Você está na página 1de 4

Following the thread:

an ethnography of the textile industry


in Vientiane (Lao P.D.R.)

ตามรอยไหม:
ชาติพันธุ์วรรณาของอุตสาหกรรมผ้าทอในเวียงจันทน์
สาธารณรัฐประชาธิป ไตยประชาชนลาว

Annabel Vallard
postdoctoral fellow
ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ฝรั่งเศส
(CNRS/France)

9 มีนาคม 2554
เวลา 13.00 - 15.00 น.
โครงการปริญญาเอก
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ชั้น 4 ตึกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
Following the thread:
an ethnography of the textile industry
in Vientiane (Lao P.D.R.)

ตามรอยไหม:
ชาติพันธุ์วรรณาของอุตสาหกรรมผ้าทอในเวียงจันทน์
สาธารณรัฐประชาธิป ไตยประชาชนลาว

Annabel VALLARD
postdoctoral fellow
ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ฝรั่งเศส
(CNRS/France)

9 มีนาคม 2554
เวลา 13.00 - 15.00 น.
โครงการปริญญาเอก
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ชั้น 4 ตีกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
abstract

Following the Thread:


an ethnography of the textile industry in Vientiane (Lao P.D.R.)

Southeast Asian textiles have typically been approached as objects of material culture
viewed from the perspective of the history of art or ethnology. The latter favors a
taxonomic approach in reference to iconography and representation, style and usage
and, moreover, ethnic groups. Due to their place in these classifications, textiles have
often been conceptualized as ‘surfaces’ that are inscribed with markers of ethnic
identities.

This talk aims to present another possible approach of textile which considers the fabric
in its essential definition, a pliable material made up by the interlacing of at least two
perpendicular layers - the warp and the weft. This let the researcher to focus on the
zones where textiles are most tangible and to examine the various modalities of its
presence in regard to humans along the various stages of their commercial trajectory
that link ‘weaving villages’ with the largest market of Laos, the morning market in
Vientiane.

บทคัดย่อ

ตามรอยไหม: ชาติพันธุ์วรรณาของอุตสาหกรรมผ้าทอในเวียงจันทน์ สาธารณรัฐ


ประชาธิปไตยประชาชนลาว

โดยทั่วไป การศึกษาเกี่ยวกับผ้าพื้นเมืองในเอเชียอาคเนย์มักจะเป็นการศึกษาจากมุมมองทาง
ประวัติศาสตร์ศิลปะหรือชาติพันธุ์วิทยา ซึ่งพิจารณาผ้าในฐานะที่เป็นวัตถุทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะใน
ทางชาติพันธุ์วิทยา มักสนใจจัดหมวดหมู่แยกประเภท จากการวิเคราะห์เชื่อมโยงรูปสัญลักษณ์และภาพ
ตัวแทน รูปแบบและการใช้สอย ตลอดจนถึงกลุ่มชาติพันธุ์ สถานะของผ้าพื้นเมืองในแนวการวิเคราะห์
จัดหมวดหมู่ ได้นํามาสู่กรอบความคิดที่มองผ้าพื้นเมืองเป็นเพียง “พื้นผิว” ซึ่งบรรจุเอาเครื่องหมายของ
อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์เอาไว้

การบรรยายครั้งนี้มุ่งเสนอแนวการศึกษาเกี่ยวกับผ้าพื้นเมืองที่พิจารณาผ้าทอจากคํานิยามพื้นฐานที่สุด
คือเป็นวัสดุที่เกิดจากการทอเส้นด้ายขัดกันอย่างน้อยสองชั้น (ได้แก่ด้ายเส้นยืนกับเส้นพุ่ง) การมองผ้า
พื้นเมืองเป็นวัตถุชนิดหนึ่ง ทําให้ผู้วิจัยสามารถให้ความสนใจกับมิติที่มีตัวตนจับต้องได้มากที่สุดของผ้า
พื้นเมือง และทําการสํารวจตัวตนการมีอยู่ของผ้าในแง่ที่สัมพันธ์กับมนุษย์ผ่านหลากหลายขั้นตอนของ
เส้นทางการค้าที่เชื่อมโยงเอา “หมู่บ้านทอผ้า” เข้ากับตลาดเช้าในเวียงจันทน์ อันเป็นตลาดใหญ่ที่สุด
ของลาว
Following the thread:
an ethnography of the textile industry
in Vientiane (Lao P.D.R.)

ตามรอยไหม:
ชาติพันธุวรรณาของอุตสาหกรรมผาทอในเวียงจันทน
สาธารณรัฐประชาธิป ไตยประชาชนลาว

Annabel VALLARD
postdoctoral fellow
ศูนยเอเชียตะวันออกเฉียงใต
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรแหงชาติ ฝรั่งเศส
(CNRS/France)

9 มีนาคม 2554
เวลา 13.00 - 15.00 น.
โครงการปริญญาเอก
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ชั้น 4 ตีกสังคมสงเคราะหศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

Você também pode gostar