilateral Meshing

 ในหนาตางถัดมาจะใหเรากําหนดตัวแปรในการแบง โดยดานยาว 5 เมตรเราจะแบงเปน


10 สวน ดานกวาง 4 เมตรจะแบงเปน 8 สวน ดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Slab Design 6-8


 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis
 เขาสูโหมด Post Processing ไปหนา Plate | Contour จะเห็นวาการแสดงเสนชั้น
ความสูงหนวยแรงจะดูละเอียดขึ้น ชวยใหเราเลือกแผนที่เราตองการออกแบบ
 กลับไปโหมด Modelling หนา Design | Concrete เพื่อกําหนดแผนพื้นที่จะทําการ
ออกแบบใหม
 ในหนาตาง Concrete Design ลบรายการ DESIGN BEAM ออก
 ลบรายการ DESIGN ELEMENT แลวสรางใหมโดยเลือกแผนที่ตองการออกแบบดัง
แสดงในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Slab Design 6-9


 นอกจากนั้นลองเปลี่ยนพารามิเตอร FYMAIN Æ 2400 kg/cm2

 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 เมื่อรันผานผลการออกแบบพื้นในไฟลแสดงผลจะเปนดังนี้

ELEMENT DESIGN SUMMARY


----------------------

ELEMENT LONG. REINF MOM-X /LOAD TRANS. REINF MOM-Y /LOAD


(SQ.MM/MM) (KN-MM/MM) (SQ.MM/MM) (KN-MM/MM)

77 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required.


77 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required.
77 TOP : 0.240 0.00 / 0 0.240 0.00 / 0
BOTT: 0.314 6.11 / 3 0.304 5.10 / 3

83 TOP : Longitudinal direction - Only minimum steel required.


83 BOTT: Longitudinal direction - Only minimum steel required.
83 TOP : Transverse direction - Only minimum steel required.
83 BOTT: Transverse direction - Only minimum steel required.
83 TOP : 0.240 0.00 / 0 0.240 0.00 / 0
BOTT: 0.240 0.94 / 3 0.240 3.30 / 3

***************************END OF ELEMENT DESIGN***************************

 ในโหมด Post Processing ไปหนา Plate | Contour เลือก Stress type: Max
Absolute จะไดตามในรูปขางลาง

Plate | Results Along Line Page


นอกจากการใช contour ในการแสดงหนวยแรงในแผนพื้นแลว ยังสามารถดูไดตามแนว
เสนที่เรากําหนดใหตัดผานแผนพื้นได

 ในโหมด Post Processing ไปหนา Plate | Results Along Line พิจารณาหนาตาง


ที่แสดงทางดานขวาลางของหนาจอ

STAAD.Pro : Slab Design 6 - 10


 Define Lines : กําหนดแนวเสนที่จะตัดผานโครงสรางซึ่งมีไดหลายเสน คลิกปุม Cut
by a line สังเกตุเคอรเซอรจะเปลี่ยนเปนเครื่องหมาย + ใหคลิกสองจุดปลายเสนที่
ตองการตัดผาน ลองขยับเมาทดูจะมีเสนตั้งฉากออกมาจากเสนที่วาด ใหคลิกอีกครั้งเพื่อ
กําหนดทิศแกนบวก Y ในระบบแกน local เสร็จแลวคลิกปุม End Draw ในตัวอยาง
นี้เราจะลองลากเสนตัดผานกลางแผนพื้นดังในรูปขางลาง เพราะดูจาก contour แลว
หนวยแรงมีคาสูง

 ในหนาตาง Results along line เลือก Stress type = MLX และความถี่ในการแบง


Max No Div = 20 เสร็จแลวคลิกปุม Update หนาตางแสดงหนวยแรงตามแนวเสน
จะแสดงขึ้นมา

STAAD.Pro : Slab Design 6 - 11


STAAD.Pro : Slab Design 6 - 12
7
Flat Slab
ในบทนี้จะกลาวถึงการสรางโมเดลและวิเคราะหพื้นคอนกรีตไรคาน (Flat Slab) แผนพื้น
เปนแบบโคงและมีชองเปด มีคานขอบ เสาที่ขอบและมุมเปนเสาสี่เหลี่ยม เสากลางเปนเสา
กลมมีแปนหัวเสา

6m

1.6 m
Column
Capital 2m

6m Opening 2m

2m 2m

6m 6m

ในการโมเดลพื้นที่มีความซับซอนเชนนี้ เราจะใช Surface Element โดยเริ่มจากการ


กําหนดโหนดโดยการวาดคานกอนแลววาด Surface จากนั้นจะลบคานที่ไมตองการออก

 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกแบบ Floor ตั้งชื่อวา FlatSlab ใชหนวยความยาวเปน


Meter และหน ว ยแรงเป น Kilogram คลิ ก ปุ ม Next ในหน า ต า งต อ มาเลื อ ก Add
Beam คลิกปุม Finish

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-1


ขั้นแรกเราจะเริ่มวาดสวนโคงกอน แมวาจะมีชิ้นสวนที่เปนคานโคง แตยังไมมีชิ้นสวนพื้น
โคงดังนั้นจึงตองทําเปนคานสั้นๆตอกันเปนสวนโคงแทน กําหนดจุดกําเนิดที่มุมบนซายของ
ระบบพื้น
จุดศูนยกลางความโคงที่หัวเสากลมคือ X = 6 m, Z = 6 m โดยจะวาดเสนโคงกวาด
มุม 90o ความโคงของแผนพื้นมีรัศมี 6 m

 เปลี่ยนมุมมอง View From +Y ในหนาตาง Snap Node/Beam คลิกแถบ Radial


เลือกระนาบ X-Z กําหนด Grid Origin และ Construction Lines ดังในรูป

 คลิกปุม Snap Node/Beam เพื่อวาดคานสั้นๆตอกันเปนความโคงดังแสดงในรูป


ขางลาง

 ปรับระบบ Snap Node/Beam เปนแบบ Linear ระนาบ X-Z จุดกําเนิด ( 0 , 0 , 0 )


และ Construction Lines:

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-2


 คลิกปุม Snap Node/Beam วาดคานรอบระบบพื้นทั้งหมดดังในรูปขางลาง

 ขั้นตอมาจะสราง Surface Meshing ออกเปนชิ้นสวนยอย ซึ่งเราควรจะ Save As…


เก็บไฟลไวอีกชื่อหนึ่งกอน เพราะถาแบงผิดพลาดจะไดไมตองเริ่มตนใหมทั้งหมด

 คลิกปุม สังเกตเคอรเซอรจะเปลี่ยนเปนรูป คลิกตามโหนดโดยรอบแผนพื้น


เมื่อคลิกจนครบรอบแลวหนาตาง Define Mesh Region จะแสดงขึ้นมา

 พิจารณาตารางแสดงพิกัดโหนดโดยรอบ (X, Y, Z) จํานวนชองที่จะแบง (Div.) และ


Bias = 1 หมายถึงแบงเทาๆกัน เพื่อไมใหเสียเวลาในการคํานวณมากใหเปลี่ยน Div.
ของดานที่ยาว 6 m เปน 6 สวนชวงสั้นบริเวณคานโคงใช Div. = 1

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-3


 คลิกขวาที่รายการ HOLES เลือก Create New Hole ใสคาตําแหนงของแปนหัวเสา
กลางตามในรูป เมื่อใสบรรทัดแรกเสร็จ ใหคลิก เพื่อขึ้นบรรทัดใหม

 คลิกขวาที่รายการ HOLES เลือก Create New Hole ใสคาตําแหนงของชองเปดตาม


ในรูป

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-4


 เมื่อคลิก OK โปรแกรมจะสราง mesh ขึ้นมาดังในรูป

 เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Centimeter

 ไปที่หนา General | Property กําหนดความหนาพื้น คลิกปุม Thickness… เลือก


Plate/Surface Thickness ใสความหนา 20 ซม. Material = Concrete คลิกปุม
Add ตามดวย Close

 กําหนดความหนาใหทุกแผนโดยใช Assign To View คลิกปุม Assign

 กําหนดหนาตัดคาน คลิกปุม Define… เลือกรายการ Rectangle ใสหนาตัดคาน ลึก


YD = 40 cm กวาง ZD = 20 cm วัสดุใชเปน Concrete

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-5


 คลิกปุม Add แลวตามดวย Close จากนั้นกําหนดใหแกคานทุกตัวโดย Assign To
View คานขอบโดยรอบแผนพื้นจะถูกกําหนดหนาตัด

 ไปที่หนา General | Support กําหนดจุดรองรับแบบ Pinned ใหแกโหนดที่เปนเสา


รองรับโดยรอบและที่ขอบแปนหัวเสากลาง

 เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Meter

 ไปที่หนา General | Load เลือกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add…


สราง LOAD 1 : Dead Load และ LOAD 2 : Live Load

 เลือกรายการ LOAD 1 ใสคาเปน Selfweight Y -1

 ใน LOAD 2 เลือกรายการ Plate Loads | Pressure on Full Plate ใสคา -300


kg/m2 ทิศทาง GY

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-6


 คลิกปุม Add ตามดวย Close กําหนดใหทุกแผนโดยใช Assign To View

 สราง Load Combination 3 : 1.4DL + 1.7LL

 ไปหนา Analysis/Print | Analysis เลือก Print Option = No Print คลิกปุม


Add ตามดวย Close

 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 เมื่อรันการคํานวณผาน ใหเลือก Go to Post Processing Mode คลิกปุม Done

 เลือกน้ําหนักบรรทุกกรณี 3 : 1.4DL + 1.7LL คลิกปุม OK

 ในหนา Node | Displacement ปรับสเกลเพื่อดูลักษณะการแอนตัวดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-7


 ไปหนา Plate | Contour เพื่อดูลักษณะการกระจายหนวยแรงดังในรูปขางลาง

 ไปหนา Plate | Results Along Line เพื่อดูการกระจายหนวยแรงตามแนวเสน


 ใชมุมมอง View From +Y คลิกปุม Cut by a Line กําหนดแนวเสนที่ตองการ

STAAD.Pro : Flat Slab Design 7-8


8
Slab/Wall Connection
Geometry | Generate Slab/wall Connection

ในการสร า งชิ้ น ส ว นย อ ยของชิ้น ส ว นแผน เชน ผนัง หรือ พื้ น STAAD.Pro ไดเ พิ่ ม
ความสามารถในการพิจารณาบริเวณรอยตอระหวางแผน

เพื่อเปนการยกตัวอยางปญหาที่จะเกิดขึ้นถาไมมีความสามารถนี้ พิจารณาผนังและพื้นดัง
แสดงในรูปขางลาง

เราอาจเริ่มจากการสราง mesh ในพื้นกอนและใชแนวผนังเปนเสนขอบเขตในการแบงจะได


ชิ้นสวนยอยในพื้นดังในรูป

ตอจากนั้นเมื่อเราสราง mesh ของผนังตามมา โหนดที่อยูบนเสนรอยตอจะกลายเปน “จุด


ควบคุม” โดยอัตโนมัติ นั้นคือโหนดที่สรางขึ้นจะอยูตรงกัน

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-1


 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกแบบ Space ตั้งชื่อวา SlabWall ใชหนวยความยาวเปน
Meter และหน ว ยแรงเป น Kilogram คลิ ก ปุ ม Next ในหน า ต า งต อ มาเลื อ ก Add
Beam คลิกปุม Finish

เริ่มตนโดยการวาดพื้นกอน เนื่องจากพื้นเปนรูปหลายเหลี่ยมเราจะวาดคานโดยรอบเพื่อ
กําหนดโหนดกอน แลวคอยลบคานออกทีหลัง

 เปลี่ยนมุมมอง View From +Y ในหนาตาง Snap Node/Beam เลือกระนาบ X-Z


วาดคานรอบพื้นดังในรูปขางลาง

 วาดคานเปนแนวรอยตอผนังลงบนแผนพื้นดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-2


 คลิกเลือกคานรอยตอที่สรางขึ้นใหม กด Ctrl + C ตามดวย Ctrl + V ใสคาระยะตาม
แนวแกน Y = 5 m คลิก OK

 แสดงหมายเลขโหนดแบบรวดเร็ว โดยกด Shift + K และ Shift + N


 สรางรางแหในแผนพื้น เริ่มจากเปลี่ยนมุมมอง View From +Z

 ใช Beam Cursor เลือกแผนพื้นซึ่งแสดงเปนเสนในแนวนอนโดยการใชเมาทตี


กรอบเลือก
 จากนั้นคลิกเมาทขวา เลือกรายการ New View เลือก Display the view in the
active window option แลวคลิก OK

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-3


 เลือกมุมมอง Isometric View โมเดลจะแสดงดังในรูปขางลาง

 ไปหนา Geometry | Parametric Models คลิกปุม Add ที่มุมลางขวาของหนาจอ

 กลองขอความตามในรูปขางลางจะแสดงขึ้นมา ใสชื่อโมเดลที่จะแตกรางแห จากนั้น


ปลอยตัวเลือก Create density lines at beam locations ใหเลือกทิ้งไว คลิก OK

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-4


 เคอร เ ซอร จ ะเปลี่ ย นรู ป ร า ง ให ค ลิ ก ตามโหนดรอบแผ น พื้ น เริ่ ม จากโหนด
หมายเลข 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 จากนั้นกลับมาคลิกที่ 1 อีกครั้งใหครบรอบ

 เมื่อคลิกจนครบรอบ หนาตางจะแสดงขึ้นมาใหเลือกชนิดรางแห ใหเลือกขอ B) ใส


ขนาดโดยประมาณของชิ้นสวนยอยเปน 0.5 m เราสามารถเปลี่ยนไดภายหลัง คลิก OK

 กลองโตตอบถัดมาจะถามวาจะเพิ่มชองเปดหรือไม ในกรณีนี้ไมมีใหคลิก No

โครงรางแหจะถูกสรางขึ้นมาดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-5


 จะเห็นวาโครงรางแหที่ถูกสรางขึ้นละเอียดเกินไป เราสามารถปรับขนาด Element
Size แลวคลิกปุม Apply

 เมื่อปรับขนาดจนพอใจแลว ใหคลิกปุม Merge Mesh

 กลับไปหนา Geometry แลวปรับมุมมองใหแสดงทั้งหมดโดยคลิกปุม Display


Whole Structure

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-6


ขั้นตอมาคือการสรางรางแหใหกับผนัง ซึ่งเราจะสาธิตความสามารถของ STAAD.Pro ใน
การจัดการกับรอยตอระหวางพื้นและผนัง

 เลือกเมนู Geometry | Generate Slab/Wall Connection สังเกตเคอรเซอรจะ

เปลี่ยนเป นรู ป ใหคลิกที่มุมทั้งสี่ของผนังเรียงตามลําดับทวนเข็มนาฬิก า โดย


โหนดแรกและโหนดที่สองอยูบนแผนพื้น

 เมื่อคลิกจนครบรอบ กลองโตตอบจะแสดงขึ้นมาใหเราใสจํานวนชองที่จะแบง

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-7


 ลบคานที่เหลือทั้งหมดออกโดยใช Beam Cursor กด Ctrl + A คานจะถูกเลือกเปนสี
แดงออกมา กด Delete เพื่อลบทิ้งไป

 เพื่อเปนการตรวจสอบวาโปรแกรมมีการสรางแผนยอยถูกตองหรือไม เลือกเมนู Tools |


Check Improperly Connected Plates ถาแผนทั้งสองมีรอยตอที่ถูกตอง จะปรากฏ
ขอความ

STAAD.Pro : Slab / Wall Connection 8-8


9
Floor Diaphragm
Introduction

ระบบพื้นในอาคารสามารถโมเดลไดในสามลักษณะคือ

1. Rigid Floor Diaphragm สมมุติวาพื้นมีความแข็งมากจนไมมีการเสียรูปทรงทั้งใน


ระนาบ (in-plane) และนอกระนาบ (out-of-plane) มีแตการเคลื่อนที่ไปพรอมกันทั้ง
แผน

2. Semi Rigid Diaphragm สมมุติวาพื้นมีความแข็ง แตยอมใหมีการเสียรูปทรงในแนว


ระนาบ (in-plane) แตไมมีการเสียรูปทรงนอกระนาบ (out-of-plane)

3. Flexible Diaphragm สมมุติวาพื้นไมมีความแข็งพอที่จะตานทานแรงดานขาง

สมมุติฐานแบบ rigid floor diaphragm อาจไมเหมาะสมในกรณีที่อาคารรูปทรงแคบซึ่ง


มีผนังเฉือน (Shear Wall) อยูใกลๆกัน (ผนังเฉือนมีสติฟเนสมากกวาพื้น)

ในกรณีของอาคารแคบยาวและมีคานลึกการใชสมมุติฐาน rigid floor จะตองพิจารณา


อยางระมัดระวัง การมีชองเปดในพื้นสําหรับลิฟทหรือบันไดจะทําใหพื้นออนแอลง

ดังนั้นการใชทางเลือกเหลานี้ใน STAAD.Pro ตองมีดุลพินิจที่ดีในการตัดสินใจตามความ


เหมาะสมของระบบโครงสรางจริง

Master-Slave Joint

จะชวยใหเราสามารถโมเดลลิงคแข็ง (rigid link) ในระบบโครงสราง ทําใหเราสามารถ


โมเดลระบบพื้นแข็งได โดยจุดตอที่ถูกกําหนดเปน slave ซึ่งจะมีหลายจุดตอ จะเคลื่อนที่
ตามจุดตอ master ซึ่งจะมีจุดเดียว นอกจากนั้นเรายังสามารถกําหนดดีกรีอิสระของจุดตอ
slave ไดอีกดวย ถาทุกดีกรีอิสระ (Fx, Fy, Fz, Mx, My และ Mz) ถูกกําหนดใหยึดรั้ง
จุดตอจะถูกกําหนดใหตอแบบแข็ง

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-1


Modeling Rigid Diaphragm

ในตั ว อย า งนี้ ส มมุ ติ ว า เราต อ งการกํ า หนดให พื้ น ชั้ น บนของโครงสร า งเป น rigid
diaphragm

4m

2m

4m 4m

 เริ่มสรางโมเดลใหม เลือกแบบ Space ตั้งชื่อวา RigidFloor ใชหนวยความยาวเปน


Meter และหนวยแรงเปน Kilogram

 เปลี่ยนมุมมอง View From +Z ในหนาตาง Snap Node/Beam เลือกระนาบ X-Y


วาดโครงสรางดังในรูปขางลาง

 เลือกโครงสรางทั้งหมด คลิกปุม Translational Repeat ใสขอมูลตามในรูป


ขางลาง

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-2


 ไปหนา General | Property คลิกปุม Define… เลือกหนาตัด Rectangle กําหนด
หนาตัดคานและเสาดังนี้คือ
- หนาตัดคาน: 40 cm x 20 cm Material = Concrete
- หนาตัดเสา: 20 cm x 20 cm Material = Concrete

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-3


 ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed กําหนดใหฐานเสาดังในรูป

 ไปหนา General | Load เลือกรายการ Load Cases Details สราง Load Case 1

 คลิกปุม Add… เลือกรายการ Member Load | Uniform Force ใสคาดังนี้


- W1 = -1000 kg/m Direction = GY คลิกปุม Add
- W1 = 1000 kg/m Direction = GX คลิกปุม Add

 กําหนดแรงกระทําบนโครงสรางตามในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-4


 แสดงหมายเลขโหนดแบบรวดเร็ว โดยกด Shift + K และ Shift + N

 ไปหนา General | Spec คลิกปุม Node… ในหนาตางที่แสดงขึ้นมาเลือกโหนด 2


เปน Master Node แลวคลิกปุม Add

 ในหนาตางที่แสดงขึ้นมา เราสามารถเลือกดีกรีอิสระของจุดตอ Slave ตามจุดตอ


Master ได ในที่นี้กําหนด Rigid จะล็อคทุกดีกรี

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-5


 เลือกรายการที่ถูกสรางขึ้นใหม กําหนดใหทุกโหนดที่ชั้นบนในที่นี้ไดแก โหนด 2 3 5 7
8 10 โดยใชวิธี Use Cursor To Assign

 คลิกเลือก Highlight Assigned Geometry โหนด 2 จะมีวงกลมสีน้ําเงินสองวง


แสดงวาเปน Master สวนโหนดอื่นเปนสีแดงแสดงวาเปน Slave

 ไปหนา Analysis/Print | Analysis เลือก Print Option = No Print คลิกปุม


Add ตามดวย Close

 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 เมื่อรันการคํานวณผาน ใหเลือก Go to Post Processing Mode คลิกปุม Done

 ไปหนา Node | Displacement ปรับสเกลใหเหมาะสมจนไดตามรูปขางลาง

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-6


 ลองดับเบิ้ลคลิกคานเบอร 9 ระหวางโหนด 7 และ 10 ดูคา Local Displacement ใน
แนวแกน Y จะเห็นวาไมมีการโกงแอนตลอดความยาว

 กลับไปโหมด Modeling ใหม ลองเอา Master/Slave ออก แลวรันการคํานวณใหม


เปรียบเทียบผลที่ได

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-7


Modeling Semi Rigid Diaphragm

ในบางกรณีเราอาจตองการใหแผนพื้นแข็งในระนาบ XZ แตยืดหยุนรอบแกนดัดออนของ
พื้ น ตั ว อย า งเช น เมื่ อมี แ รงดา นขา งมากระทํา แผ น พื้น มีพ ฤติก รรมแบบวั ต ถุแ ข็ ง (rigid
body) ในระนาบ XZ แตจะพิจารณาใหมีการดัดนอกระนาบ (คานในระบบพื้นจะมีการโกง
ดัด)

 ในไฟลขอมูลเดิม ไปหนา General | Spec คลิกเลือกรายการ SLAVE RIGID


MASTER 2 JOINT แลวคลิกปุม Edit… เปลี่ยน Slaved Direction เปน ZX
แลวกดปุม Change

 สั่งรันการคํานวณ ไปหนา Node | Displacement ปรับสเกลใหเหมาะสม

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-8


 ลองดับเบิ้ลคลิกคานเบอร 9 อีกครั้ง ดูคา Displacement จะไดดังในรูป

Modeling Flexible Diaphragm

ในกรณีนี้ STAAD.Pro มีสองวิธีใหเราเลือกคือ 1) โมเดลแผนพื้นเปน Plate ลงใน


โปรแกรม หรือ 2) ละเลยแผนพื้นโดยใช Floor Load คํานวณน้ําหนักบรรทุกจากแผนพื้น

 ในไฟลขอมูลเดิม ไปหนา General | Spec ลบรายการ Master/Slave ที่เคยกําหนด


ไวออก

 ไปหนา General | Load เลือก LOAD CASE 1 คลิกปุม Add…

 เลือกรายการ Floor Load | Floor ใสคาตามในรูปขางลาง

 คลิกปุม Add แลวตามดวย Close

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9-9


 คลิกรายการ YRANGE 4 4 FLOAD -500 GY รูปแบบการกระจายน้ําหนักบรรทุก
จะแสดงขึ้นมา

 สั่งรันการคํานวณ ไปหนา Node | Displacement ปรับสเกลใหเหมาะสม

STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9 - 10


STAAD.Pro : Floor Diaphragm 9 - 11
10
การสรางโมเดลอาคารที่มีผนังเฉือน
เนื้อหาในบทนี้
„ ผนังเฉือน (Shear Wall) คืออะไร?

„ ฟงกชั่น Translational Repeat

„ การสรางโมเดลอาคารที่มีผนังเฉือน

„ กําหนดคุณสมบัติองคอาคาร

„ กําหนดจุดรองรับ

„ กําหนดแรงกระทําดานขาง

„ การคํานวณวิเคราะหโครงสราง

„ พิจารณาผลการวิเคราะห
• การโยกตัวดานขางของอาคาร
• แรงเฉือนและโมเมนตดัด

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 1


ผนังเฉือนคืออะไร?
ในอาคารสูงคอนกรีตเสริมเหล็กมักมีผนังคอนกรีตเสริมเหล็กในแนวดิ่งเรียกวา ผนังเฉือน(Shear Wall)
ดังในรูปที่ 1 นอกเหนือไปจาก พื้น คาน และเสา ผนังเฉือนมักจะเริ่มตั้งแตฐานรากยาวตอเนื่องขึ้นไปตลอด
ความสูงของอาคาร ความหนาผนังมีตั้งแต 15 ซม. จนถึง 40 ซม. ผนังเฉือนมักจะมีทั้งในแนวคววามกวาง
และความยาวของอาคาร

PLAN

รูปที่ 1 ผนังเฉือนในอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
ผนังเฉือนใชเพื่อสรางเสริมความแข็งแรงใหอาคารเพื่อรับแรงลมหรือแผนดินไหว ระบบนี้ถูกคิดคนขึ้นใน
ประมาณป 1940s ปญหาสําคัญของ Shear wall คือ ชองเปดไมวาจะเปนประตู หนาตางหรือชองทอจะถูก
จํากัด ผนังเฉือนอาจจะเปนในรูปกลอง รูปตัว L รูปตัว I หรือ อื่นๆ รวมทั้งอาจจะเปนรูปวงกลม หรือโคงก็
ได ในอาคารสูงแลว ผนังเฉือนไมจําเปนจะตองเปนสวนแกนลิฟตเสมอไป อาจจะเปนสวนหนึ่งของผนัง
ภายนอกหรือผนังภายในก็ได แตนิยมใชเปนแกนลิฟตและงานระบบตางๆ มากที่สุด ดวยสวนแกนนี้จะกิน
พื้นที่ประมาณ 20-25% ของพื้นที่แตละชั้นและสูงไปตามความสูงของอาคาร แกนลิฟตจึงมักถูกใชเปน
เสมือนทอที่ชวยรับแรงกระทําตามแนวนอนของอาคารสูงโดยทั่วไป ในบางอาคารผนังภายนอกอาจจะทํา
หนาที่เสมือนทอขนาดใหญที่ถูกเจาะบางสวนออกเพื่อเปนหนาตางหรือชองเปด
การสรางโมเดลอาคารสูงทีม่ ีผนังเฉือน
เราจะเริ่มสรางโมเดลแรกเปนอาคารคอนกรีตสูง 10 ชั้น เปนโครงขอแข็งซึ่งมีผนังเฉือนขนาบ
ขางทั้งสองขางดังแสดงในรูปขางลาง

 เริ่มตนโปรแกรมใหมแบบ Space ชื่อไฟล bldshear หนวยความยาวเปน Meter หนวย


แรงเปน Metric Ton

 เลือก Add Beam คลิกปุม Finish

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 2


SHEAR WALL
SHEAR WALL

FRAMES

8 Bays @ 8 m
10 @ 4 m

40 m

3@6m 18 m

TYPICAL FRAME TYPICAL WALL

 คลิกเลือกระนาบ X-Y และเปลี่ยนมุมมองเปน View From +Z

 สรางโมเดลเปนโครงสามโครงตอกันกวางโครงละ 6 เมตร สูง 4 เมตร ดังในรูปขางลาง

 เลือกโมเดลทั้งหมด กด Ctrl + A

 สั่ง Translation Repeat โดยคลิกไอคอน

 หรือเลือกจากเมนู Geometry > Translational Repeat…


STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 3
 เมื่อหนาตางแสดงขึ้นมา ใหใสคาตามในรูปขางลาง

 คลิก OK แลวเปลี่ยนมุมมองเปนสามมิติจะได

 คลิกไอคอน Add 4-Noded Plates จากทูลบารดานบน

 คลิกที่จุดตอในโครงสรางเพื่อสรางผนังดังในรูปขางลาง อยาลืมคลิกตามเข็มหรือทวนเข็ม
นาฬิกาใหเหมือนกันทั้งสามแผนเพื่อใหไดทิศทาง(สีเดียวกัน)

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 4


 คลิกขวาในพื้นที่วางโมเดล เลือกรายการ Structure Diagrams… ในกรอบ View เลือก
Fill Plates/Solids/Surface แลวคลิก OK แผน Plate ทั้งสามจะถูกแรเงา

 คลิกเลือกทั้งสามแผน กด Ctrl+C และ Ctrl+V จะปรากฏหนาตาง Paste with Move


ขึ้นมา ใหใสระยะ Z = 64 m แลวคลิก OK ถาไมพลาดจะมีแผนแสดงขึ้นที่อีกดาน

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 5


 ถาจะใหดีควรใช Beam Cursor คลิกเลือกคานและเสารอบแผนผนังทั้งหมดแลวลบทิ้ง

 คลิกเลือกทั้งหมดโดยใช Beam Cursor กด Ctrl+A แลวคลิกเลือก Plate Cursor กด


Ctrl+A เพื่อเลือกทุกองคอาคารทั้งคาน เสา และผนัง

 สั่ง Translational Repeat อีกครั้งเพื่อสรางเปนอาคารสิบชั้น

กําหนดคุณสมบัติองคอาคาร
 ไปที่หนา General > Property คลิกปุม Define… เลือกหนาตัด Rectangle
กําหนดใหเปนเสาและคานดังนี้
• คานทั้งหมด: YD = 0.6 m ZD = 0.3 m Material = CONCRETE

• เสาชั้น 1-3: YD = 0.6 m ZD = 0.6 m Material = CONCRETE

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 6


• เสาชั้น 4-6: YD = 0.5 m ZD = 0.5 m Material = CONCRETE

• เสาชั้น 7-8: YD = 0.4 m ZD = 0.4 m Material = CONCRETE

 รายการหนาตัดที่แสดงขึ้นมาจะมี Ref 1 ถึง 4 ตามขนาดที่กําหนด

 เลือกรายการ Ref 1 เพื่อกําหนดหนาตัดใหแกคานทั้งหมด เลือกมุมมอง View From + X

 ใช Beam Cursor ตีกรอบเลือกและกด Ctrl ชวยเลือกคานทั้งหมดดังในรูป

 ใช Assign To Selected Beams คลิกปุม Assign จะไดดังในรูป

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 7


 เปลี่ยนมุมมองเปน View From + Y ตีกรอบเลือกดังในรูป

 เลือกรายการ Ref 2 เพื่อกําหนดหนาตัดใหแกเสาชั้น 1-3 ทั้งหมด ดังในรูป

 เลือกรายการ Ref 3 เพื่อกําหนดหนาตัดใหแกเสาชั้น 4-7 ทั้งหมด

 เลือกรายการ Ref 4 เพื่อกําหนดหนาตัดใหแกเสาชั้น 8-10 ทั้งหมด

 ขั้นตอมาเราจะกําหนดความหนาผนังเฉือน โดยคลิกปุม Thickness… เลือกรายการ


Plate/Surface Thickness ใสความหนา 0.15 m ดังในรูป คลิกปุม Add

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 8


 ใช Plate Cursor เลือกผนังเฉือนทั้งสองขางของอาคาร คลิกดูในมุมมอง
Isometric View ผนังที่ถูกเลือกจะเปลี่ยนเปนสีแดง

กําหนดจุดรองรับ
 ไปที่หนา General > Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed
 คลิกเลือกมุมมอง View From + X ใช Nodes Cursor ตีกรอบเลือกดังในรูป
ขางลาง

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 9


 เลือกรายการจุดรองรับที่สรางขึ้น ใช Assign To Selected Nodes คลิกปุม Assign เมื่อ
เปลี่ยนมุมมองเปน Isometric View จะไดดังในรูป

กําหนดแรงกระทําดานขาง
 ไปที่หนา General > Load เลือกรายการ Load Cases Details คลิกปุม Add…

 สราง LOAD CASE 1 ตั้งชื่อวา Lateral Load คลิกปุม Add ตามดวย Close

 เลือกรายการ Load ที่สรางขึ้น คลิกปุม Add… เลือกรายการ Nodal Load | Node


• ใสคา Fx = 1.0 Mton คลิกปุม Add → โหนดที่ขอบ
• ใสคา Fx = 2.0 Mton คลิกปุม Add → โหนดภายใน

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 10


 เลือกรายการ Fx = 2.0 Mton เลือกมุมมอง View From + Z ใช Node Cursor ตี
กรอบเลือกดังในรูป

 ใช Assign To Selected Nodes คลิกปุม Assign ปรับสเกลขนาดลูกศร จะไดดังในรูป

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 11


 เลือกรายการ Fx = 1.0 Mton เลือกมุมมอง View From + Z ใช Node Cursor เลือก
โหนดที่มุมดังในรูป (ตีกรอบเลือก)

การคํานวณวิเคราะหโครงสราง
 ไปที่หนา Analysis/Print | Analysis เลือก Print Option = No Print คลิกปุม Add
ตามดวย Close
 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 12


พิจารณาผลการวิเคราะห
 เลือก Go to Post Processing Mode แลวคลิกปุม Done
 ไปหนา Node | Displacement ปรับสเกลใหเหมาะสมจะไดรูปแบบการโยกตัวทั้งอาคาร
ดังในรูป จะเห็นวาโครงชวงกลางอาคารมีการโยกตัวมากที่สุด

 เปลี่ยนมุมมองเปน View From + Y เลือกไอคอน Cut Section จากทูลบาร


ดานบน เลือกแถบ Select To View | Window / Rubber Band คลิก OK

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 13


 ตีกรอบรอบโครงบริเวณกลางอาคารซึ่งมีการโยกตัวมากที่สุด ดังในรูป

 เปลี่ยนมุมมองกลับมาที่ View From + Z คลิกขวาเลือก Labels แสดงหมายเลขโหนด ดู


ระยะเคลื่อนที่ของหมายเลขโหนดที่ยอดอาคารในแนวราบจากตารางดานขาง

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 14


 จากในรูปคา ΔTOP = 30.4 mm จะไดอัตราสวน Δ/H = 3.04/4,000 = 1/1,316 OK

 ไปที่หนา Beam | Forces เพื่อพิจารณาแรงเฉือนและโมเมนตดัดโดยคลิกไอคอน


และ ตามลําดับ

 สั่ง Cut Section อีกครั้ง เลือก Show All เพื่อใหกลับมาแสดงทั้งหมดเหมือนเดิม

 ลองสั่ง Cut Section เพื่อดู Displacement, Shear และ Bending Moment ในผนัง
เฉือนดูบาง

STAAD.Pro : Model Building with Shear Wall 10 - 15


11
การออกแบบผนังเฉือน

เนื้อหาในบทนี้
„ Surface & Plate Element

„ การสรางโมเดลอาคารที่มีผนังเฉือน

„ การคํานวณวิเคราะหโครงสราง

„ Shear Wall Design

„ ผลการออกแบบ

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 1


Surface & Plate Element

เพื่อที่จะสรางโมเดลของผนังและพื้นที่มีลักษณะซับซอนไดอยางรวดเร็วเราจะใช Surface ใน
ขั้นตอนของการสรางโมเดล Surface จะเปนทั้งหมดของสวนโครงสรางเชน ผนัง, แผนพื้น หรือ
พื้นสะพาน แตในขั้นตอนการวิเคราะห Surface จะตองถูกแตกออกเปน Plate เสียกอน

manual or auto

opening meshing opening

Surface element Plate elements

Plate Element: or

4-noded plate 3-noded plate


(Quadrilateral) (Triangular)

ดังนั้นความแตกตางระหวาง Surface และ Plate ก็คือ Plate มีไดสองแบบคือแผนสามเหลี่ยม


และสี่เหลี่ยม สวน Surface จะเปนแผนรูปทรงอะไรหรือมีรูเปดก็ได แตตองแตกเปน Plate ยอย
กอนทําการวิเคราะห

การสรางโมเดลอาคารที่มีผนังเฉือน

„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Space ตั้งชื่อวา ShearWall.std

„ เลือกหนวยความยาว Meter หนวยแรง Kilogram

„ เริ่มตนสรางโมเดล เลือกระนาบ Y-Z และมุมมอง View From -X

„ วาดโครงสรางดังในรูป

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 2


„ เปลี่ยนมุมมองเปน Isometric View กด Ctrl + A เลือกทุกองคอาคาร

„ สั่ง Translational Repeat โดยคลิกไอคอน ใสคาตามในรูป แลวกด OK

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 3


„ สรางแผนพื้นหนึ่งแผน คลิกไอคอน Add 4-Noded Plates แลวคลิกที่โหนดมุมของ
แผนดัง ใหคลิกวนทวนเข็มนาฬิกา

„ ใช Plate Cursor เลือกแผนที่สรางขึ้น กด Ctrl + C แลว Ctrl + V กําหนดตําแหนง


ที่จะทําซ้ําหรือใชจุดอางอิง สรางพื้นจนครบทั้งหมด

„ ใช Plates Cursor เลือกแผนพื้นทั้งหมด โดยกด Ctrl + A

„ เลือกเมนู Geometry > Generate Plate Mesh ใสคาดังในรูป

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 4


„ เลือก Quadrilateral Meshing ดังในรูป แลวคลิกเอา Fill Plates ออกก็ได

„ ไปที่หนา General > Support ใส Fixed ใหทุกจุดรองงรับ

„ คลิกเลือกองคอาคารดังแสดงในรูป

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 5


„ เลือกเมนู View > View Selected Objects Only เพื่อใหแสดงเฉพาะโครงที่เราเลือก

„ คลิกไอคอน Add Surface บนทูลบาร สังเกตเคอรเซอรจะเปลี่ยนไป

„ คลิกตามโหนดรอบแผนทวนเข็มนาฬิกา

„ จุดรองรับสําหรับผนังเฉือนแผนลาง ใหสังเกตหมายเลขโหนดที่จุดรองรับ

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 6


Surface จะถูกแตกออกเปน Plate ในขณะทําการวิเคราะห เรา
ตองการกําหนดจุดรองรับผนังที่โหนดที่ถูกสรางขึ้นมาใหมซึ่งจะ
อยู ร ะหว า งโหนด 4 และ 6 ทํ า ได โ ดยพิ ม พ คํ า สั่ ง SUPPORT
GENERATE

คําสั่งที่ใชคือ :
SUPPORTS
1 4 6 10 13 15 FIXED
SUPPORTS
4 TO 6 GENERATE FIX

„ คลิกเลือก Surface ทั้งสอง โดยกดปุม Ctrl คางแลวคลิกเลือก

„ เลือกเมนู Commands | Surface Thickness ใสความหนา 0.3 m กําหนดวัสดุเปน


CONCRETE คลิกปุม Assign ตามดวย Close

„ ไปหนา General > Property คลิกปุม Define… เลือก Rectangle กําหนดคา


YD = 0.3 m, ZD = 0.3 m กําหนดเปนหนาตัดเสา
YD = 0.6 m, ZD = 0.3 m กําหนดเปนหนาตัดคาน
Material เลือก CONCRETE

„ คลิกปุม Thickness… กําหนด Plate Thickness = 0.2 m กําหนดใหพื้น

„ ถาทําไดควรลบเสาและคานที่อยูรอบผนัง เพื่อใหตรงกับความเปนจริงมากขึ้น

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 7


„ ตรวจสอบการกําหนดโดยใช 3D Rendered View

„ เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Meter และหนวยแรงเปน Kilogram

„ ไปที่หนา General > Load สรางกรณีบรรทุกที่ 1 : FLOOR LOAD

„ สรางน้ําหนัก Selfweight, Direction = Y, Factor = -1

„ ใสน้ําหนักลงแผนพื้น เลือกรายการ Plate Loads > Pressure on Full Plate ใสคาตาม


ในรูป แลวคลิกปุม Add

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 8


„ กําหนดใหแผนพื้นทั้งหมดโดยเปลี่ยนมุมมอง View From
+Z กดปุม Ctrl คางไวแลวใช Plate Cursor ตีกรอบเลือก
พื้นทั้งสองชั้น แลวใชวิธี Assign To Selected Plates

„ สรางกรณีบรรทุกที่ 2 : WIND LOAD

„ แรงลมกระทําในแนวแกน Z ใช Nodal Load > Node ใส


คา Fz = -500 kg สําหรับจุดตอ ชั้นบน และใสคา Fz = -
1000 kg สําหรับชั้นลางดังในรูป

„ สรางน้ําหนัก Load Combination กรณี 3 = 0.9 × Load 1 และ 1.3 × Load 2

„ ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option ที่ตองการ แลวกดปุม Add

„ ลองสั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis…

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 9


Shear Wall Design

„ เลือกเมนู Commands > Loading > Load List เพื่อกําหนดกรณีบรรทุกที่จะใชในการ


ออกแบบ ใหเลือก Load 1 และ Load 3 แลวกด OK

„ ไปที่หนา Design > Shearwall เลือกมาตรฐานเปน ACI

„ เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Centimeter หนวยแรงเปน Kilogram

„ คลิกปุม Define Parameters… เพื่อกําหนดคาพารามิเตอรในการออกแบบ

„ เลือกรายการ FC กําลังอัดประลัยคอนกรีต ใสคา 240 kg/cm2 กดปุม Add

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 10


„ เลือกรายการ FYMAIN กําลังครากเหล็กเสริมหลัก ใสคา 4000 kg/cm2 กดปุม Add

„ เลือกรายการ TWOLAYERED เลือก (1) Double layered กดปุม Add ตามดวย Close

„ กําหนดพารามิเตอรที่ตั้งไวใหกับ Surface ผนังทั้งสองแผน โดยใช Assign To View

„ คลิกปุม Commands… หนาตาง DESIGN SHEARWALL แลวคลิกปุม Assign เพื่อ


กําหนดใหกับ Surface ที่ถูกเลือก

คําสั่งที่ใชคือ :
LOAD LIST 1 3
START SHEARWALL DESIGN
CODE ACI
FC 2.4e+006 LIST 1 2
FYMAIN 4e+007 LIST 1 2
TWO 1 LIST 1 2
DESIGN SHEARWALL LIST 1 2
END SHEARWALL DESIGN

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis…

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 11


ผลการออกแบบ (Output File)

==============================================================================

SHEARWALL NO. : 1 DESIGN CODE : ACI 318-02

WIDTH : 13.12 FT FC : 3.41 KSI


HEIGHT : 13.12 FT FY : 56.89 KSI
THICKNESS : 11.81 IN CONC. COVER : 3.000 IN

BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED


REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2)

==============================================================================
LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/
(FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO
HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO)
VERT./
EDGE REBAR
-----------------------------------------------------------------------------
1.31 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 7 - # 3/
1/ 0.00130 0.00078 0.770/ 0.00052
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00050)*
-----------------------------------------------------------------------------
2.62 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 7 - # 3/
1/ 0.00130 0.00078 0.770/ 0.00052
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00047)*
-----------------------------------------------------------------------------
3.94 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 7 - # 3/
1/ 0.00130 0.00078 0.770/ 0.00052
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00046)*
-----------------------------------------------------------------------------
5.25 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 6 - # 3/
1/ 0.00130 0.00078 0.660/ 0.00044
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00044)*
-----------------------------------------------------------------------------
6.56 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 6 - # 3/
1/ 0.00130 0.00078 0.660/ 0.00044
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00043)*
-----------------------------------------------------------------------------
7.87 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 6 - # 3/
1/ 0.00130 0.00078 0.660/ 0.00044
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00042)*
-----------------------------------------------------------------------------
9.19 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 2 - # 5/
1/ 0.00130 0.00078 0.620/ 0.00042
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00041)*
-----------------------------------------------------------------------------
10.50 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 3 - # 4/
1/ 0.00130 0.00078 0.600/ 0.00040
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00040)*
-----------------------------------------------------------------------------
11.81 1/ # 4 @ 13.00/ # 3 @ 12.00/ 6 - # 3/
1/ 0.00130 0.00078 0.660/ 0.00044
3 ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00043)*
-----------------------------------------------------------------------------
NOTE :
ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE.
NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 2
HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER.
REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50.
CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE.
*) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3.
==============================================================================

STAAD.Pro : Shear Wall Design 11 - 12


12
Shear Wall with Opening
เราสามารถสร า งโมเดลและออกแบบผนั ง เฉื อ นที่ มี ช อ งเป ด สี่ เ หลี่ ย มโดยใช Customizable
Construction Gridlines การออกแบบสวนตางๆของผนังเปนไปตามมาตรฐาน ACI 318-02
สําหรับผนัง เสา และคานตามความเหมาะสม

„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Space ตั้งชื่อวา WallOpen.std

„ เลือกหนวยความยาว Meter หนวยแรง Metric Ton

„ เริ่มตนสรางโมเดล เลือกระนาบ X-Y และมุมมอง View From +Z

„ วาดคานเปนโครงสรางดังในรูป

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 1


„ คลิกไอคอน Add Surface บนทูลบาร สังเกตเคอรเซอรจะเปลี่ยนไป

„ คลิกตามโหนดรอบแผนทวนเข็มนาฬิกา

„ จากนั้นใช Beam Cursor เลือกคานทั้งหมดแลวลบออก ก็จะเหลือแต Surface ในโมเดล

คําสั่งที่ใชคือ :
JOINT COORDINATES
1 0 0 0; 2 0 10 0; 3 10 10 0; 4 10 0 0;
SURFACE INCIDENCE
1 4 3 2 SURFACE 1

„ คลิกเลือก Surface

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 2


„ เลือกเมนู Commands | Surface Thickness ใสความหนา 0.2 m กําหนดวัสดุเปน
CONCRETE คลิกปุม Assign แลว Close

Add Surface Opening

„ ขณะที่ยังเลือก Surface อยู คลิกไอคอน Add Surface Opening บนทูลบาร

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 3


„ วาดชองเปดลงในผนังเฉือนดังในรูป

„ กําหนดจุดรองรับ Fixed แบบตอเนื่องใหโหนดที่มุมลางทั้งสองของผนังโดยพิมพคําสั่ง


SUPPORTS
1 TO 4 GENERATE FIXED

„ ไปที่หนา General > Load สรางกรณีบรรทุกที่ 1 : GRAVITY LOAD

„ สรางน้ําหนัก Selfweight, Direction = Y, Factor = -1

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 4


„ เลือกรายการ Surface Loads | Concentrated Load ใสคาน้ําหนักบรรทุกที่กระทําลงมา
จากผนังและพื้นชั้นบนตามในรูป แลวคลิกปุม Add

„ เปลี่ยนคา X เพิ่มขึ้นทีละ 1 m จนถึง 10 m คลิกปุม Add ทุกครั้งที่เปลี่ยนคา

„ กําหนดรายการน้ําหนักทั้งหมดใหผนัง จะมีลักษณะดังรูป

„ สรางกรณีบรรทุกที่ 2 : WIND LOAD IN Z-DIR

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 5


„ เลือกรายการน้ําหนัก Surface Loads | Pressure on Full Surface ใสคาดังในรูป

„ คลิกปุม Add ตามดวย Close จากนั้นกําหนดน้ําหนักใหผนัง

„ สราง Combination Load 3 = 1.3 × Load 1 + 0.75 × Load 2

„ ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option ที่ตองการ แลวกดปุม Add

„ ลองสั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis…

Shear Wall Design

„ เลือกเมนู Commands > Loading > Load List เพื่อกําหนดกรณีบรรทุกที่จะใชในการ


ออกแบบ ใหเลือก Load 1 และ Load 3 แลวกด OK
„ ไปที่หนา Design > Shearwall เลือกมาตรฐานเปน ACI

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 6


เราจะแบงผนังออกตามองคอาคารที่จะออกแบบ (ผนัง เสา และคาน) เพื่อบอกโปรแกรมวาจะใช
เงื่อนไขใดในการออกแบบ

„ ใชเคอรเซอร Surface เลือกผนัง คลิกปุม Create Panel ในหนาตาง Shearwall Panels


ที่มุมขวาบนของหนาจอ

เสนกริดจะแสดงขึ้นมาใหเรากําหนดแบงผนังออกเปนๆเรียกวา Panel เปนชนิดผนัง เสา หรือคาน

„ คลิกที่มุมทั้งสี่ของ Panel ที่ตองการจะแบงวนตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬิกา ดังในรูป

„ หนาตางเลือกชนิด คาน เสา ผนัง แสดงขึ้นมาใหเลือก

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 7


เมื่อเลือกเสร็จแลว Panel ที่ถูกกําหนดจะถูกแรงเงาดังในรูป

„ กําหนด Panel อื่นดวยวิธีเดิมโดยเลือกชนิดตามความเหมาะสม ในตัวอยางนี้เรากําหนดให


เปน WALL เกือบหมด ยกเวนสวนที่อยูเหนือชองเปดกําหนดใหเปนคานดังในรูป

คําสั่งที่ใชคือ :
START PANEL DEFINITION
SURFACE 1 PANEL 1 WALL 0 4 0 10 4 0 10 0 0 0 0 0

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 8


SURFACE 1 PANEL 2 WALL 6 4 0 6 10 0 10 10 0 10 4 0
SURFACE 1 PANEL 3 WALL 0 4 0 0 10 0 3 10 0 3 4 0
SURFACE 1 PANEL 4 BEAM 3 8 0 3 10 0 6 10 0 6 8 0
END PANEL DEFINITION

การลบ Panel ที่กําหนดไว ทําไดโดยคลิกที่รายการ แลวกดปุม Delete Panel หรือเปลี่ยนชนิด


โดยกดปุม Change Property

โปรแกรมจะทําการวิเคราะหทั้งผนัง แตสําหรับการออกแบบจะทําแตละ Panel แยกกัน ดังนั้นจึง


ไมจําเปนตองกําหนด Panel จนครบทั้งผนัง อาจกําหนด Panel เฉพาะสวนที่ตองการจะ
ออกแบบก็ได

„ เปลี่ยนหนวยความยาวเปน Centimeter หนวยแรงเปน Kilogram

„ คลิกปุม Define Parameters… เพื่อกําหนดคาพารามิเตอรในการออกแบบ

„ เลือกรายการ FC กําลังอัดประลัยคอนกรีต ใสคา 280 kg/cm2 กดปุม Add

„ เลือกรายการ FYMAIN กําลังครากเหล็กเสริมหลัก ใสคา 4000 kg/cm2 กดปุม Add

„ เลือกรายการ TWOLAYERED เลือก (1) Double layered กดปุม Add ตามดวย Close

„ กําหนดพารามิเตอรที่ตั้งไวใหกับ Surface โดยใช Assign To View

„ คลิกปุม Commands… หนาตาง DESIGN SHEARWALL แลวคลิกปุม Assign เพื่อ


กําหนดใหกับ Surface ที่ถูกเลือก

คําสั่งที่ใชคือ :
LOAD LIST 1 3
START SHEARWALL DESIGN
CODE ACI
FC 240 LIST 1
FYMAIN 4000 LIST 1
TWO 1 LIST 1
DESIGN SHEARWALL ALL
END SHEARWALL DESIGN

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze > Run Analysis…

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 9


„ ผลการออกแบบผนังเฉือนในไฟลแสดงผล

=============================================================================

PANEL NO. 1 OF SHEARWALL 1 DESIGN PER ACI 318-02 - WALL

WIDTH : 32.81 FT FC : 3.98 KSI


HEIGHT : 13.12 FT FY : 56.89 KSI
THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN

STAAD SPACE -- PAGE NO. 3

REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2)


==============================================================================
LEVEL GOV.LOAD LEFT EDGE HORIZONTAL VERTICAL RIGHT EDGE
(FT) NO. FOR AREA AREA
L. E. R.
HOR. RATIO RATIO RATIO RATIO
VER.
R. E. R. (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO)
-----------------------------------------------------------------------------
1.31 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 3.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00466 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
2.62 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 3.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00466 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
3.94 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 4.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00349 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
5.25 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 4.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00349 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
6.56 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 7.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00200 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
7.87 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 7.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00200 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
9.19 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 7.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00200 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
10.50 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 7.00 0-# 0
1 0.220 0.000
3 0.00009 0.00127 0.00200 0.00000
0 ( 0.00001)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------
11.81 1 2-# 3 # 3 @ 11.00 # 3 @ 18.00 0-# 0
1 0.220 0.000
1 0.00009 0.00127 0.00078 0.00000
0 ( 0.00000)* ( 0.00250) ( 0.00150) ( 0.00000)
-----------------------------------------------------------------------------

********************END OF WALL PANEL DESIGN RESULTS********************

STAAD.Pro : Shear Wall with Opening 12 - 10


13
Footing Design

ในตัวอยางนี้จะแสดงการออกแบบฐานรากโดยใช STAAD.Pro ซึ่งผลของการออกแบบจะ


แสดงออกมาในไฟลขอความ

4m

4m

5m

5m

„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Space ตั้งชื่อวา FootDsgn

„ เลือกหนวยความยาว Meter หนวยแรง Metric Ton

„ สรางโมเดลโดยใช Open Structure Wizard เลือกชนิดโมเดล Frame Models


ดับเบิ้ลคลิก Bay Frame ใสขอมูลในการสราง

STAAD.Pro : Footing Design 13 - 1


„ เลือกเมนู File | Merge Model with STAAD.Pro Model

„ ไปหนา General | Property คลิกปุม Define… เลือกหนาตัด Rectangle :

หนาตัด: YD = 0.2 m, ZD = 0.2 m กําหนดใหเปนเสาทั้งหมด

หนาตัด: YD = 0.4 m, ZD = 0.2 m กําหนดใหเปนคานทั้งหมด

STAAD.Pro : Footing Design 13 - 2


„ ไปยังหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed แลวกําหนดใหโหนดที่
รองรับ

„ ไปที่หนา General | Load สรางกรณีบรรทุกที่ 1 : DEAD LOAD และ 2 : LIVE


LOAD

„ คลิกรายการ 1 : DEAD LOAD กดปุม Add… สรางน้ําหนักบรรทุก Selfweight


„ เลือก Member Load | Uniform Force: W1 = -0.6 Mton/m ทิศทาง GY
กําหนดใหทุกคาน

STAAD.Pro : Footing Design 13 - 3


„ เลือก Floor Load ใสคา -0.3 Mton/m2 ตามในรูปขางลาง

„ คลิกรายการ 2 : LIVE LOAD กดปุม Add… สรางน้ําหนักบรรทุก Floor Load ใส


คา -0.2 Mton/m2 ทิศทาง Global Y และ Y Range: 0 m Æ 8 m

„ เลือก Load Cases Details คลิกปุม Add… เลือก Define Combination

STAAD.Pro : Footing Design 13 - 4


„ ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option ที่ตองการ แลวกดปุม Add

„ ลองสั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis…

„ เลือกเมนู Commands | Loading | Load List… เลือก Load 3 : 1.4DL+1.7LL

„ ไปหนา Design | Footing คลิกปุม Define Parameters… กําหนดคาพารามิเตอรใน


การออกแบบฐานรากดังนี้
• BC : Soil bearing capacity = 8 Mton/m2

• DEPTH : Min. depth footing = 0.2 m

• FC : Compressive strength of concrete = 240 kg/cm2

• FY : Yield strength of steel = 4000 kg/cm2

• TRACK = (2) Numerical output sketch provided

„ ใช Assign To View สําหรับรายการพารามิเตอรที่มีเครื่องหมายคําถามอยูขางหนา

STAAD.Pro : Footing Design 13 - 5


„ คลิกปุม Commands… สรางคําสั่ง DESIGN FOOTING กําหนดใหจุดรองรับที่
ตองการออกแบบ

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis… เมื่อรันผาน ไปที่ไฟลแสดงผล

FOOTING AT SUPPORT: 8
-------------------------------------------------------
UNIT : KG CM
LOAD :
VERTICAL LOAD = P = 23817.0000
MOMENT IN X-DIR.= Hx x d + Mz = 40771.3594
MOMENT IN Z-DIR.= Hz x d + Mx = 40771.3594
DIMENSIONS :
COLUMN SIZE = cx x cz = 20.000 x 20.000
FOOTING AREA REQUIRED = 36100.00
SLAB SIZE = s1 x s2 = 190.000 x 190.000
DEPTH OF SLAB = sy = 24.100
EMBEDMENT DEPTH = 0.000
SOIL :
BEARING CAPACITY = 0.799
MAXIMUM BEARING PRESSURE = 0.731
REINFORCEMENT :
BOTTOM REINFORCEMENT: UNIT : MM
BAR DIA. OF SLAB REINFORCEMENT (MMS) = 16
REINFORCEMENT RATIO (X-DIR) = 0.00610
REINFORCEMENT RATIO (Z-DIR) = 0.00610
AREA OF STEEL REQD. IN X-DIR = 1268.93
NO. OF BARS IN X-DIR. = 8
SPACING OF BARS IN X-DIR. = 247.00
AREA OF STEEL REQD. IN Z-DIR = 1268.93
NO. OF BARS IN Z-DIR. = 8
SPACING OF BARS IN Z-DIR. = 247.00
DOWEL REINF. : BAR # 3 REQD. AREA= 200.0
NO. OF BARS PROVIDED=12 DEV.LENGTH= 170.7

STAAD.Pro : Footing Design 13 - 6


FOOTING W/O PEDESTAL :

|_> 20.00 CM
|_____|
|__-__|
| |
| |
| |
| |
| |
| |
| |
| |
|________________- _________________|_ _ _|
| | 24.10 CM
________________________________________-_ _ __
|_____________ 190.00 CM_____________|
ELEVATION
---------

========================================================================
|_______________________________________|_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ |
| | | | | |
| | | | | |
| |<|<|<_|__ 8-#16 @ 24.70 CM |
| | | | | |
| | | | | |
| | | | | |
| | | | | |
| |_____|_ _ __ __|_|_|__|_ _| 190.00 CM
| | | | | | | |
| | | | | | | 20.00 CM |
| ______-_ _ __ __|_|_|__|_ __ |
| | | | | |
| | | | | |
| | | | | |
| | |_|_|_ |__ 8-#16 @ 24.70 CM |
| _______________________________|_|_|_ | |
| _______________________________|_|_|_ | |
| _______________________________|_|_|_ | |
________________________________________-_ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _ _

PLAN
----
**** DESIGN SKETCHES ****

*****************END OF FOOTING DESIGN RESULTS*******************

STAAD.Pro : Footing Design 13 - 7


14
Circular RC Roof Design

ในตัวอยางนี้จะแสดงการออกแบบหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็กรูปวงกลม

„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Space ตั้งชื่อวา CircularRoof

„ เลือกหนวยความยาว Meter หนวยแรงเปน Kilogram คลิกปุม Next

„ เลือก Add Beam คลิกปุม Finish

„ คลิกปุม View From +Z

„ คลิกปุม Snap Node/Beam สรางโมเดลในระนาบ X-Y ดังแสดงในรูป

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 1


„ ไปหนา General | Load เลือกรายการ Load Cases Details สรางกรณีบรรทุก L1 :
DEAD LOAD และ L2 : LIVE LOAD

„ คลิกรายการ 1 : DEAD LOAD กดปุม Add… สรางน้ําหนักบรรทุก Selfweight

„ เลือก Member Load | Trapezoidal ใสคาดังในรูป คลิกปุม Add

„ ใสคา W1 = -92 kg/m และ W2 = -54 kg/m แลวคลิกปุม Add ตามดวย Close

„ กําหนดแตละรายการน้ําหนักใหองคอาคารทั้งสองดังในรูป

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 2


„ คลิกรายการ 2 : LIVE LOAD กดปุม Add… สรางน้ําหนักบรรทุก Member Load
| Trapezoidal ใสคา :

• W1 = -162 kg/m, W2 = -45 kg/m กําหนดใหองคอาคาร 2


• W1 = -275 kg/m, W2 = -162 kg/m กําหนดใหองคอาคาร 1

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 3


„ ไปหนา General | Support สรางจุดรองรับแบบ Fixed กําหนดใหที่โหนดดังในรูป

„ ใช Beam Cursor เลือกองคอาคารทั้งสอง แลวสั่ง Circular Repeat ใสคาตาม


ในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 4


„ ไปหนา General | Property คลิกปุม Define… เลือกหนาตัด Rectangle : YD =
0.4 m, ZD = 0.4 m กําหนดใหทุกองคอาคาร

„ ไปหนา General | Load คลิกดูน้ําหนักบรรทุกจะแสดงดังในรูป

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 5


„ เลือก Load Cases Details คลิกปุม Add… เลือก Define Combination สราง
• Load 3 : DL + LL สําหรับตรวจสอบการยุบตัวของหลังคา
• Load 4 : 1.4DL + 1.7LL สําหรับการออกแบบองคอาคาร

„ ไปที่หนา Analysis/Print เลือก Print Option ที่ตองการ แลวกดปุม Add

„ ลองสั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis…

„ เมื่อรันผาน ใหเขาโหมด Post-processing เลือก Load 3 : DL+LL

„ ดูคาการยุบตัวของหลังคาของโหนดบนสุด ดังในรูป

„ กลับมาที่โหมด Modeling

„ เลือกเมนู Commands | Loading | Load List… เลือก Load 4 : 1.4DL+1.7LL

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 6


„ ไปหนา Design | Concrete คลิกปุม Define Parameters… กําหนดคาพารามิเตอร
ในการออกแบบองคอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กดังนี้
• FC : Compressive strength of concrete = 240 kg/cm2

• FYMAIN : Yield strength of main steel = 4000 kg/cm2

• MAXMAIN : Max. main bar size = 25

• TRACK = (1) Intermediate level detail

„ ใช Assign To View สําหรับรายการพารามิเตอรที่มีเครื่องหมายคําถามอยูขางหนา

„ คลิกปุม Commands… สรางคําสั่ง DESIGN COLUMN กําหนดใหองคอาคารดัง


ในรูป

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis… เมื่อรันผาน เลือกไปดูผลการออกแบบ


ไปที่ไฟลแสดงผล

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 7


„ จากผลการออกแบบจะพบขอความ ONLY MINIMUM STEEL IS REQUIRED
แสดงวาหนาตัดที่เราใชยังสามารถลดขนาดลงไดอีก

„ กลับมาที่โหมด Modeling ไปหนา General | Property ดับเบิ้ลคลิกที่รายการหนาตัด


แลวเปลี่ยนเปน

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis… เมื่อรันผาน เลือกไปดูผลการออกแบบ


ไปที่ไฟลแสดงผล

„ ถายังไมพอใจก็ลดขนาดลงอีกเปน 20 cm x 20 cm สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run


Analysis… เมื่อรันผาน เลือกไปดูผลการออกแบบไปที่ไฟลแสดงผล

====================================================================

COLUMN NO. 6 DESIGN PER ACI 318-02 - AXIAL + BENDING

FY - 392.3 FC - 23.5 MPA, SQRE SIZE - 200.0 X 200.0 MMS, TIED


AREA OF STEEL REQUIRED = 1016.0 SQ. MM

BAR CONFIGURATION REINF PCT. LOAD LOCATION PHI


----------------------------------------------------------

4 - 20 MM 3.142 4 STA 0.650


(PROVIDE EQUAL NUMBER OF BARS ON EACH FACE)
TIE BAR NUMBER 12 SPACING 192.00 MM

COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Z -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------
P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
1268.02 1014.42 232.81 40.50 174.0
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
30.21 -492.94 127.34 29.76 0.03305
--------------------------------------------------------

COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Y -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 8


P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
1268.02 1014.42 232.81 40.50 174.0
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
30.21 -492.94 127.34 0.00 0.00000
--------------------------------------------------------

„ เขาโหมด Post-processing เลือก Load 3 : DL+LL

„ ดูคาการยุบตัวของหลังคาของโหนดบนสุด ดังในรูป

STAAD.Pro : Circular RC Roof Design 14 - 9


15
Elevated RC Tank

ในบทนี้จะกลาวถึงการสรางโมเดล การวิเคราะห และการออกแบบหอถังน้ําคอนกรีตเสริม


เหล็กมีเสารองรับหกตนดังในรูป
8m

4m

20 m

„ เริ่มตนโปรแกรม เลือกชนิดโครงสราง Space ตั้งชื่อวา RCTank

„ เลือกหนวยความยาว Meter หนวยแรงเปน Metric Ton คลิกปุม Next

„ เลือก Add Beam คลิกปุม Finish

„ คลิกปุม View From +Z เลือกระนาบ X-Y ในหนาตาง Snap Node/Beam

„ ในการสรางโมเดลจะเริ่มสรางโครงรูปรางขึ้นมากอนแลวใสการทํา Circular Repeat


ทําซ้ํ า แบบวงรอบจนได ถังน้ํ า ทรงกลม ดั งนั้น จึงต องกํ า หนดพิกั ด และแกนหมุ น ให ดี
เสียกอนดังในรูปขางลาง
STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 1
1m
1m

4m
2m
1m (X=2,Y=20)

Rotation Axis:
X = 8, Z = 0
20 m

8m X-Y Plane (Z = 0)

Origin : (X=0,Y=0)

แรงดันน้ําบนผนังถังน้ํา
เพื่อความสะดวกในการวิเคราะหและออกแบบเราจะสรางและวิเคราะหโครงสรางไปทีละสวน
เริ่มจะผนังดานขางของถังน้ําซึ่งจะรับแรงดันน้ําดานขาง
„ ในหนาตาง Snap Node/Beam ปรับคาแลววาดคานดังในรูป

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 2


„ แบงคาน 2 ออกเปน 2 สวน และแบงคาน 3 ออกเปน 3 สวนดังในรูป โดยใช Insert
Node

„ เลือกคานทั้งหมด คลิกไอคอน Circular Repeat ใสคาดังในรูป

โมเดลที่สรางขึ้นเปนโครงเสนเทานั้น เราตองใสเปนแผน (Plate member) ลงไปในแตละ


ชองซึ่งจะเสียเวลามาก เพื่อความสะดวกจะลองใชการใสองคอาคารแผนอัตโนมัติโดยการใช
Infill Plate

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 3


„ เลือกคานทั้งหมด คลิกไอคอน Create Infill Plate บนทูลบาร โปรแกรมจะสราง
แผนทุกแผนโดยใชคานทุกคานเปนขอบ

„ คลิกขวา เลือกรายการ Structure Diagrams… คลิก Fill Plates

จะเห็นวาบางแผนมีสีตางกัน แสดงถึงทิศทางของแผนที่ตางกัน ทําใหอาจมีผลเสียในการแสดง


คาและการพิจารณาออกแบบในชวงตอไป

„ กด Ctrl+Z เพื่อ Undo หรือยอนกลับมาเรื่อยๆจนถึงกอนทํา Circular Repeat หรือ


ถาไมไดก็วาดขึ้นมาใหม

„ เลือกคานทั้งหมด คลิกไอคอน Circular Repeat ใสคาดังในรูป

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 4


„ เลือกคานทั้งหมด คลิกไอคอน Create Infill Plate บนทูลบาร

„ คลิกขวา เลือกรายการ Structure Diagrams… คลิก Fill Plates

„ ตรวจสอบวาทุกแผนมีสีเดียวกัน ใช Beam Cursor เลือกคานทั้งหมดเพื่อลบออก

„ ไปหนา General กําหนดความหนาทุกแผนเทากับ 20 cm แลวใส Fixed Support ที่


โหนดดานลางดังในรูป

„ ไปหนา Load สรางกรณีบรรทุก 1 : Water PressureGeneral คลิกปุม Add.. เลือก


รายการ Plate Loads | Hydrostatic คลิกปุม Select Plate(s) เลือกผนังขางแผนบน

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 5


„ ใสคาตามในรูปขางลาง ใสคา W1 = -2 Mton/m2 และ W2 = 0 Mton/m2

„ ใสคาน้ําหนัก Hydrostatic กับแผนถัดลงมาอีกสองแผน ใสคาแรงดันคือ


• W1 = -4 Mton/m2 W2 = -2 Mton/m2
• W1 = -5 Mton/m2 W2 = -4 Mton/m2

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 6


„ ใช Plate Cursor เลือกแผนทั้งหมด คลิกไอคอน Circular Repeat ใสคา

„ จะเห็นวาแรงดันน้ําที่สรางขึ้นจะเปลี่ยนทิศไปตามแผน ตามทิศทางที่เลือกคือ Local Z

ยอนกลับโดยกด Ctrl+Z แลวสั่ง Circular Repeat ใสคา

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 7


„ ไปหนา Analysis/Print เลือก Print Option = No Print

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis…

„ เมื่อรันผาน เขาสูโหมด Post-processing ไปหนา Plate | Contour เลือกชนิดหนวย


แรง Max Absolute บางครั้งการกระจายหนวยแรงจะแสดงอยูภายในถังน้ําเนื่องจากทิศ
ของแผน(สีเขียว)ทําใหมองไดยาก

„ เปลี่ยนมุมมอง View From +Y ใช Plate Cursor ตีกรอบเลือกครึ่งหนึ่งของถังน้ําดัง


ในรูป

„ คลิกไอคอน Cut Section เลือกแถบ Select to View เลือกรายการ View


Highlighted Only ดังในรูป

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 8


„ เปลี่ยนมุมมอง View From +Z ใช Plate Cursor เลือกสวนของถังน้ําดังในรูป

„ สั่ง Cut Section เลือก Select to View | View Highlighted Only อีกครั้ง

„ เมื่อดูเสร็จแลว ใหสั่ง Cut Section คลิกปุม Show All ใหแสดงโมเดลทั้งหมด


กลับคืนมา

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 9


3 พื้นถังน้ํา
เราจะสรางพื้นถังน้ําเปน Surface Element แลวคอยแตกเปน Plate Element พื้นถังน้ําจะ
รับน้ําหนักแรงดันน้ํา จุดรองรับจะเปนเสาหกตนซึ่งมีคานเชื่อมรองรับอยูดานลาง
„ กลับมาโหมด Modeling เปลี่ยนมุมมองเปน View From +Z
„ ใชโหนดเคอรเซอรตีกรอบเลือกจุดรองรับทั้งหมด

„ สั่ง Cut Section เลือก Select to View | View Highlighted Only

„ เปลี่ยนมุมมองเปน View From +Y คลิกไอคอน สังเกตเคอรเซอรจะเปลี่ยนเปน

รูป คลิกตามโหนดที่เปนจุดรองรับทั้งหมด

„ เมื่อคลิกจนครบรอบแลวหนาตาง Define Mesh Region จะแสดงขึ้นมา ใหเปลี่ยน


จํานวนชองในการแบง Div. = 1 ใหหมดเพื่อความเร็วในการคํานวณ ดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 10


„ ไปหนา Support ลบจุดรองรับออกสองจุดเวนหนึ่งจุด จนเหลือจุดรองรับหกจุด โดยอาจ
คลิกรายการ Fixed Support แลวแกรายการหมายเลขโหนดเอา

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 11


 ไปที่หนา General | Property กําหนดความหนาพื้น คลิกปุม Thickness… เลือก
Plate/Surface Thickness ใสความหนา 0.3 m, Material = Concrete คลิกปุม
Add ตามดวย Close

 กําหนดความหนาใหทุกแผนโดยใช Assign To View คลิกปุม Assign

 ไปหนา Load สรางกรณีบรรทุก 2 : PLATE LOAD คลิกปุม Add.. เลือก


Selfweight

 คลิกปุม Add.. เลือกรายการ Plate Loads | Pressure on Full Plate ใสคาดังในรูป

 คลิกปุม Add ตามดวย Close กําหนดใหทุกแผนโดยใช Assign To View

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 12


 เลือกเมนู Analyze | Run Analysis… คลิกปุม Run Analysis

 เขาสูโหมด Post-processing โดยเลือกกรณีบรรทุก 2 : PLATE LOAD

 ไปหนา Plate | Contour เพื่อดูลักษณะการกระจายหนวยแรงดังในรูปขางลาง

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 13


ออกแบบเสาถังน้ํา
ขั้นตอมาคือการออกแบบเสารองรับถังน้ําซึ่งไมยากเทาไหรเพราะเราไดกําหนดน้ําหนักบรรทุก
มาแลวดังนั้นจึงแคสรางโมเดลเพิ่มเติมขึ้นแลวใชคําสั่งออกแบบไดเลย
1m
1m

4m
2m
1m (X=2,Y=20)

Rotation Axis:
X = 8, Z = 0
20 m

8m X-Y Plane (Z = 0)

Origin : (X=0,Y=0)

ยอนกลับไปตอนที่เราเริ่มสรางโมเดลถังน้ําขางบน โหนดเริ่มตนหมายเลข 1 อยูที่พิกัด (X=2,


Y=20, Z=0) เราจะสรางเสาตนแรกจากจุดนี้ โดยลากลงมายังจุด (X=0, Y=0, Z=0) แลว
แบงออกเปนสามสวน จากนั้นใชการทําซ้ําแบบวงรอบ (Circular Repeat) ทําเพิ่มอีกหาตน
„ กลับมาในโหมด Modeling ไปยังหนา Geometry | Beam
„ เปลี่ยนมุมมองเปน View From +Z คลิกไอคอน Snap Node/Beam บนทูลบาร
„ กําหนดคาในหนาตาง Snap Node/Beam ดังในรูป

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 14


„ คลิกปุม Snap Node/Beam แลวลากเสนจากพิกัด (X=2, Y=20) เราจะสรางเสาตนแรก
จากจุดนี้ โดยลากลงมายังจุด (X=0, Y=0)
„ ไปหนา Property คลิกปุม Define… เลือกหนาตัด Rectangle : YD = 1.0 m, ZD =
0.5 m, Material = Concrete กําหนดใหเสา

„ คลิกเลือกเสา แลวคลิกไอคอน Insert Node แบงออกเปนสามสวนเทาๆกัน

„ คลิกไอคอน Circular Repeat กําหนดคาดังนี้

„ คลิกไอคอน 3D Rendering เพื่อดูรูปสามมิติ

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 15


„ จะเห็นวาสวนที่เปน Link หรือคานเชื่อมระหวางเสายังไมมีคุณสมบัติ ใหสรางหนาตัด
YD = 0.4 m, ZD = 0.4 m กําหนดใหคานเชื่อมทั้งหมดใหครบ โดยใชการตรวจสอบใน
หนาตาง Beam ชวย

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 16


„ ไปที่หนา Support เพื่อยายจุดรองรับ โดยลบของเดิมแลวมากําหนดใหรองรับปลายลาง
ของเสา อาจใชวิธีดูหมายเลขโหนดที่ปลายลางเสาแลวมาพิมพใน Edit List ดังในรูป

„ ไปที่หนา Load สรางกรณีบรรทุก 3 : Design Load โดยเลือกเปน Repeat Load ของ


L2 : PLATE LOAD คูณดวย 1.4 เพื่อใชเปนน้ําหนักบรรทุกในการออกแบบเสา

„ เลือกเมนู Commands | Loading | Load List… เลือก L3 : DESIGN LOAD

„ ไปหนา Design | Concrete คลิกปุม Define Parameters… กําหนดคาดังนี้

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 17


• FC : Compressive strength of concrete = 240 kg/cm2
• FYMAIN : Yield strength of steel = 4000 kg/cm2
• MAXMAIN : Max. main reinforcement bar = 25
• TRACK = (2)

„ ใชมุมมอง View From +Z กําหนดพารามิเตอรใหเสาดังในรูป

„ คลิกปุม Commands… เลือก DESIGN COLUMN กําหนดใหเสาตนเดิม

„ สั่งรันการคํานวณ Analyze | Run Analysis…

„ ดูผลการออกแบบเสาในไฟลแสดงผล

====================================================================

COLUMN NO. 220 DESIGN PER ACI 318-02 - AXIAL + BENDING

FY - 392.3 FC - 23.5 MPA, RECT SIZE - 500.0 X1000.0 MMS, TIED


ONLY MINIMUM STEEL IS REQUIRED.
AREA OF STEEL REQUIRED = 5000.0 SQ. MM

BAR CONFIGURATION REINF PCT. LOAD LOCATION PHI


----------------------------------------------------------

16 - 20 MM 1.005 3 END 0.650


(PROVIDE EQUAL NUMBER OF BARS ON EACH FACE)
TIE BAR NUMBER 12 SPACING 320.00 MM

COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Z -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------
P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
11873.98 9499.18 4985.21 1856.49 372.4
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
894.58 -1971.75 3754.47 2.55 0.00010
--------------------------------------------------------

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 18


COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Y -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------
P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
11873.98 9499.18 4685.67 891.33 190.2
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
420.44 -1971.75 3754.47 0.28 0.00001
--------------------------------------------------------
Pn Mn Pn Mn (@ Z )
| 8768.48 1188.49 4384.24 1846.57
P0 |* 8037.77 1380.66 3653.53 1806.42
| * 7307.06 1538.35 2922.83 1712.13
Pn,max|__* 6576.36 1662.60 2192.12 1581.94
| * 5845.65 1762.87 1461.41 1398.27
Pn | * 5114.94 1843.74 730.71 1177.25
NOMINAL| * Pn Mn Pn Mn (@ Y )
AXIAL| * 8768.48 576.46 4384.24 887.07
COMPRESSION| * 8037.77 665.68 3653.53 865.86
Pb|-------*Mb 7307.06 738.28 2922.83 822.59
| * 6576.36 796.00 2192.12 758.59
___________|____*_______ 5845.65 840.33 1461.41 666.67
| * M0 Mn, 5114.94 874.79 730.71 554.28
| * BENDING
P-tens|* MOMENT
|

********************END OF COLUMN DESIGN RESULTS********************

STAAD.Pro : Elevated RC Tank 15 - 19


1
UBC 1985 Seismic Load

 


   ก  


ก !" # 


 $ UBC 1995 &'!
 ก !  ก(    ก)* 
+   !,) *  -  ก .
ก/ก) 0..) 49 ก*1!!" # ก
กก
,

 
2!ก
,ก  Space  UBC1985.std

 ,ก
 Meter ! Metric Ton !,, ก234
Next >

 ,ก Open Structure Wizard !,, ก234


Finish

   StWizard )!+'


,ก 25 Frame Models !,.. ,
, ก# Bay Frame +
,6 2

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-1


  Property ,ก ก  South Korean  W300X300X87
25
 !, W400X300X94
25  7,ก!,ก2,
3

 กก*
  ก.) ก

 ก*3.25!.. FIXED : #2) Support 3.!.. FIXED


!,ก* !ก$)3ก 

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-2


 #2) Load ,กก Definitions | Seismic Definitions !,, ก234

Add…

   Seismic Definitions )!+'


 ,ก
 $ UBC 1985 !,ก*
6
  8

 Uniform Building Code 1985



,ก*1 ก.ก/ก)0..) 49 (6.:. 2540) 25กก!.. 7
! ).) (Equivalent Static Force) &' #ก.)
2)

 
!,
*
) !0)$ V (Base Shear) *1#ก

V = Z I K C SW

 
         Z (Seismic Zone Factor) !'  
3  !
!" #!. 
&

Zone 1 2A 2B 3 4

Z 0.075 0.15 0.20 0.30 0.40

*.2):#) ก/ก)0..) 49 (6.:. 2540) ก*   Z = 0.38 *.6)


+ )
 
 !"  ## !ก ก-.3      
 ก    6 !6
!
; ,*2 !,,*6 กก
!")
!" #&'กก

)6ก71

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-3


 
     K (Horizontal Force Factor) +'ก.,ก<1
 6 16= ก
ก.!ก  , ก !,

 ก,
6,กก#+
!  +,

  !    K

(1) &'#.กก!.. ก*!6.!0 (Shear Wall)


1.33
!ก! (Braced Frame) .!)
 !.

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-4


(2)   &' #  . กก!..   +  !+(  &' 
  
  
0.67
(Ductile Moment – resisting Space Frame) .!)
 !.

(3) ก&'#.กก!.. +!+(&'




ก.
ก*!6.!0ก!ก! ! !.
+ก*
ก*1ก!..
(ก) +!+(&'

 
 ! !.##
ก
, 25 +! !.)

(+) ก*!6.!0!ก!
!ก25 ก+!+( &' 0.80


 
 ! !.#)

() +!+(&'


ก.ก*!6.!0!ก!

  ! !.# ) 
 +!)ก)*   
  !  , ..   25 #2 
  
   (Rigidity)
*''ก)+!)

 "#ก%&'ก ก! I (Importance Factor)  16


!0)$


*-+

!   I

(1) )*25 


25+71  6.,
1.50
.6,  : :.)71@25 

(2) )25)3
3
' 8 #
กก 300  1.25

(3)  8 1.00

 
   ! C !'",+.7
 + *1#ก
 
1
C = ≤ 0.12
15 T

T .7
 + STAAD.Pro *1 T !,*1 C  
'#
  

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-5


 
   ก
 (%&  ! )  S (Site Period)


,ก<1++  + S

(1)   1.0

(2)  !+( 1.2

(3)   1.5

  6
    Seismic Parameters 
2+,

 
, ก234
Add ก   Load ก,25

   
 Self Weight !+'
 , ก234
Add 
 Close

Self Weight 
'*ก+  &'2ก 
!,

Joint Weights 25*กก)*253)3 '3,3

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-6


Member Weights
*กก)*253!,!..ก. 
, ก)ก  )!
+' 
25     2 +  ,   ,  ก *   ก Concentrated   Uniform ก  
Loading Type !, *ก.)3ก

Element Weights

,
!"6 !.!"6ก*
  ก*1!!" #
&'
)*#  Element Weights  6
 )  +!!, 
)กก)*

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-7


Floor Weights
,ก1 " #

6 
, 
,
!   !,
' ก 
ก. Floor Load  2+,

 ,กก Load Cases Details , ก234


Add…   Primary ,ก Load
Type = Seismic 2,25 LOAD CASE 1 ก(# !,, ก234
Add

  LOAD CASE 2 ,ก<1ก ก   Load 6


+'25

 , ก,ก LOAD CASE 1 !,, ก234


Add…

   Add New : Load Item ,กก Seismic Loads 6ก*) :)
!,! ก  2

 , ก,ก X Direction !,  Factor = 0.75 !,, ก234


Add

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-8


 *. LOAD CASE 2 ,ก Z Direction !, Factor = 0.75 , ก234
Add

 ! , LOAD CASE  *ก !    *ก 
ก ก !.. P-Delta #2' 
)* ก !.!,
!  ก1   ก    , ก ) ก!  ,  LOAD CASE !,  , ก SELF
WEIGHT Y -1 ก6
25

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1-9


  
6
ก Floor Load &' 25 *   ก .)3 ก ) +6     0.8
MTon/m2 , )ก1.)3ก

*)ก+'
 :
LOAD 1 LOADTYPE None TITLE LOAD CASE 1
UBC LOAD X 0.75
SELFWEIGHT Y -1
FLOOR LOAD
YRANGE 0 12 FLOAD -0.8 XRANGE 0 12 ZRANGE 0 9 GY
LOAD 2 LOADTYPE None TITLE LOAD CASE 2
UBC LOAD Z 0.75
SELFWEIGHT Y -1
FLOOR LOAD
YRANGE 0 12 FLOAD -0.8 XRANGE 0 12 ZRANGE 0 9 GY

 #2) Analysis/Print ,ก!. PDelta Analysis  )!+'




  2+, Converge = 10 *.+ก 


ก)3


 )*ก &*กกก +). 10 .+ก)*&*

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1 - 10


 , ก234
Add 
 Close

 ก*1 Analyze | Run Analysis…

 
" ,2A", # ,!",

***********************************************************
* *
* X DIRECTION : Ta = 0.550 Tb = 0.190 Tuser = 0.000 *
* C = 0.1400, LOAD FACTOR = 0.750 *
* UBC TYPE = 85 *
* UBC FACTOR V = 0.0188 x 40.37 = 0.76 MTON *
* *
***********************************************************

***********************************************************
* *
* Z DIRECTION : Ta = 0.550 Tb = 0.275 Tuser = 0.000 *
* C = 0.1400, LOAD FACTOR = 0.750 *
* UBC TYPE = 85 *
* UBC FACTOR V = 0.0188 x 40.37 = 0.76 MTON *
* *
***********************************************************
++ Adjusting Displacements 15:37:49

++ Cycle = 1
Load Case = 1 Convergence Norm (SRSS) = 9.0458E-04 CM
Load Case = 2 Convergence Norm (SRSS) = 4.0303E-03 CM

STAAD.Pro : UBC 1985 Seismic Load 1 - 11


2
Seismic Effects on Building

 

        " #$ #
%&

%#' ( %&(  &)*#   '
  

 # ,#  
Gravity Load = 2 t/m

4m
2 t/m

4m
2 t/m

6m 4m

EQK to EQK to
LEFT RIGHT

  #'*ก "ก% ' (#  Plane &%" Seismic2D.std

 "ก    Meter  Metric Ton #  ก*-. Next >

 (# ' ( %&ก#  6 m ()%& 4 m ก/ 


-& Fixed &)*

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-1


 *# General | Property  ก*-. Define… "ก ก  Rectangle (# # &
- YD = 0.30 m, ZD = 0.3 m *0( & 

- YD = 0.50 m, ZD = 0.30 m *0 &


"ก&(- Material = CONCRETE %#ก *- ก*-. Ctrl # %
ก "ก(  ก"ก 

Seismic Load Definitions

 *# General | Load "ก ก  Definitions | Seismic Definitions  ก*-.


Add…

 "ก ก  Seismic Parameters   1  UBC 1985 ก/     2


 &

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-2


 "  ก*-. Add  # Close  ก #   Load
ก *0

 "ก ก 3)ก(# 4#  ก*-. Add… "ก ก  Self Weight #  ก*-.
Add

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-3


 "ก ก  Member Weights (   )*#   #  ก*-. Add  # Close

 "ก ก  UNI 2 #   Load  " Assign #ก &

/ (&3)ก(# 452 / (& "


DEFINE UBC LOAD
ZONE 0.2 I 1 K 0.67 TS 1.5
SELFWEIGHT
MEMBER WEIGHT
2 6 9 UNI 2

Load Case Details

& 
ก/ / &ก-ก( ก " Gravity Load, EQK to Left 
EQK to Right  "
 ก ก / ก-ก

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-4


 "ก ก  Load Cases Details  ก*-. Add… #   Primary &%"ก
-ก( ก " EQK to Left, EQK to Right  Gravity Load  ก 
#   Load
 4*0

 #   Load  ก ก  1 : EQK to Left #  ก*-. Add…

 #   Add New : Load Item "ก ก  Seismic Loads  "ก/  6 
  5ก2&)*

  ก"ก X Direction  (  Factor = -1 #  ก*-. Add

  ก Add  # Close  ก #   Load


*0&)*#  

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-5


 #   Load  ก ก  2 : EQK to Right #  ก*-. Add…

 "ก ก  Seismic Loads  ก"ก X Direction  (  Factor = 1 #  ก*-.


Add

  ก ก  3: Gravity Load #  ก*-. Add…

 "ก ก  Selfweight Y -1 #  ก*-. Add

 "ก ก  Member Load | Uniform Force (  W1 = -2 Mton/m  6  GY


 ก*-. Add  # Close # Assign / &ก#ก &

 *# Analysis/Print "ก Print Option #ก 

 (&&ก  /  Analyze | Run Analysis…

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-6


 ก  / 7"1   1  UBC 1985 52( "

***********************************************************
* *
* X DIRECTION : Ta = 0.472 Tb = 0.423 Tuser = 0.000 *
* C = 0.1273, LOAD FACTOR = -1.000 *
* UBC TYPE = 85 *
* UBC FACTOR V = 0.0171 x 11.68 = 0.20 MTON *
* *
***********************************************************

***********************************************************
* *
* X DIRECTION : Ta = 0.472 Tb = 0.423 Tuser = 0.000 *
* C = 0.1273, LOAD FACTOR = 1.000 *
* UBC TYPE = 85 *
* UBC FACTOR V = 0.0171 x 11.68 = 0.20 MTON *
* *
***********************************************************

 # ' Post Processing '"ก#(-ก'

  ก3 # #  Node | Displacement ก ()* 


ก Load 1 :
EQK to Left
'#* ,# &)*#  

  ก3 # #  Beam | Forces  ")   '"ก  ก*-. Fy 


Mz  ")7" '2&

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-7


 ก& ' Modeling *# General | Load "ก ก  Load Envelope  ก
*-. Add…

 #   Add New : Load Envelopes


(4 # "กก/  )*
#   #  ก*-. Add

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-8


  ก #   Load
*0&)*#  

 (&&ก  /  Analyze | Run Analysis…


 "&  
# ' Post-processing #   Result Setup
 "ก
(/ & Defined Envelope  "#"ก(  #ก 

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2-9


 "#  ' Post-processing # "ก Envelope %"กก-ก 
) 2# 

 *# Beam | Graph  ก"ก  (&กก 5 # # 

 ก&# ()' Modeling *# General | Load  ก ก  ENVELOP 1  


(# ##   Load  ก*-. Edit…

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2 - 10


 #   Edit | Envelope
(4 #"ก/ &ก-ก 3 GRAVITY LOAD

ก ก  # ,#   ก*-. #   #  &)*#  

  ก*-. Change  # Close


 "ก) Analyze | Run Analysis… (&&ก  / ก &
 "&  # ()' Postprocessing '"ก#   Results Setup *0
ENVELOP 1 % 

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2 - 11


 ' Post-processing "ก ก  Envelope %"กก-ก ) 2
# 

 *# Beam | Graph  ก"ก  (&กก 5 # # 

STAAD.Pro : Seismic Effects on Building 2 - 12


3
Seismic Analysis of 2D Structure
Beam & Column Design


    ก ก   
   

 ! ก"#ก$ก"! (Load Combination) 
&'
" ('  & $( 
&
$"  &'
 ' ก""  2 
)* '


Live Load = 1.5 t/m


Dead Load = 1.2 t/m

LL = 1.5 t/m 4m
DL = 1.2 t/m

LL = 1.5 t/m 4m
DL = 1.2 t/m

6m 4m

EQK to EQK to
LEFT RIGHT

 $'*ก$ ' 
New ก+ Recent Files *,-. $"  &'
' ก
""  2  Seismic2D.std ก*#/$ Finish

 ก $) File > Save As… 


($ Seismic2D_DSGN.std

 ก ก  Load Cases Details  ก  Gravity Load กก"  ก 


'ก*#/$ Delete & *0 Dead Load  Live Load "

STAAD.Pro : 2D Seismic Design 3-1


 ก ก  Load Cases Details ก*#/$ Add… $ ! ก"#ก Dead Load
 Live Load

 ก ก  3: Dead Load 'ก*#/$ Add…

 ก ก  Selfweight Y -1 'ก*#/$ Add

 ก ก  Member Load | Uniform Force & W1 = -1.2 Mton/m "1"

GY ก*#/$ Add  $' Close ' Assign  ! ก'ก "


$

 ก ก  4: Live Load & Uniform Force &  ก & W1 = -1.5 Mton/m
"1"
GY ก*#/$ Add  $' Close ' Assign  ! ก'ก "
$

$ 2  UBC 1997 $ ก ก!  ก


 ก (Load Combination) ' ก
&! 
  ก  ก 
ก (Strength Design Method)

 -ก . ! ก"#ก$" ('
U = 1.4D + 1.7L
U = 1.2D + 1.0E + 0.5L

STAAD.Pro : 2D Seismic Design 3-2


 ก ก  Load Cases Details ก*#/$ Add… ก Define Combinations & 

)* '


 ก!  ! ก"#ก Load 5 : 1.4DL + 1.7LL

 ก!  ! ก"#ก Load 6 : 1.2DL + EqkLeft + 0.5LL

 ก!  ! ก"#ก Load 7 : 1.2DL + EqkRight + 0.5LL

STAAD.Pro : 2D Seismic Design 3-3


  ก  ! ก"#กก  *0

 
&
ก !  Analyze | Run Analysis… )  $
 ก $) Commands | Loading | Load List… กก "#ก$
)*

ก
 ก
 *' Design > Concrete ก$ 2 " ('ก Current Code: ACI  ก
' 
"
'   $
 *  *0 Centimeter – Kilogram 'ก*#/$ Define Parameters…
 ' 
Design Parameters ก  $ .ก!  

- CLB = 3 cm ก*#/$ Add
- CLS = 2.5 cm ก*#/$ Add
- CLT = 2.5 cm ก*#/$ Add
STAAD.Pro : 2D Seismic Design 3-4
- FC = 240 kg/cm2 ก*#/$ Add
- FYMAIN = 4000 kg/cm2 ก*#/$ Add
- MAXMAIN = 25 mm ก*#/$ Add
- MINMAIN = 16 mm ก*#/$ Add
- TRACK = 1 ก*#/$ Add ' $' Close
 '  Concrete Design &

)*

 
$ ! + $&
 
$+)ก Assign '
.   'ก"  ก  ก3 Assign
To View 'ก*#/$ Assign

ก ก
 ! &
ก+)ก&'
' ก'  Concrete Design ก*#/$ Command…
 ก Design Beam ก*#/$ Add $ ก+ Design Column ก*#/$ Add '4

ก*#/$ Close '  *0


)*

STAAD.Pro : 2D Seismic Design 3-5


  ก  ก  DESIGN BEAM '  Assign ' ก     ก  DESIGN
COLUMN ' Assign 'ก & 
)* '


 ก $) Analysis > Run Analysis… $' &


4 $ ' ก STAAD
Analysis 'ก*#/$ Run Analysis

 "! ก ! $   ' $&


4 $  ก$$ '  $ &5'' ก
View Output File 'ก*#/$ Done

ก ก
 ก ก&
)-.&
 กก   . 

'


=====================================================================

BEAM NO. 6 DESIGN RESULTS - FLEXURE PER CODE ACI 318-02

LEN - 6000. MM FY - 392. FC - 24. MPA, SIZE - 300. X 500. MMS

LEVEL HEIGHT BAR INFO FROM TO ANCHOR


(MM) (MM) (MM) STA END
_____________________________________________________________________

1 53. 3 - 20MM 0. 6000. YES YES


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL POS MOMENT= 124.75 KN-MET AT 3000.MM, LOAD 5|
| REQD STEEL= 842.MM2, ROW=0.0063, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 295./ 45./ 102. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 584. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 104580.0 cm^4

2 454. 3 - 16MM 0. 1608. YES NO


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL NEG MOMENT= 84.19 KN-MET AT 0.MM, LOAD 5|
| REQD STEEL= 546.MM2, ROW=0.0040, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 295./ 41./ 104. MMS |
| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 467. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 75588.9 cm^4

3 454. 3 - 16MM 4142. 6000. NO YES


|----------------------------------------------------------------|
| CRITICAL NEG MOMENT= 84.19 KN-MET AT 6000.MM, LOAD 5|
| REQD STEEL= 546.MM2, ROW=0.0040, ROWMX=0.0197 ROWMN=0.0035 |
| MAX/MIN/ACTUAL BAR SPACING= 295./ 41./ 104. MMS |

STAAD.Pro : 2D Seismic Design 3-6


| REQD. DEVELOPMENT LENGTH = 467. MMS |
|----------------------------------------------------------------|

Cracked Moment of Inertia Iz at above location = 75588.9 cm^4

B E A M N O. 6 D E S I G N R E S U L T S - SHEAR

AT START SUPPORT - Vu= 118.65 KNS Vc= 108.99 KNS Vs= 49.21 KNS
Tu= 0.00 KN-MET Tc= 4.2 KN-MET Ts= 0.0 KN-MET LOAD 5
NO STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT IS REQUIRED FOR SHEAR.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 230. MM C/C FOR 2555. MM

STAAD PLANE -- PAGE NO. 5

AT END SUPPORT - Vu= 118.65 KNS Vc= 108.99 KNS Vs= 49.21 KNS
Tu= 0.00 KN-MET Tc= 4.2 KN-MET Ts= 0.0 KN-MET LOAD 5
NO STIRRUPS ARE REQUIRED FOR TORSION.
REINFORCEMENT IS REQUIRED FOR SHEAR.
PROVIDE 12 MM 2-LEGGED STIRRUPS AT 230. MM C/C FOR 2555. MM

___ 5J____________________ 6000X 300X 500_____________________ 6J____


| |
||=================== =======================||
| 3No16 H 454.| 0.TO 1608 3No16|H 454.4142.TO 6000 |
| 13*12c/c230 | | | | | | 13*12c/c230 | |
| 3No20 H 53.| 0.TO 6000 | | | | | | | | |
||=========================================================================||
| |
|___________________________________________________________________________|
_________ _________ _________ _________ _________ _________
| | | | | | | | | | | |
| ooo | | ooo | | | | | | ooo | | ooo |
| 3#16 | | 3#16 | | | | | | 3#16 | | 3#16 |
| | | | | | | | | | | |
| 3#20 | | 3#20 | | 3#20 | | 3#20 | | 3#20 | | 3#20 |
| ooo | | ooo | | ooo | | ooo | | ooo | | ooo |
| | | | | | | | | | | |
|_________| |_________| |_________| |_________| |_________| |_________|

====================================================================

COLUMN NO. 1 DESIGN PER ACI 318-02 - AXIAL + BENDING

FY - 392.3 FC - 23.5 MPA, SQRE SIZE - 300.0 X 300.0 MMS, TIED


ONLY MINIMUM STEEL IS REQUIRED.
AREA OF STEEL REQUIRED = 900.0 SQ. MM

BAR CONFIGURATION REINF PCT. LOAD LOCATION PHI


----------------------------------------------------------

4 - 20 MM 1.396 5 END 0.650


(PROVIDE EQUAL NUMBER OF BARS ON EACH FACE)
TIE BAR NUMBER 12 SPACING 300.00 MM

COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Z -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------
P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
2268.30 1814.64 804.79 122.19 151.8
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
60.36 -492.94 679.42 54.38 0.02001
--------------------------------------------------------

COLUMN INTERACTION: MOMENT ABOUT Y -AXIS (KN-MET)

--------------------------------------------------------
P0 Pn max P-bal. M-bal. e-bal. (MM)
2268.30 1814.64 804.79 122.19 151.8
M0 P-tens. Des.Pn Des.Mn e/h
60.36 -492.94 679.42 0.00 0.00000
--------------------------------------------------------

STAAD.Pro : 2D Seismic Design 3-7


4
Seismic Analysis of 3D Structure
Shear Wall Design


    ก ก   
 

! "
   ##$
10 "  &'
# 
( (Shear Wall) )"   (Flat
Plate) # *)  
$*+
)

6m

6m

6m

6m 6m 4m 6m 6m

 #*ก# )ก"

 Space 
" Seismic3D.std

 )ก #  Meter 


Metric Ton

 ,   # )  


# )+'  # ก  '
"  ) " ก !, & , , 

Translation Repeat ก)  *-  " ! .

 #
# ) "#.##
View From +Z )ก  X-Y

  
ก
6 m $
4 m 
$* ))ก )ก )  +
+ 
$*

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-1


 )ก Translation Repeat !$) / 

 ก,  ก !, & ,  Translation Repeat 


$*+
)

 *0 
Snap Node/Beam " Node Cursor )ก
$*

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-2


 )ก #$ Geometry > Move… > Joint  X = -2 m

 ก Ctrl A )ก  ) !


#

 
Translation Repeat ก,  
$*+
)

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-3


 *) #.##
*- ## # ) *-
$*+
)

 +    #   ก  
 +
  !
  ) ก +  
# ) )  ก ก 
Structure Diagrams… ))ก )ก"
Fill Plates/Solids/Surface

 "#.##
View From +Y  ก )ก
 & 
$*

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-4


 )ก #$ Tools > Cut Section…

 #.##
View From -X )ก Add 4-Noded Plate  
!

+

)ก #! +2# 3ก

 )ก #$ Tools > Cut Section… )ก*.4# Show All

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-5


 "5 ก  # 
 ก

!  + +
  
$*

 "5 ก  # 


    

 # ก  


+

  #.##
View From +Y  ก )ก

  ก ", 


Cut Section 
( 
! 6$ก )ก ) *) #.##
*- View
From –X

 )ก Snap Node/Quad Plates ก,  




STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-6


 )ก*.4# Snap Node/Plate  

$* ! +2# 3ก

 )ก )ก
!  # " Plate Cursor 
Translation Repeat 
$*

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-7


 ", 
Cut Section )ก Show All *0 
Snap Node/Plate#.#
 ##
ก)  *-

 #.##
View From +Y " Plate Cursor  ก )ก
  )
!

 # 
$*

 )ก Generate – Mirror ก,  


$*+
)

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-8


 + #  *-ก    #.##
View From +Z " Beam Cursor  ก )ก
 !
" 

 )ก Fill floor grid with plates !$) / 

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4-9


 )  ! +
(! #, *-ก #.##
View From +Y  ก )ก   #
, 
$*)ก Delete

 ) !
" ก  ก )ก#.##
View From +Z

 * General > Property ก,  



•    : Rectangle : YD = 0.5 m : ZD = 0.5 m
•  )
: Thickness = 0.2 m

 )ก! ) ก  )ก5 Assign To View )ก*.4# Assign


 $# )#.##
 ## 3D Rendering

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 10


 )ก #$ Select > By All > All Geometry

 )ก Translation Repeat !, & , *-  " 

 * General > Support 


.
 Fixed )ก, .


STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 11


 * General > Load )ก ก  Definitions > Seismic Definition  

 &  ))ก*.4# Add…


  Seismic Parameters )ก# 7  IBC 2003 
$*+
)

 )ก*.4# Add  


6#  Self Weight

 )ก*.4# Add ) # Close  ก  


Load ก)  *-

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 12


 )ก ก  Load Cases Details ก*.4# Add 
 ก  , ก!.กก EQK
LOAD Z 
$*

 )ก ก  L 1 : EQK LOAD Z )ก*.4# Add )ก , ก Seismic Load ก, 
!8!
Z )9ก / = 1 
$* ))ก*.4# Add  # Close

 )ก ก  Load Cases Details ก*.4# Add 


 , ก!.ก L 2 : DEAD
LOAD ) L 3 : LIVE LOAD 
$*

  ก  DEAD LOAD  , ก Selfweight Y -1

  ก  LIVE LOAD )ก , ก Plate Load > Pressure on full plate
ก,  
$*

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 13


 )ก*.4# Add ) # Close  ก  
Load ก)  *-

 ก,  ก  PR GY -0.3 Mton/m2 ก !.ก  *) #.##


View
From +Z )" Plate Cursor  ก )ก! )" ก*.4# Ctrl 


STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 14


 )ก5 Assign To Selected Plates ))ก*.4# Assign

ก ก,  ก


 ก (Load Combination) , 
 ก  
ก 
ก (Strength Design Method)  , ก!.ก#! "
U = 1.4D + 1.7L
U = 1.2D + 1.0E + 0.5L

 )ก ก  Load Cases Details ก*.4# Add… )ก Define Combinations 




STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 15


  ก  , ก!.กก)  *-

 * Analysis/Print )ก No Print Option )ก*.4# Add  # Close

 )

ก ,  Analyze | Run Analysis… $  #

 $)9)/
)

************************************************************
* IBC 2003 SEISMIC LOAD ALONG Z : *
* CT = 0.020 Cu = 1.400 *
* TIME PERIODS : *
* Ta = 0.775 T = 1.171 Tuser = 0.000 *
* TIME PERIOD USED (T) = 1.086 *
* LOAD FACTOR = 1.000 *
* DESIGN BASE SHEAR = 1.000 X 0.162 X 3555.88 *
* = 577.83 MTON *
************************************************************

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 16


 ก    
 + $# Postprocessing )ก
ก !.ก!  4, 5 ) 6

 *!  Node > Displacement $)ก ก+


   )ก+ :  


# ) )ก ก  Labels…

  
! 
+' # ) )ก6 Scale )ก"
Apply Immediately )*
)+ ก)"
Displacement  2ก ก" 
$*+
)

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 17


 " Node Cursor )ก )ก#.#.+
   $ ก ก 

Node Displacements !
 + +
 

  ก 
 ∆ = 116 mm   #  #$
H = 40 m
Total Drift Index, ∆/H = 116 mm / 40 m = 1 / 345 < 1 / 200 OK

 * Plate > Contour )


)ก" Contour Line  Max Absolute

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 18


 ##. Plate #64 
!   !, ก ก   # 6

: 
 ก 
!
 +

ก ก 
 ##.  
ก ก 
( Plate #64 ก)# !  # Modeling

 )ก #$ Commands | Loading | Load List… )กก !.ก#


$*

 
(! ก
*- Surface 
 '


Surface +' # ก

 )ก Add Surface !$) /  ))ก #


! 

ก ก

 * General > Property )ก*.4# Thickness… )ก ก  Surface Thickness


 # 0.2 m 
$*

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 19


 )ก*.4# Add  # Close  ก  
Properties ก)  *-

 ก,  ก  Surface Thickness ก Surface ! 


+' 

 * Design > Shearwall  


Shearwall Panels 
 ก  Surface
! # $# )&'
, # ก

 *)  #  *- Centimeter 


*- Kilogram

 )ก*.4# Define Parameters… ก,    # /ก ก

 )ก ก  FC ก, )
*)ก   240 kg/cm2 ก*.4# Add

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 20


 )ก ก  FYMAIN ก, )
 ก )2ก #)ก  4000 kg/cm2 ก*.4# Add

 )ก ก  TWOLAYERED )ก (1) Double layered ก*.4# Add  # Close

 ก,   # /! 


ก Surface 
!

 " Assign To View

 )ก*.4# Commands…  
DESIGN SHEARWALL ))ก*.4# Assign 
ก, ก Surface ! 6$ก )ก

 
ก ,  Analyze > Run Analysis…

 +!, ก , # ) + #


+' #  ก## +)  # 2) )ก
View Output File ))ก*.4# Done

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 21


 ก ก
 )ก ก
$9)/
) ก)ก   / 

+
)

==============================================================================

SHEARWALL NO. : 1 DESIGN CODE : ACI 318-02

WIDTH : 19.69 FT FC : 3.41 KSI


HEIGHT : 13.12 FT FY : 56.89 KSI
THICKNESS : 7.87 IN CONC. COVER : 3.000 IN

BOUNDARY ELEMENTS : NOT REQUIRED


REINFORCING SUMMARY (REBAR SPACING/AREA UNITS: IN/IN^2)

==============================================================================
LEVEL GOV.LOAD HORIZONTAL/ VERTICAL/ EDGE/
(FT) NO. FOR RATIO RATIO AREA/RATIO
HOR./ (MIN. RATIO) (MIN. RATIO) (MIN. RATIO)
VERT./
EDGE REBAR
-----------------------------------------------------------------------------
1.31 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 49 - # 3/
5/ 0.00127 0.00127 5.390/ 0.00362
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
2.62 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 54 - # 3/
5/ 0.00127 0.00127 5.940/ 0.00399
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
3.94 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 49 - # 3/
5/ 0.00127 0.00127 5.390/ 0.00362
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
5.25 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 49 - # 3/
5/ 0.00127 0.00127 5.390/ 0.00362
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
6.56 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 17 - # 5/
5/ 0.00127 0.00127 5.270/ 0.00354
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
7.87 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 17 - # 5/
5/ 0.00127 0.00127 5.270/ 0.00354
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
9.19 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 17 - # 5/
5/ 0.00127 0.00127 5.270/ 0.00354
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
10.50 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 17 - # 5/
5/ 0.00127 0.00127 5.270/ 0.00354
5 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
11.81 4/ # 3 @ 11.00/ # 3 @ 11.00/ 28 - # 4/
5/ 0.00127 0.00127 5.600/ 0.00376
6 ( 0.00250) ( 0.00250) ( 0.00352)
-----------------------------------------------------------------------------
NOTE :
ALL HEIGHTS ARE IN LOCAL COORDINATE SYSTEM OF THE SURFACE.
NUMBER OF REINFORCING LAYERS IN EACH DIRECTION : 2
HORIZONTAL AND VERTICAL REINFORCING IS PER LAYER.
REINFORCING DISTRIBUTION BETWEEN LAYERS IS 50/50.
CENTROID OF EDGE REBAR ASSUMED AT 0.8 WALL WIDTH FROM COMPRESSION EDGE.
*) MIN. REINFORCING RATIO BASED ON ARTICLE 10.5.3.
==============================================================================

STAAD.Pro : 3D Seismic Design 4 - 22


5
Modal Analysis
A Simple Six Storied Structure


 ก ก        !"#

$  %
& '(&ก ) *+##     "##  ก) )& '(+ , 

  (&ก "#ก   Space )" #, Building6.std

 "#ก,! !  Meter ,!& Metric Ton & ก(-. Next >

 "#ก Open Structure Wizard & ก(-. Finish

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-1


  ,  StWizard  & + "#ก  (/ Frame Models & ) 
 ก*## Bay Frame ,+#'" # #   )'(

 " # ก(-. Apply &"#ก' File | Merge Model with STAAD.Pro Model

*   )'(

 *( General | Property " #ก0  +  ) )


•  )  : Rectangle | YD = 0.30 m, ZD = 0.30 m
•  )   : Rectangle | YD = 0.40 m, ZD = 0.30 m
• &1," : Thickness = 0.10 m
• "#ก) - : Material = CONCRETE

  ,  Properties – Whole Structure  ก(-. Define… "#ก )


Rectangle ,,  )  &    ก(-. Add   ! Close  !ก  , 
)
(/ '(+ , 

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-2


 Assign  ) &ก, &   !ก ก#"#ก ก ก Ctrl & ก ( !
-#,!ก "#ก

 2
&#ก (-. '-# 3D Rendering " #
# %'ก#

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-3


  ก(-. Add 4-Noded Plates  ก  +#")#+2 3 ก

 ก)      ,  Properties ก (-.  Thickness… " # ก !ก  Plate/Surface


Thickness ก0    0.1 m  ก(-. Add   ! Close

 ก0  "  + & Plate Cursor "#ก&1,  +

 )  Translation Repeat " #0 40 *(!)) "# ก0  ,  '(+ , 

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-4


 2
&#ก (-. '-# 3D Rendering " #
# %'ก#

 ก0 
- #)(/& FIXED : *(  !,#! Support  
- #)& FIXED
&ก0  &ก,5  -ก

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-5


MODAL CALCULATION

 6ก 0 $ STAAD !ก, Eigen Extraction Method 4 


ก !ก)# ก"#
 ก [M] &  ก 7 [K]  ก 7 +
ก+#'+###  ,
 !  -$)  ')!" !-, #) ,(84# " #*+
- ,#&
- #)

0 )  ก STAAD


 +#'  0 )ก - กก$  - ก  ก ก0  0 ) 
MODAL CALCULATION REQUESTED  0 )9 
0 "# :

1) +#' ,+ *("#0 )ก*,, STAAD


&(0 )ก(/ !ก  
0 )ก ,+ *( ! ,
ก&%, g

2) %  (/ PLANE   ก ) *


#  "# X & Y %  
(/ SPACE
   "# X, Y & Z

)#!, (/& SPACE ))    X, Y & Z

 *(  General | Load   Load 1 : FREQUENCY CALCULATION

  0 )ก Selfweight ,,   !ก "#


SELFWEIGHT    = X &7ก# = 1
SELFWEIGHT    = Y &7ก# = 1
SELFWEIGHT    = Z &7ก# = 1

 "#ก !ก  Frequency | Modal Calculation  ก(-. Add   ! Close

 !ก 0 )  %'ก +"# :


LOAD 1 LOADTYPE None TITLE FREQUENCY CALCULATION
SELFWEIGHT X 1
SELFWEIGHT Y 1
SELFWEIGHT Z 1
MODAL CALCULATION REQUESTED

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-6


 *(  Analysis/Print "#ก Print Option  #ก  &ก (-. Add

 ) )ก 0 $ Analyze | Run Analysis…

MODAL FREQUENCY

)ก 0 $2


  % *,+#1  (: '*7& 1 (Output file) )

CALCULATED FREQUENCIES FOR LOAD CASE 1

MODE FREQUENCY(CYCLES/SEC) PERIOD(SEC) ACCURACY

1 1.446 0.69158 3.659E-13


2 1.465 0.68263 3.046E-13
3 1.679 0.59568 1.276E-11
4 4.426 0.22592 1.200E-08
5 4.506 0.22195 2.171E-08
6 5.048 0.19812 3.234E-07

The following Frequencies are estimates that were calculated. These are for
information only and will not be used. Remaining values are either above
the cut off mode/freq values or are of low accuracy. To use these
frequencies, rerun with a higher cutoff mode (or mode + freq) value.

7 7.684 0.13015 1.783E-06


8 7.912 0.12639 2.971E-06
9 8.432 0.11860 1.106E-05
10 10.837 0.09228 9.975E-06
11 11.052 0.09048 3.729E-05

CUT OFF MODE SHAPE

 + 9,


 ! ก ) *&,ก 0 $-ก #
#  ก
#ก
ก)*,-ก   0 )9, ก)ก  *  ,9,&#  &กก2
!#,#ก 0 $1##  ) * 

!-% *,ก ก0  STAAD


0 $! 6  &ก , , ก)0 ) 
CUT OFF MODE SHAPE 6 1'  %ก0   STAAD 0 $
0   ก+
("##!) )#!, 
ก0  0 $) 11 

 "#ก' Commands | Miscellaneous | Cut Off Mode Shape… ,, 11

 )  Run Analysis… 0 ก 0 $, &+ *( '1*7& 1,

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-7


MODE SHAPE

 + ', Postprocessing "#ก Dynamics  ก"#ก * 


ก,#' 

 *( Animation ก0  , )'( #()( !, Extra Frames & FPS  


  

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-8


 ก)   Dynamics | Modes ก Shift + N & #

 
$   & 1 Mode Shapes    + , 

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5-9


MASS PARTICIPATION FACTORS

*7& 1!)#ก   & "#, ก ,,+#&, 

MASS PARTICIPATION FACTORS IN PERCENT


--------------------------------------

MODE X Y Z SUMM-X SUMM-Y SUMM-Z

1 0.00 0.00 83.00 0.000 0.000 82.998


2 82.20 0.00 0.00 82.200 0.000 82.998
3 0.00 0.00 0.00 82.200 0.000 82.998
4 0.00 0.00 10.84 82.200 0.000 93.835
5 11.85 0.00 0.00 94.045 0.000 93.835
6 0.00 0.00 0.00 94.045 0.000 93.835
7 0.00 0.00 3.57 94.045 0.000 97.401
8 3.52 0.00 0.00 97.564 0.000 97.401
9 0.00 0.00 0.00 97.564 0.000 97.401
10 0.00 0.00 1.67 97.564 0.000 99.075
11 1.60 0.00 0.00 99.159 0.000 99.075

ก 
$  0 )9+# ก )*
2* 
ก !ก + & (#42
ก ,,+#&,     , =

SUMM-X, SUMM-Y & SUMM-Z & ,  +#ก ,,+#-ก



%  & , 4 
ก 
$
0  
ก   

- ,  
ก " # &&ก X " #
$
ก  
2,   , 
&ก X "#   2, 5, 8 & 11

 ',    Mode Shapes +# 2, 5, 8 & 11   +#&, )


ก'(
"#   1, 3, 5, 7, 9, 11 & 13

Mode: 2 5 8 11

Freq.(Hz.) 1.465 4.506 7.912 11.052

Node:

1 0 0 0 0

3 -0.165 -0.573 -0.878 1

5 -0.379 -0.997 -0.799 -0.082

7 -0.585 -0.904 0.345 -0.977

9 -0.765 -0.333 1 0.381

11 -0.906 0.426 0.269 0.839

13 -1 1 -0.879 -0.706

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5 - 10


 
$ , Mode Shapes 
 ก)'(& Dynamics | Modes  !( !
 * 
ก'   

 
$ Mode 2, 5, 8 & 11
* ,
Mode 2 :
-1
Frequency = 1.465 Hz.
-0.906 Period = 0.683 sec.

-0.765 Mode Shape =

-0.585  0 
 −0.165 
 
-0.379  −0.379 
 
 −0.585 
-0.165  −0.765 
 
 −0.906 
0  −1 
 

Mode 5 :

Frequency = 4505 Hz.

Period = 0.222 sec.

Mode Shape =

 0 
 −0.573 
 
 −0.997 
 
 −0.904 
 −0.333 
 
 0.426 
 1 
 

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5 - 11


Mode 8 :

Frequency = 7.912 Hz.

Period = 0.126 sec.

Mode Shape =

 0 
 −0.878 
 
 −0.799 
 
 0.345 
 1 
 
 0.269 
 −0.879 
 

Mode 11 :

Frequency = 11.052 Hz.

Period = 0.090 sec.

Mode Shape =

 0 
 1 
 
 −0.082 
 
 −0.977 
 0.381 
 
 0.839 
 −0.706 
 

, Mass Participation Factor +# k =0 $* 


ก'
2
 n 
 ∑ Wi φik  m
M k =  ni=1  , M participating = ∑ M k
∑ Wi ( φik )
2 k =1

i =1

" # n "#
0 )+##   ( = 7 )#!,  "# ) 0 % 6 )
m
0   
$ ( = 4 )#!,  "# 2, 5, 8, 11)

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5 - 12


φik "#, Mode Shape  ) i  k

Wi "#0 )ก+#) i

0 $0 )ก+#&, )
ก+    & "
) 0 (5  ) : 0 )ก = 0 )
) 1 – 5 : 0 )ก" = 0.24 × 0.1 × 3.0 × 4.0 = 0.2880 )
0 )ก  = 0.24 × 0.3 × 0.4 × 2(3.0+4.0) = 0.4032 )
0 )ก = 0.24 × 0.3 × 0.3 × 4 × 3.0 = 0.2592 )
0 )ก = 0.9504 )
) 6 : 0 )ก" = 0.24 × 0.1 × 3.0 × 4.0 = 0.2880 )
0 )ก  = 0.24 × 0.3 × 0.4 × 2(3.0+4.0) = 0.4032 )
0 )ก = 0.24 × 0.3 × 0.3 × 4 × 1.5 = 0.1296 )
0 )ก = 0.8208 )
Level 0 1 2 3 4 5 6
Wi (ton) 0 0.9504 0.9504 0.9504 0.9504 0.9504 0.8208

(&ก Spread Sheet 0 $, Wφφ


*  )  + , 
φ:

0 0 0 0
-0.157 -0.545 -0.834 0.950
-0.360 -0.948 -0.759 -0.078
-0.556 -0.859 0.328 -0.929
-0.727 -0.316 0.950 0.362
-0.861 0.405 0.256 0.797
-0.821 0.821 -0.721 -0.579
Σ -3.482 -1.442 -0.781 0.524

φ2 :

0 0 0 0
0.026 0.312 0.733 0.950
0.137 0.945 0.607 0.006
0.325 0.777 0.113 0.907
0.556 0.105 0.950 0.138
0.780 0.172 0.069 0.669
0.821 0.821 0.634 0.409
Σ 2.645 3.132 3.106 3.080

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5 - 13


0 , 1 * 
ก)#   0 $ ' Mass Participation
* 

Mode 2 5 8 11
Mk (ton) 4.584 0.664 0.197 0.089

" #
$ 4  Participating Mass = 4.584+0.664+0.197+0.089 = 5.534 )


ก) Total Mass = 5 × 0.9504 + 0.8208 = 5.573 )

))) , Mass Participation = 5.534 / 5.573 × 100 = 99.299%

#(!!ก)  *7& 1 STAAD.Pro :


MASS PARTICIPATION FACTORS IN PERCENT
--------------------------------------

MODE X Y Z SUMM-X SUMM-Y SUMM-Z

1 0.00 0.00 83.00 0.000 0.000 82.998


2 82.20 0.00 0.00 82.200 0.000 82.998
3 0.00 0.00 0.00 82.200 0.000 82.998
4 0.00 0.00 10.84 82.200 0.000 93.835
5 11.85 0.00 0.00 94.045 0.000 93.835
6 0.00 0.00 0.00 94.045 0.000 93.835
7 0.00 0.00 3.57 94.045 0.000 97.401
8 3.52 0.00 0.00 97.564 0.000 97.401
9 0.00 0.00 0.00 97.564 0.000 97.401
10 0.00 0.00 1.67 97.564 0.000 99.075
11 1.60 0.00 0.00 99.159 0.000 99.075


2, " #
$  Column SUMM-X 
%  11
*  99.159% 4 
ก!ก)  0 $"# 99.299%
Mode Participation (/#ก)&( #
0 $
ก'
n

∑W φ i ik
Pk = n
i =1

∑ W (φ )
2
i ik
i =1

0 , 1 * 
ก)#   0 $ ' Mode Participation
* 

Mode 2 5 8 11
Pk (ton) -1.317 -0.460 -0.252 0.170

,  * 
  %0  ก 0 $ก !'(+# 4 (/1,+#&,
  !&7ก# Mode Participation (/) , )& '(+ , 

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5 - 14


Displacement

Mode 11

Mode 8

Mode 5

Mode 2 =

+ × 0.170

× -0.252

× -0.460

× -1.317

STAAD.Pro : Modal Analysis : A Simple Six Storied Structure 5 - 15


6
Modal Analysis
Building with Shear Wall


 ก ก        !"#

$  %
& '(&ก ) *+##   #   ก
(,'() L )ก$ )'(+ - 

  (&ก "#ก   Space )" #- ModalBuilding.std

 "#ก-! !  Meter -!& Metric Ton & ก(./ Next >

 "#ก Open Structure Wizard & ก(./ Finish

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-1


  -  StWizard  & + "#ก  (, Frame Models & ) 
 ก*## Bay Frame -+#'" # #   )'(

 " # ก(./ Apply &"#ก' File | Merge Model with STAAD.Pro Model

*   )'(

 "#ก.# View From + Y  Beam Cursor ก#"#ก" ###ก #  


ก !(,'() L )'(

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-2


 "#ก.# View From + Y  Beam Cursor ก#"#ก##   )'( " #
ก0  (,1)2"# (Shear Wall) )'(

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-3


  ก(./ Fill floor grid with plates

 " # ก+ "#ก !ก  Structure Diagrams… &"#ก Fill Plates .#
Isometric View
&  )'(


3-  ) !)*-1)  ก"#ก1))# ก Ctrl+C & Ctrl+V --
 '(

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-4


 "#ก.# View From + Y  Beam Cursor ก#"#ก2   )'(

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-5


  ก(./ Fill floor grid with plates

 "#ก##   !#&1-1)&##ก

 *( General | Property ก0  +  ) )


• R1  )  : Rectangle > YD = 0.50 m, ZD = 0.50 m

• R2  )   : Rectangle > YD = 0.50 m, ZD = 0.30 m

• R3 1)2"# : Thickness = 0.20 m

• R4 &1-" : Thickness = 0.15 m

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-6


"#ก) . Material = CONCRETE ก ( !.#& ก (./ Ctrl  -!ก 
"#ก & ก#"#ก 
ก
:  Beam Cursor ( !.# View From + Y ก#"#ก   &
ก Ctrl  *

ก  :  Beam Cursor ( !.# View From + Z ก#"#ก  )
& ก Ctrl  *

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-7


ก  :  Plate Cursor ( !.#, ก# & ก Ctrl  *

 # ก + "#ก !ก  3D Rendering " #


# %'ก#

 ก0 
. #)(,& FIXED : *(  !-#! Support  
. #)& FIXED
&ก0  &ก-5  .ก  ! Node Cursor ก#"#ก.# View
From + Z )'(

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-8


  "#ก Assign To Selected Nodes &ก (./ Assign

Rigid Floor Diaphragm

 ก$ #
#ก ก0  &1-"))" #)*(#ก)"#(,&1-&+3 0
 !ก0   Master &- ) &  "#))6(, Slave

 ก (./ Shift N " #&  !+


 !+ &- )
ก0  
(, Master )#!-  )'(* &ก- 7 13 19 25 31 37 43 49 55 & 61

 *( General | Spec  ก(./ Node…  -  Specification    7 !


 -  Master/Slave
& + )'(

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6-9


 "#ก Master Node  
*  ก(./ Add *(" #!6
.ก

  ก"#ก !ก  MASTER 7 &"#ก.ก )#

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6 - 10


 "#ก 8 Assign To Selected Nodes & ก(./ Assign

 0 - 
.ก) . 0 )  %'ก +*90 ) "#
SLAVE RIGID MASTER 7 JOINT 7 TO 12 73 TO 78 139 TO 144 205 TO 207 271 -
272 TO 273
SLAVE RIGID MASTER 13 JOINT 13 TO 18 79 TO 84 145 TO 150 211 TO 213 -
277 TO 279
SLAVE RIGID MASTER 19 JOINT 19 TO 24 85 TO 90 151 TO 156 217 TO 219 -
283 TO 285
SLAVE RIGID MASTER 25 JOINT 25 TO 30 91 TO 96 157 TO 162 223 TO 225 -
289 TO 291
SLAVE RIGID MASTER 31 JOINT 31 TO 36 97 TO 102 163 TO 168 229 TO 231 -
295 TO 297
SLAVE RIGID MASTER 37 JOINT 37 TO 42 103 TO 108 169 TO 174 235 TO 237 -
301 TO 303
SLAVE RIGID MASTER 43 JOINT 43 TO 48 109 TO 114 175 TO 180 241 TO 243 -
307 TO 309
SLAVE RIGID MASTER 49 JOINT 49 TO 54 115 TO 120 181 TO 186 247 TO 249 -
313 TO 315
SLAVE RIGID MASTER 55 JOINT 55 TO 60 121 TO 126 187 TO 192 253 TO 255 -
319 TO 321
SLAVE RIGID MASTER 61 JOINT 61 TO 66 127 TO 132 193 TO 198 259 TO 261 -
325 TO 327

CUT OFF MODE SHAPE

 + :-


 ! ก ) *&-ก 0 $.ก #
#  ก
#ก
ก)*-.ก   0 ):- ก)ก  *  -:-&#  &กก3
!#-#ก 0 $1##  ) * 

!.% *-ก ก0  STAAD


0 $! 6  &ก - - ก)0 ) 
CUT OFF MODE SHAPE 6 1'  %ก0   STAAD 0 $
0   ก+
("##!) )#!- 
ก0  0 $ 3  &ก

 "#ก' Commands | Miscellaneous | Cut Off Mode Shape… -- 3

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6 - 11


MODAL CALCULATION

 8ก 0 $ STAAD !ก- Eigen Extraction Method 7 


ก !ก)# ก"#
 ก [M] &  ก 9 [K]  ก 9 +
ก+#'+###  -
 !  .$)  ')!" !.- #) -(=7# " #*+
. -#&
. #)

0 )  ก STAAD


 +#'  0 )ก . กก$  . ก  ก ก0  0 ) 
MODAL CALCULATION REQUESTED  0 ): 
0 "# :

1) +#' -+ *("#0 )ก*-- STAAD


&(0 )ก(, !ก  
0 )ก -+ *( ! -
ก&%- g

2) %  (, PLANE   ก ) *


#  "# X & Y %  
(, SPACE
   "# X, Y & Z

)#!- (,& SPACE ))    X, Y & Z

 *(  General | Load   Load 1 : FREQUENCY CALCULATION

  0 )ก Selfweight --   !ก "#


SELFWEIGHT    = X &9ก# = 1
SELFWEIGHT    = Y &9ก# = 1
SELFWEIGHT    = Z &9ก# = 1

 "#ก !ก  Frequency | Modal Calculation  ก(./ Add   ! Close

 !ก 0 )  %'ก +"# :


CUT OFF MODE SHAPE 3
LOAD 1 LOADTYPE None TITLE FREQUENCY CALCULATION
SELFWEIGHT X 1
SELFWEIGHT Y 1
SELFWEIGHT Z 1
MODAL CALCULATION REQUESTED

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6 - 12


 *(  Analysis/Print "#ก Print Option  #ก  &ก (./ Add

 ) )ก 0 $ Analyze | Run Analysis…

MODAL FREQUENCY

)ก 0 $3


  % *-+#1  (> '*9& 1 (Output file) )

CALCULATED FREQUENCIES FOR LOAD CASE 1

MODE FREQUENCY(CYCLES/SEC) PERIOD(SEC) ACCURACY

1 0.873 1.14581 1.300E-15


2 1.404 0.71211 8.465E-11
3 1.707 0.58584 1.107E-09

MODE SHAPE

 + '- Postprocessing "#ก Dynamics  ก"#ก * 


ก-#' 

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6 - 13


 *( Animation ก0  - )'( #()( !- Extra Frames & FPS  
  

MASS PARTICIPATION FACTORS

ก)      (> *90 ) + &ก0 ) ก0 


0  (, :
CUT OFF MODE SHAPE 10

 ) )ก 0 $ Analyze | Run Analysis… &(> '*9& 1

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6 - 14


MASS PARTICIPATION FACTORS IN PERCENT
--------------------------------------

MODE X Y Z SUMM-X SUMM-Y SUMM-Z

1 80.41 0.00 0.00 80.412 0.000 0.001


2 0.00 0.00 63.72 80.412 0.000 63.723
3 0.03 0.00 5.78 80.442 0.000 69.506
4 0.06 0.00 0.58 80.507 0.000 70.087
5 9.75 0.00 0.01 90.253 0.000 70.100
6 0.00 0.00 5.65 90.253 0.000 75.754
7 0.02 0.00 0.01 90.271 0.000 75.764
8 0.01 0.00 4.77 90.277 0.001 80.529
9 3.49 0.00 0.00 93.771 0.001 80.529
10 0.00 0.00 0.07 93.771 0.001 80.603

ก 
$  0 ):+# ก )*
3* 
ก !ก + & (#73
ก --+#&-     - 6 )#!- -)#!-   -ก 
" #    X % 80.41 (#73 - 2
)    Z ) - 63.72
(#73

SUMM-X, SUMM-Y & SUMM-Z & -  +#ก --+#.ก



%  & - 7 
ก 
$
0  
ก   

STAAD.Pro : Modal Analysis : Building with Shear Wall 6 - 15


7
Response Spectrum Analysis

กก 
ก  ก  ก 
  
    
 ก    !"#
.%. 2550 ก   &
'
(   )  "  ก     *+     "
  *+  #"       &
' &
%,  *+ "

ก 
 ก ก



 
ก ก  

 

 ( 
& ก

ก
 ! ก  ก ) 
 
 
" 
#
 $ 
#
&  $ 

("
) !  ก$*+ (,-.
/
ก ก


( ! (Dynamic Method)
 ก ก

+ก




 1 กก
ก   


"
' ( ) "- 
.# ")"ก/&#ก"
) *+    
" "
 0"ก*+  #"  ก1.
 กก& 


)   (+2)ก

  - %3ก1ก


  ,4  & %,4)
' Response Spectrum
Analysis ก
  ,! -ก!"#
53 +6
' & %, #")7" )กก
ก 4)%)ก-.*+ก#

('&ก  #ก"
(3
 

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-1


Response Spectrum !8* !ก  4  -ก !"#

%.. +6 3 [1] # ก%3ก1ก ก!"#


  !8*ก
  + %# )  *+ "

 2 ก  ก (Elastic response spectra)

Design Spectra +6!8* # -กกก  ก!


  ,4) 9)
!"#
- 
ก &กก  &+กก4 ก#

4  -ก1. *+ " -ก- !  "4 
ก

 3 ! ก Design Spectrum

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-2


  -&4  ก1.#"   *+ "  #"(&
'
  ก 7ก( ) "#

 4+ก ก&4   Space  &


" ResponseSpec.std

 ก "
)
)
Meter "
) Metric Ton ก+7: Next >

  -" ก Open Structure Wizard 


ก+7: Finish

   "  StWizard ก4 & Frame Models     ก# Bay
Frame "* *+

 ก+7: Apply ก * File > Merge Model with STAAD.Pro Model


 4    " X = 0 m, Y = 0 m, Z = 0 m -#4  *+

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-3


 ก7 View From +Y 
& Beam Cursor ก ก "
 +
 ก  ก) +6*+
L  *+

 กก 7  -#4  ก& *+

 " - 4 &  7 (3 10 4)ก +)+ +


STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-4
 )ก * Geometry > Run Structure Wizard
 ก Frame Models  Bay Frame &"  "**+

  " StWizard ก * File > Merge Model with STAAD.Pro Model
  " ก    "
 4  "" Y = 24 m 
"4  "  3
4  

 4 -ก1. *+

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-5


 ก7 View From + Y & Beam Cursor ก ก 9 4)ก+7:
Ctrl  #
  ก    *+

 ก+7: Fill floor grid with plates

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-6


 #+  General > Property ก    
• R1   : Rectangle : YD = 0.50 m, ZD = 0.50 m
• R2  : Rectangle : YD = 0.50 m, ZD = 0.30 m
• R3 ! 9 : Thickness = 0.20 m

 ก    Ref 1 +6   & Beam Cursor +)7 View From +
Y ก ก   ก Ctrl  #


  ก-
&
' Assign To Selected Beams ก+7: Assign
 ก    Ref 2 +6  7 View From +Z & Beam Cursor 
ก ก  & ก Ctrl  #


STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-7


 ก &- 7ก& ก Assign To Selected Beams ก+7: Assign

 ก    Ref 3 +6 & Plate Cursor ก Assign To View ก+7:
Assign
 ก  ,
 ก)ก 3D Rendering **+4 

 #+  General > Support  -7  Fixed ก   ;  7ก

 #+  General > Load ก)ก Load Cases Details ก+7: Add…  ก.
 7ก LOAD 1  &
" RESPONSE SPECTRUM

 ก)ก  ก 7ก RESPONSE SPECTRUM ก+7: Add...

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-8


 "  ก 7ก Selfweight Load  
SELFWEIGHT %  = X <ก , = 1
SELFWEIGHT %  = Y <ก , = 1
SELFWEIGHT %  = Z <ก , = 1

 ก)ก Response Spectra > Response Spectrum

 (#"* Spectrum  ก+7: Generate IBC Spectrum &" Spectrum


Table

 4+ก- "" ,; IBC

 ก+7: Generate Spectrum 4+ก- !8*3 ก+7: Close ก


"  "" *+

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7-9


 ก+7: Add 
) Close

 #+   Analysis/Print +) Print Option +6 Mode Shapes  ,
 !ก 
.4 ก#

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7 - 10


  ก 
. Analyze | Run Analysis… 
+=*#<, !

MASS PARTICIPATION FACTORS IN PERCENT BASE SHEAR IN MTON


-------------------------------------- ------------------

MODE X Y Z SUMM-X SUMM-Y SUMM-Z X Y Z

1 80.41 0.00 0.00 80.412 0.000 0.001 25.43 0.00 0.00


2 0.00 0.00 63.72 80.412 0.000 63.723 0.00 0.00 0.00
3 0.03 0.00 5.78 80.442 0.000 69.506 0.01 0.00 0.00
4 0.06 0.00 0.58 80.507 0.000 70.087 0.01 0.00 0.00
5 9.75 0.00 0.01 90.253 0.000 70.100 1.90 0.00 0.00
6 0.00 0.00 5.65 90.253 0.000 75.754 0.00 0.00 0.00
7 0.02 0.00 0.01 90.271 0.000 75.764 0.00 0.00 0.00
8 0.01 0.00 4.77 90.277 0.001 80.529 0.00 0.00 0.00
9 3.49 0.00 0.00 93.771 0.001 80.529 0.60 0.00 0.00
10 0.00 0.00 0.07 93.771 0.001 80.603 0.00 0.00 0.00
---------------------------
TOTAL SRSS SHEAR 25.51 0.00 0.00
TOTAL 10PCT SHEAR 25.51 0.00 0.00
TOTAL ABS SHEAR 27.95 0.00 0.00
TOTAL CQC SHEAR 25.51 0.00 0.00

 *"4  Postprocessing *!ก


  ,4 

 #+   Node > Displacement *!ก4)ก


  ก
8) "
 4  ก)ก Labels…

  "  3 


ก( Scale ก&" Apply Immediately 
+

 ก&" Displacement - /ก4)ก


& - *+ "

 " -
-ก4)ก
   Story Drift 4)"ก4)ก
ก
7 (Top Story Drift) *#-ก " Node Displacements  5) 4 
4) ก ก( Summary ก )ก7 ) Max Rst  ก. 4 
231 ก 
19.69 mm
STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7 - 11
  
." Total Drift Index  53 
* H = 40 m
∆/H = 19.69 mm / 40 m = 1 / 2031 < 1 / 500 OK

STAAD.Pro : Response Spectrum Analysis 7 - 12


8
Time History Analysis

Time History Analysis ก


  

 !
"#ก$!%&  f(t) 'ก%&()ก$! %&*+
,-! ' $%. ก

 * &
%&(),-!'/&%+ ก&0&%& ก ก *!&$ (Displacement : u ),
(1 (Velocity : u& = du / dt )  ( (Acceleration : u&& = d 2 u / dt 2 ) ' 
((ก%&ก *!&,-! (Equation of Motion) *&

M &&
u( t ) + C u& ( t ) + K u( t ) = f ( t )

(*!& M *& (


ก(  (Mass Matrix), C *& (
ก (   (Damping Matrix)  K
*& (
ก
" (Stiffness Matrix)

0,-+  ' 
! (  ก2ก
      
   
3- Time History
Analysis ก
    &0&'ก 
  % &()  ก$!  *+ 
%&

 El Centro !(-$ก2. $)%

 1 
    El Centro

STAAD.Pro : Time History Analysis 8-1


ก
ก( STAAD.Pro ' (-"$ &%&()
 ' &)"&
../Spro200X/STAAD/Examp/US/EQDATA.TXT *! & (  ก  " % & () 
  
  EQDATA.TXT    "& ,/  ก
% & STAAD.Pro (*! & &
ก( Notepad 4")' (-$ก2. $)

 2     EQDATA.TXT

 *!& (  ก' (& ,-! 0,,-! $)

 *&ก() File | Open *!&4" ModalBuilding.std ,-!  %+(

 *&ก() File | Save As… -!*!& TimeHistory.std

   General | Load 


กก Definition *&ก Time History Definitions
*!&
!(ก/ 
(%&& ,-!' (ก ,/& 

 
ก56( Add… *&กก Define Time History *!&"%&()


STAAD.Pro : Time History Analysis 8-2


" EQDATA.TXT "&$ก23(!(74)(-%&()&)&7 *& 
 (*+
$$ &%
0.0000 0.006300
0.0200 0.003640
0.0400 0.000990
0.0600 0.004280
0.0800 0.007580
0.1000 0.010870

%&() (%0' $ %&  “g” ('ก(7  $$+,-! 0.02


,-
( *& 0.00364 ). 9.806 m/s2


ก56( Add  *&กก Define Param   Arrival time  ,-!+/ $ก
0,5ก
!(%,/ *&ก 0.0 (*!&((-+/ $ก&*!%,/ (  %&,5ก (7)ก*&ก
 0.05 $)

STAAD.Pro : Time History Analysis 8-3


 
ก56( Add  (  Close ก  Load ' 
!(%+

 ก /$!,-!7)ก%+ *&


DEFINE TIME HISTORY
TYPE 1 ACCELERATION
READ EQDATA.TXT
ARRIVAL TIME
0
DAMPING 0.05

 
กก Load Cases Details ก.-0,5ก LOAD 3 : SEISMIC LOAD

STAAD.Pro : Time History Analysis 8-4


 
กก Load 3 ก56( Add… *&กก
SELFWEIGHT X 1
SELFWEIGHT Y 1
SELFWEIGHT Z 1

 
ก56( Add *&กก Time History %&()$)%

"ก& 9.806 (7  ('ก" EQDATA.TXT ' 7)ก ).  9.806 ก&
/

 
ก56( Add  (  Close  Load ' ก

ก /$!,-!7)ก%+ *& :


LOAD 3 LOADTYPE None TITLE SEISMIC LOAD
SELFWEIGHT X 1
SELFWEIGHT Y 1
SELFWEIGHT Z 1
GROUND MOTION X 1 1 9.806

 ,-!  Analysis/Print *&ก Print Option ,-!&ก  ก56( Add

STAAD.Pro : Time History Analysis 8-5


 $!$ก / . Analyze > Run Analysis…

 ,-! ( Post-processing   Dynamics | Modes *!&))00ก$!


 (

   Animation   Diagrams *&ก Diagram Type  Deflection


$ 0   '/    extra "( (1 FPS  ก   ( (*! &) ก $!  %&
& 'ก%&


 ก56( F12 *!&)1('&

   Dynamics | Time-Disp *!&)   *!&,-! Displacement 


%& ( *&ก ' ก/ ก5( ,$+$+กก *!&,-! *&(

 
ก56( Yes

  &(*!& TopFloor *&ก


,-!' '$ก5( Node  
ก56( OK

STAAD.Pro : Time History Analysis 8-6


  Create Group ' %+($)%

 กก/  ก5(' ก Assign (-(


3- *&
• Associate to View : ก/  ,$+ (,-!&)

• Associate to Selected Geometry : ก/   ,-!7)ก*&ก&)

• Associate to List : ก/  & & ( (%,-!


(& List

 ก.--+' 
3- Associate to Selected Geometry '&*&ก ,-!' '$ก5(
-ก&  
ก  $ก( $ก   && *&(

 *&ก $+05%&& ก*&ก(5((& -ก&0'$)

STAAD.Pro : Time History Analysis 8-7


 ก$0()  Create Group *&กก Associate to Selected Geometry 

ก56( Associate  Select Group ' %+(

 
ก,-!ก G1: _TOPFLOOR %'  Time History %&ก5(,-!
*&ก ก X, Y  Z

 7&4  Select Groups    


ก & Time-Disp &-ก $+

 7&ก) ,-! -! 8  4  Select Group  


ก,-! ,-!&ก

 7&กก5( ( *&กก5( ,-!&ก  *&ก() Tools | Create New


Group…

STAAD.Pro : Time History Analysis 8-8


STAAD.Pro : Time History Analysis 8-9
9
Pushover Analysis

Pushover Analysis ก 


    ก 
FEMA 356  !"#$%& '((#)%*ก+ ! ,-#", ./
#  * ก 01 ก 0(,   ( ก ก   +ก 0*,  #  * ก 01 ก " ก( /  0-   *  0(,
ก 

&ก 
   '((#+ (*#
" *#ก %& /ก  &
 *, 0(,
  & % *#0(,0ก 
 
 % *#0(,
"ก! +2
)%& )%

  ,ก STAAD.Pro %"ก 


 Space *#", PushBLD %"ก

  Meter   Mton

 & *%"ก Open Structure Wizard % Bay Frame &/%


&/%

 *,/ File > Merge Model with STAAD.Pro Model !", %0(,-#
ก%*0(, STAAD.Pro + %
*&/%

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-1


   General > Property %"ก * %3ก+ก South Korean *&/

 %"ก ก Ref 1 ก & 


 *,/ Select > Beams Parallel To  X

 *,/(ก
*# Select > Beams Parallel To  Z !",%"ก

&

 %"ก '( Assign To Selected Beams


% ก14 Assign

 %"ก ก Ref 2 *,/ Select | Beams Parallel To  Y !",%"ก



&
 ,

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-2


 %"ก '( Assign To Selected Beams
% ก14 Assign


% ก
 3D Rendered View +/


   General > Support +1* Fixed %ก &  0(,$


Pushover Definitions

ก 
  Pushover *#
5*5% ก % ( กก+  ,ก
 


   General > Load


% ก ก Definition %"ก ก Pushover Definitions
!", ,ก  %0(,+ ก 0



% ก14 New… " Add… !", ,&/%

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-3


กก !  Pushover + ( / 5 
"
1. Define Input
2. Load Patterns
3. Spectrum Details
4. Hinge Properties
5. Solution Control

1 : Define Load

*#กกก !  Pushover


"ก&/%&  Define Input
*&/%


% ก*%"ก General Input Parameter ก 
!  *&/% %
% ก
14 Add

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-4



% ก*%"ก Member Specific Parameters ก ก%*
ก Expected Yield
Stress = 25,000 Mton/m2 *&/


% ก14 Add + ( ก/%/ก! ,-#&  Load 6 & Pushover
Definitions *&/%

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-5



% ก ก FYE 25,000 Mton/m2 ก & 01ก

  & Assign To View

", 
  ก+  
2 : Load Patterns


% ก ก Define Loading Pattern !",&/%%*ก72 # *ก01ก

%"ก Load Pattern  Auto + ก กก +  ,8"0(,$ 0
 ก
% ก Method For Lateral Load Calculation + ( Method 1, 2 " 3 & 
%"ก ก  STAAD + & '(0(,ก 

ก+ก*# *+
% ก Total Base Shear To Be Distributed 5-,)/&+ &
8"
0(,$% 0 0% &ก+ 1 10% # *ก

+
*#ก0(,1&ก! ,# *ก01กก & Number of Push
Load Steps

 ",ก 
3+%
% ก14 Add
3 : Spectrum Detail


% ก ก Define Spectrum Detail !",&!  
*0(,+ &
-
0(,+ && (#
" 53 
  ก9 (Critical Damping)
 *
*0(, 1, 2, 3 % 4
-   Site Category 0(,(& %"ก+ก ก
" Class A, B, C, D " E  
ก FEMA

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-6


- ก 
 Mapped Spectral Acceleration  ก FEMA

 ",ก 
3+%
% ก14 Add
4 : Hinge Properties


% ก ก Define Hinge Property !",ก 
12* +1

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-7


& Hinge Type + (& %"ก 
" &ก  FEMA, Ignore "
 User Define
 %"ก Hinge ก  FEMA
% ก14 Add...

  ก Hinge 0(,-#+ -#&  Load & 


% ก%"ก ก %& 
Assign To View !",ก & 01ก



5 : Solution Control


% ก ก Define Solution Control !",ก 
12* ก 


STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-8


ก 
  Pushover /กก &  #1 กก 
8"0(,$
% / " ก ก*
  %"ก0 0ก X " Z

 &/%&/ 3+%
% ก14 Add  Close


*,0(,/ก-#
"
DEFINE PUSHOVER DATA
FRAME 2
GNONL 0
SAVE LOADSTEP RESULT DISP 0.000100
FYE 25000.000000 ALL
VDB 1
LDSTEP 500
HINGE FEMA ALL
SPECTRUM PARAMETERS
DAMPING 5.0000 0.0000 0.0000 0.0000
SC 5
SS 0.25
S1 0.1
DISP Z 0.5 JOINT 13
END PUSHOVER DATA

Create Gravity Load


% ก ก Load Case Details ก2(01ก*#", Gravity Load


% ก ก Load 1 0(,-# &# *ก Selfweight Y -1

 &# *ก Uniform Force > W1 = -2 Mton/m 0 0 GY


% ก14 Add  Close

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9-9



% ก ก# *ก UNI GY -2 Mton/m 0(, *
", 
 /

 *,/ Select > Beam Parallel To > X !",%"ก


&ก X 0*# 

 & '( Assign To Selected Beams


% ก14 Assign + *&/

Perform Pushover Analysis

   Analysis/Print     0(, -# 


% ก  Perform Pushover
Analysis

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9 - 10



% ก14 Add  Close  ก Perform Pushover Analysis + /ก! ,*
&/

 *,*ก
2 
 Analyze > Run Analysis… "ก Ctrl + F5

 ",*ก
2)& /  Post Processing + *ก 3  Pushover ! ,
-#0(, ,
Pushover | Loads

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9 - 11


 Fx, Fy % Fz 0(, % 8"0(,$ก0(,1&% *#
# *ก01ก

 ",%(, 
& Load Step
.+ %(, *&/%

Pushover | Capacity Curve

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9 - 12


(#ก= Capacity Curve 5-,
*!*'  8"0(,$%  ก

%",0(,+1

1

 ก Ctrl A !",%"ก0*#% %*, Translation Repeat *(#

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9 - 13


 + %
0(,(& >-#*&/ + 0(, 


   General > Load


% ก ก& Pushover Definition *&/% %
ก14 Edit…

 %(,  Control Joint  40 %


% ก14 Change  Close

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9 - 14


 *,*ก
2 
 Analyze > Run Analysis…

 ?/ Pushover > Capacity Curve

STAAD.Pro : Pushover Analysis 9 - 15

Você também pode gostar