Você está na página 1de 89

บทนํา

การพิสูจนตัวตน (Authentication)
การปกปองความมั่นคงปลอดภัยของระบบและขอมูลภายในองคกรถือเปนเรื่องสําคัญใน
ปจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากการถูกคุกคามโดยผูไมประสงคดีหรือจากโปรแกรมบางประเภทไดเพิ่ม
มากขึ้นและอาจนํามาซึ่งความเสียหายอยางมากตอองคกร ดังนั้นถาภายในระบบมีการควบคุม
ความปลอดภัยที่ดีจะชวยลดโอกาสเสี่ยงตอการถูกคุกคามได
เอกสารฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพิสูจนตัวตนซึ่งเปนขั้นตอน
พื้นฐานที่สําคัญของการควบคุมความปลอดภัย ในกระบวนการการพิสูจนตัวตนจะนําหลักฐาน
ที่ผูใชกลาวอางมาตรวจสอบวาบุคคลที่กลาวอางนั้นเปนใครและไดรับอนุญาตใหสามารถเขามา
ภายในระบบไดหรือไม การพิสูจนตัวตนมีหลายประเภทที่ใชอยูในปจจุบัน เชน การพิสูจน
ตัวตนโดยใชรหัสผาน หรือโดยใชรหัสผานที่ใชเพียงครั้งเดียว เปนตน แตละชนิดนั้นจะมีขอดี
ขอเสียแตกตางกันไปขึ้นอยูกับความจําเปนในการใชงาน ในระบบเครือขายแบบเปดหรือ
อินเตอรเน็ตนั้นการพิสูจนตัวตนถือไดวาเปนกระบวนการเริ่มตนและมีความสําคัญที่สุดในการ
ปกปองเครือขายใหปลอดภัย และกลาวถึงโพรโตคอลการสื่อสารที่มีการพิสูจนตัวตนที่นิยมใช
ในปจจุบัน เชน Secure Socket Layer (SSL) Internet Security (IPsec)

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 2
การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐

ดวยในปจจุบันการติดตอสื่อสารผานระบบคอมพิวเตอรหรือระบบอิเล็กทรอนิกสเริ่มเขา
ไปมีบทบาท และทวีความสําคัญเพิ่มขึ้นตามลําดับตอระบบเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน แตในขณะเดียวกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรมีแนวโนมขยายวงกวาง
และทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร นับเปนพยานหลักฐานสําคัญใน
การดําเนินคดี อันเปนประโยชนอยางยิ่งตอการสืบสวน สอบสวน เพื่อนําตัวผูกระทําความผิดมา
ลงโทษ จึงสมควรกําหนดใหผูใหบริการมีหนาที่ในการเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร
ดังกลาว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๖ วรรค ๓ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ดังนั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร จึงไดกําหนดหลักเกณฑไวดังตอไปนี้
ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา "หลักเกณฑการเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผู
ใหบริการ พ.ศ. ๒๕๕๐"
ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม
ประกาศนี้
ขอ ๔ ในประกาศนี้
"ผูใหบริการ" หมายความวา
(๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย
ประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง
หรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
(๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
"ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร" หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของ
ระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ
ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร
นั้น บริการใชอินเทอรเน็ตและเครือขายทั่วไปในหนวยงานของตนเองอีกดวย

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 3
"ระบบคอมพิวเตอร " หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณที่เชื่อมการทํางานเขา
ดวยกัน โดยไดมีการกําหนด คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณ
หรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ
"ผูใชบริการ" หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการ
หรือไมก็ตาม
ขอ ๕ ภายใตบังคับของมาตรา ๒๖ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเภทของผูใหบริการซึ่งมีหนาที่ตองเก็บรักษาขอมูล
จราจรทางคอมพิวเตอรแบงไดดังนี้
(๑) ผูใหบริการแกบุคคลทั่วไปในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย
ประการอื่น ทั้งนี้ โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง
หรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น สามารถจําแนกได ๔ ประเภท ดังนี้
ก. ผู ป ระ กอบ กิ จ การโทรคมนาคมและการกระจายภาพและเสี ย ง
(Telecommunication and Broadcast Carrier) ประกอบดวยผูใหบริการดังปรากฏตาม
ภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ข. ผูใหบริการการเขาถึงระบบเครือขายคอมพิวเตอร (Access Service Provider)
ประกอบดวยผูใหบริการดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ค. ผูใหบริการเชาระบบคอมพิวเตอร หรือใหเชาบริการโปรแกรมประยุกตตาง ๆ
(Host Service Provider) ประกอบดวยผูใหบริการดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทาย
ประกาศนี้
ง. ผูใหบริการรานอินเทอรเน็ต ดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
(๒) ผูใหบริการในการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลตาม (๑)
(Content Service Provider) เชน ผูใหบริการขอมูลคอมพิวเตอรผานแอพพลิเคชั่นตาง ๆ
(Application Service Provider) ประกอบดวยผูใหบริการดังภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ขอ ๖ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่ผูใหบริการตองเก็บรักษา ปรากฏดังภาคผนวก ข.
แนบทายประกาศนี้
ขอ ๗ ผูใหบริการมีหนาที่เก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ดังนี้

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 4
(๑) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ก. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๑
(๒) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ข. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนาที่การใหบริการ
(๓) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ค. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนาที่การใหบริการ
(๔) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ง. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๓
(๕) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๒) มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๔
ทั้งนี้ ในการเก็บรักษาขอมูลจราจรตามภาคผนวกตาง ๆ ที่กลาวไปขางตนนั้น ใหผู
ใหบริการเก็บเพียงเฉพาะในสวนที่เปนขอมูลจราจรที่เกิดจากสวนที่เกี่ยวของกับบริการของตน
เทานั้น
ขอ ๘ การเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ผูใหบริการตองใชวิธีการที่มั่นคง
ปลอดภัย ดังตอไปนี้
(๑) เก็บในสื่อ (Media) ที่สามารถรักษาความครบถวนถูกตองแทจริง (Integrity)
และระบุตัวบุคคล (Identification) ที่เขาถึงสื่อดังกลาวได
(๒) มีระบบการเก็บรักษาความลับของขอมูลที่จัดเก็บ และกําหนดชั้นความลับ
ในการเขาถึงขอมูลดังกลาว เพื่อรักษาความนาเชื่อถือของขอมูล และไมใหผูดูแลระบบ
สามารถแกไขขอมูลที่เก็บรักษาไว เชน การเก็บไวใน Centralized Log Server หรือการ
ทํา Data Archiving หรือทํา Data Hashing เปนตน เวนแตผูมีหนาที่เกี่ยวของที่เจาของ
หรือผูบริหารองคกร กําหนดใหสามารถเขาถึงขอมูลดังกลาวได เชน ผูตรวจสอบระบบ
สารสนเทศขององคกร (IT Auditor) หรือบุคคลที่องคกรมอบหมาย เปนตน รวมทั้ง
พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้
(๓) จัดใหมีผูมีหนาที่ประสานงานและใหขอมูลกับพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งไดรับ
การแตงตั้งตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.
๒๕๕๐ เพื่อใหการสงมอบขอมูลนั้น เปนไปดวยความรวดเร็ว

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 5
(๔) ในการเก็บขอมูลจราจรนั้น ตองสามารถระบุรายละเอียดผูใชบริการเปน
รายบุคคลได (Identification and Authentication) เชน ลักษณะการใชบริการ Proxy
Server, Network Address Translation (NAT) หรือ Proxy Cache หรือ Cache Engine
หรือบริการ Free Internet หรือบริการ 1222 หรือ Wi-Fi Amnat-EDv2 ตองสามารถระบุ
ตัวตนของผูใชบริการเปนรายบุคคลไดจริง
(๕) ในกรณีที่ผูใหบริการประเภทหนึ่งประเภทใด ในขอ ๑ ถึงขอ ๔ ขางตน ได
ใหบริการในนามตนเอง แตบริการดังกลาวเปนบริการที่ใชระบบของผูใหบริการซึ่งเปน
บุคคลที่สาม เปนเหตุใหผูใหบริการในขอ ๑ ถึงขอ ๔ ไมสามารถรูไดวา ผูใชบริการที่เขา
มาในระบบนั้นเปนใคร ผูใหบริการเชนวานั้นตองดําเนินการใหมีวิธีการระบุและยืนยัน
ตัวบุคคล (Identification and Authentication) ของผูใชบริการผานบริการของตนเองดวย
ขอ ๙ เพื่อใหขอมูลจราจรมีความถูกตองและนํามาใชประโยชนไดจริง ผูใหบริการตอง
ตั้งนาฬิกาของอุปกรณบริการทุกชนิดใหตรงกับเวลาอางอิงสากล (Stratum 0) โดยผิดพลาดไม
เกิน ๑๐ มิลลิวินาที
ขอ ๑๐ ผูใหบริการซึ่งมีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตามขอ ๗ เริ่มเก็บขอมูล
ดังกลาวตามลําดับ ดังนี้
(๑) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ก. เริ่มเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพน
สามสิบวัน นับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๒) ใหผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ข. เฉพาะผูใหบริการเครือขายสาธารณะหรือผู
ใหบริการอินเทอรเน็ต (ISP) เริ่มเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพนหนึ่งรอยแปด
สิบวันนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ผูใหบริการอื่นนอกจากที่กลาวมาในขอ ๑๐ (๑) และขอ ๑๐ (๒) ขางตน ใหเริ่มเก็บขอมูล
จราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพนหนึ่งปนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

สิทธิชัย โภไคยอุดม
รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 6
ความเปนมาของ Linux CentOS

เมื่อเราไดทําการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐ แลว ขั้นตอนตอไปจะเปนวิธีการติดตั้งระบบ OS ที่ใชในการจัดเก็บ
และบริหารระบบงาน ในที่นี้เราจะใช CentOS 5.5 หากทานใดจะนําไปใชหรือพัฒนาตอเปน
Linux Distribution ไหนก็ได
ในปจจุบันซอฟตแวรสําหรับใชทําเปนระบบ Intranet หรือ Internet Server ขององคกรมี
ใหเลือกใชงานหลายตัวดวยกัน อาทิ เชน Windows Server (Windows Server 2003, Windows
Server 2008), Linux Server (RedHat, Fedora, CentOS, Ubuntu, Debian, Slackware, SuSE,
Mandriva, OpenNA, IPCop, Linux-SIS), BSD Server (FreeBSD, OpenBSD, NetBSD), Solaris
(Sun Solaris, OpenSolaris) เปนตน การที่จะเลือกระบบปฏิบัติการตัวใดมาทําเซิรฟเวอรใชงาน
ในองคกรนั้น สําหรับ Admin มือเกาไมนาเปนปญหามากนักเพราะไดทดสอบลองผิดลองถูกมา
พอสมควร จะวาไปแลวในอดีตใครที่ติดตั้ง Linux และทําการคอนฟกใหระบบใชงานผานไดก็
ถือวาเกงพอสมควร รวมทั้งหลังการติดตั้งเสร็จก็สามารถเปดใชงานไดตามปกติ นอยครั้งนักที่
ระบบจะโดนแฮกซ แตหากเปน Admin นองใหมในปจจุบันการลองผิดลองถูกคงเปนการยาก
แลว เนื่องจากปจจุบันมีแฮกเกอรทั่วบานทั่วเมืองใครๆ ก็สามารถเรียนรูวิธีการแฮกซระบบ
เซิรฟเวอรผานเว็บ Google สําหรับ Admin นองใหมกวาจะทดลองสําเร็จบางครั้งระบบโดนเจาะ
ไปเรียบรอยแลว
ระบบปฏิบัติการเครือขายลีนุกซที่ชื่อวา CentOS ยอมาจาก Community ENTerprise
Operating System เปนลีนุกซที่พัฒนามาจากตนฉบับ RedHat Enterprise Linux (RHEL) โดยที่
CentOS ไดนําเอาซอรสโคดตนฉบับของ RedHat มาทําการคอมไพลใหมโดยการพัฒนายังเนน
พัฒนาเปนซอฟตแวร Open Source ที่ถือลิขสิทธิ์แบบ GNU General Public License ในปจจุบัน
CentOS Linux ถูกนํามาใชในการทํา Web Hosting กันอยางกวางขวางเนื่องจากเปน
ระบบปฏิบัติการที่มีตนแบบจาก RedHat ที่มีความแข็งแกรงสูง (ปจจุบันเนนพัฒนาในเชิง
การคา) การติดตั้งแพ็กเกจยอยภายในสามารถใชไดทั้ง RPM, TAR, APT หรือใชคําสั่ง YUM ใน
การอั ป เดทซอฟต แ วร แ บบอั ต โนมั ติ สามารถอ า นรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ที่ เ ว็ บ ไซต
http://www.centos.org

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 7
เหตุผลหลักที่องคกรจะเลือกใชระบบ CentOS
สําหรับองคกรธุรกิจเหมาะสมอยางมากที่จะนําระบบตัวลีนุกซตัวนี้มาทําเปน เซิรฟเวอร
ใช ง านภายในองค ก ร โดยพอสรุ ป เหตุ ผ ลหลั ก ในการนํ า ระบบนี้ ม าใช ง านได ดั ง นี้
1. เพื่อประหยัดงบประมาณขององคกร เนื่องจาก CentOS เปนซอฟตแวรโอเพนซอส
องคกรไมจําเปนตองจายคาลิขสิทธซอฟตแวร (เพียงแตผูดูแลระบบตองลงทุนเรียนรูระบบกอน
การใชงาน ในปจจุบันสามารถเรียนรูไดงายดายผานทางหนาเว็บ Google.com)
2. เพื่อนํามาทําเซิรฟเวอรบริการงานตางๆ ในองคกร ซึ่งภายใน CentOS มีแพ็กเกจยอยที่
นํามาใชทําเซิรฟเวอรสําหรับใชงานในองคกรจํานวนมาก อาทิ เชน Web Server(Apache), FTP
Server(ProFTPd/VSFTPd),MailServer(Sendmail/Postfix/Dovecot),Database Server(MySQL/P
ostgreSQL), File and Printer Server(Samba), Proxy Server(Squid), DNS Server(BIND),
DHCP Server(DHCPd), Antivirus Server(ClamAV), Streaming Server, RADIUS
Server(FreeRADIUS), Control Panel(ISPConfig) เปนตน
3. เพื่อนํามาทําเปนระบบเซิรฟเวอรสําหรับจายไอพีปลอม (Private IP Address) ไปเลี้ยง
เครื่องลูกขายในองคกร รวมทั้งตั้งเปนระบบเก็บ Log Files ผูใชงาน เพื่อใหสอดคลองกับพระ
ราชบัญญัตวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอรป 2550

การออกแบบเครือขายขนาดเล็ก-กลาง โดยใช CentOS เปนเซิรฟเวอรบริการงานตางๆ

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 8
แพ็กเกจยอดนิยมสําหรับใชงานบนระบบ CentOS
สําหรับในแผน CD ของ CentOS มีแพ็กเกจที่สามารถนํามาติดตั้งใชงานไดทันทีจํานวน
มาก โดยสามารถนํามาติดตั้งใชงานไดทันที สําหรับแพ็กเกจที่ไมมีอยูในแผน CD สามารถเขา
ไปดาวนโหลดไดที่เว็บไซต http://www.rpmfind.net หรือ http://www.freshrpms.net คิดวาคง
เพียงพอตอการใชงาน เพื่อที่จะเปนการยกระดับหรือพัฒนาความรู ความสามารถในวงการ
Admin ไทย

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 9
เตรียมความพรอมกอนการติดตั้ง

การทําระบบ Authentication + LOG นั้นจะตองมีอุปกรณในการทํางาน ดังตอไปนี้


1. SPEC COMPUTER
CPU ขั้นต่ําประมาณ 1.5 GHz
HDD ประมาณ 160 GB
RAM ประมาณ 512 MB
DVD-ROM (เพราะ CentOS 5.5 เปนแบบ DVD)
VGA ONBOARD (เพราะเราใชเปน TextMode)
อื่น ๆ SOUND USB ไมจําเปนในการติดตั้ง
2. NETWORK
LAN CARD 2 ใบ แนะนําใหเปน CARD ไมแนะนําใหเปน ONBOARD
เพราะบางรุน CentOS 5.5 ไม สนับสนุน ตัวอยางยี่หอที่แนะนําใหใชงาน Real Tek
SMC Zyxel 3COM D-Link
3. สายแลน UTP 2 เสน
เสนที่ 1 เพื่อเชื่อมตอ Computer ไปยัง Switch HUB ที่สามารถเชื่อมตอ Internet ได
เสนที่ 2 เพื่อเชื่อมตอ Computer ไปยัง Computer Client ที่จะใชในการ Config
4. OS Linux CentOS 5.5 DVD – I386 * แผนนี้จะไดรับในการอบรม
5. AutoInstall (Chillispot FreeRadius Database User-Manage File-Config Putty
WinSCP EditPlus) * แผนนี้จะไดรับในการอบรม
6. Computer Client ใชในการ Config คาตาง ๆ และใชในการทดสอบระบบ (แนะนํา
ใหเปนNoteBook เพื่องายตอการเคลื่อนยาย)
7. พื้นฐานในการใชงานระบบปฏิบัติการ DOS และ Network (เบื้องตน)

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 10
เริ่มการติดตั้ง (Install)

ขั้นตอนตอไปจะเปนการติดตั้ง Linux CentOS 5.5


1. ใหทําการตั้งคา BIOS Computer เพื่อบูท จาก DVD-ROM
2. ใสแผน CentOS 5.5 I386 DVD (ที่ไดรับในการอบรม)
3. เมื่อทําการ Boot จะเขาสูการติดตั้ง CentOS 5.5 ทันที

พิมพคําวา linux text แลวก็ ENTER เราจะทําการติดตั้งระบบ CentOS 5.5 แบบ Text
MODE ไมใชแบบ Graphic MODE

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 11

ระบบจะทําการประมวลผลการทํางาน และเช็คอุปกรณตาง ๆ ในระบบ

ระบบทําการตรวจสอบแผน DVD วาไฟลขอมูลในแผนสมบูรณหรือไม ถาเรามั่นใจใน


แผนที่จะใชในการติดตั้งใหเลือก Skip (จะขามการตรวจสอบแผน DVD)

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 12

ยินดีตอนรับเขาสู CentOS Installation เลือก OK

ทําการเลือกภาษาที่ใชในการติดตั้ง เลือก English แลว OK

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 13

เลือกรูปแบบของ Keyboard ที่ใชในการติดตั้งในที่นี้เลือก us แลวเลือก OK

ระบบทําการเตือนวา Partition ที่ทําการสรางขึ้นใหมนี้อาจจะลบขอมูลเกาทั้งหมดออกก็


ได คุณมั่นใจในการกระทําครั้งนี้หรือไม ในที่นี้ใหเลือก Yes แลว Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 14

ระบบจะทําการติดตั้ง Partition ที่จะใชงานในระบบ CentOS คุณตองการที่จะลบขอมูล


Partition เกาออกหมดหรือไม ในที่นี้เลือก Remove all partition on selected drives and
create default layout แลว OK

คุณตองการที่จะลบ Partition และขอมูลทั้งหมดเลยหรือไม ในที่นี้เลือก Yes แลว Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 15

ระบบตรวจสอบวาคุณตองการที่จะสรางหรือดูโครงสรางของ Partition ที่ถูกสรางขึ้นมา


ใหมหรือไม ในที่นี้เลือก Yes เพื่อที่จะดูรูปแบบโครงสรางของ Partition

รูปแบบโครงสรางของ Harddisk ที่ไดทําการสราง Partition เรียบรอยแลว ในที่นี้ให


TAB มาที่ OK แลว Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 16

ระบบตรวจสอบ Memory เตือนวา RAM ของเรานอยกวาที่ Spec กําหนด (บาง


เครื่องอาจจะไมแสดงในสวนนี้) ใหเลือก Yes แลว Enter

ระบบจะทําการติดตั้ง Boot Loader เราตองการที่จะติดตั้งหรือไม ในที่นี้ใหเลือก Use


GRUB Boot Loader แลว TAB มาที่ OK Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 17

ระบบจะใหกําหนดคา Boot Loader Configuration ในสวนนี้ไมตองกําหนดคาใด ๆ ให


เลือกที่ OK แลว Enter

ระบบใหกําหนดรหัสผานของ GRUB Boot Loader ในที่นี้ไมตองกําหนด ให TAB มาที่


OK แลว Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 18

ระบบจะทําการแจงวา Boot Loader ใหทําการติดตั้งไวที่ Partition สวนใด ในที่นี้ใหเรา


TAB มาที่ OK แลว Enter

ระบบใหทําการติดตั้ง Boot Loader ไวในสวนของ Sector สวนใด ใหเลือกที่ Master


Boot Record (MBR) แลว TAB มาที่ OK และ Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 19

ระบบจะใหทําการ Network Configuration ใหเราเลือกที่ eth0 : UNCONFIGURED คือ


การดแลนที่ใชในการเชื่อมตอ Internet เขาสู Server ให TAB มาที่ Edit และ Enter

ระบบจะใหตั้งคา eth0 ในที่นี้ใหเลือก ที่ Activate on boot เพื่อเปดการใชงานเมื่อ Boot


และเลือก Enable IPv4 support เพื่อรองรับ Protocal ที่ใชงานคือ TCP/IP หรือ TCP/IPv4 แลว
TAB มาที่ OK และ Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 20

ระบบใหกําหนด IP Address ใหกับ eth0 ใหเลือก Manual address configuration พรอม


ทั้งใส IP Address และ Prefix (Netmask) ที่ใชในการเชื่อมตอ
ตัวอยาง IP Address : 192.168.1.254 IP ที่ไดรับจาก Router หรือ อุปกรณ Internet ตาง ๆ
Prefix (Netmask) : 255.255.255.0
แลว TAB มาที่ OK และ Enter

ระบบไดทําการ Config eth0 แลว ให TAB มาที่ OK และ Enter


Amnatcharoen Educational Office Service Area
http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 21

ระบบใหทําการกําหนดคา GateWay และ DNS ที่ใชในการชี้เพื่อเชื่อมตออินเตอร


ตัวอยาง Gateway : 192.168.1.1 Gateway ที่ไดรับจาก Router
Primary DNS : 192.168.1.1 DNS ที่ไดรับจาก Router เพื่ออางอิงกอนออกเน็ต
เมื่อปอนคาเรียบรอยแลวให TAB มาที่ OK และ Enter

ระบบใหทําปอน HostName ของระบบที่ใชงาน ในที่นี้จะปอน Amnat-Ed แลว TAB


มาที่ OK และ Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 22

ระบบใหกําหนด โซน เวลาที่ใชงานของ Server ในที่นี้ใหเลือก Asia/Bangkok แลว


TAB มาที่ OK และ Enter

ระบบใหทําการปอนรหัสผานของ Root ที่ใชในการ Login ในที่นี้ใหใสคาตามที่


โรงเรียนกําหนดไว แลว TAB มาที่ OK และ Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 23

ระบบใหทําการติดตั้ง Package ที่ตองการ ใหทําการเลือกตามรูปภาพ (ขอสําคัญตองอยา


ลืมเลือก Customize Software Selection)โดยใช Spacebar ในการเลือก แลว TAB มาที่ OK
และ Enter

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 24

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 25

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 26

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 27

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 28

ทําการเลือกหัวขอตามรูปภาพขางบน โดยใช Spacebar และ Arrow ไปเรื่อย ๆ เมื่อทํา


การเลือก Package เพิ่มเติมที่ตองการ เสร็จแลว ให TAB มาที่ OK และ Enter

ระบบจะทําการ Check Packages ที่คุณไดทําการเลือก

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 29

ระบบจะทําการเริ่มตนการติดตั้ง ขอมูลระบบและ Package ที่คุณไดทําการเลือก ในที่นี้


ใหทําการเลือก OK และ Enter

ระบบทําการ Format เพื่อเตรียม Harddisk ที่ใชในการติดตั้ง

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 30

ระบบเริ่มทําการ Copy ไฟลขอมูล กรุณารอซักครู

ระบบเริ่มทําการ Copy ไฟลขอมูล กรุณารอซักครู

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 31

ระบบเริ่มทําการ Copy ไฟลขอมูล กรุณารอซักครู

ระบบไดทําการติดตั้งเรียบรอยแลว Enter เพื่อเริ่มการทํางานใหม (Reboot)

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 32

ระบบกําลังเริ่มทํางานใหมและทําการ Check อุปกรณและขอมูลที่ไดติดตั้งไป

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 33

เมื่อผานการตรวจสอบแลวจะเขาสูหนา Setup Agent ใหทําการ TAB มาที่ Exit แลว


Enter เพื่อออกจากหนานี้ไป

หลังจากนั้นก็จะเขาสูหนาตางระบบการทํางานของ CentOS 5.5 ตอจากนี้ไปใหทําการ


Login root และทําการ Config ระบบตอไป
เสร็จในสวนของการติดตั้ง OS CentOS 5.5 หลังจากนี้จะเปนการ Config คาของระบบ
และทําการติดตั้ง AddON ตางๆ ที่อยูในแผนที่ใชในการอบรม แผนที่ 2

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 34
การติดตั้ง File Config และ Script

หลังจากติดตั้งระบบปฏิบัติการ CentOS 5.5 เรียบรอยแลว ในสวนนี้จะเปนการ Config


คาตาง ๆ ของระบบใหสามารถรองรับการทํางาน Authentication และ Log
กอนอื่นใหทําการติดตั้งโปรแกรมที่อยูในแผนทั้งหมด ลงในเครื่อง Client ที่จะใชในการ
Config โปรแกรมที่ใชในการ Config คือ
WinSCP โปรแกรมใชในการสงไฟลขอมูลเขาสู Linux CentOS 5.5
Putty โปรแกรมใชในการ Remote Terminal Linux CentOS 5.5
Edit Plus โปรแกรมใชในการ Edit File เพื่อใชในการ Config
ทําการเชื่อมตอ Server กับ Computer Client (NoteBook)
หลักการ ตอง Fix IP เครื่อง NoteBook หรือ Client ให IP Address อยูใน Class เดียวกัน
กับ IP ของ Server เชน IP Server 192.168.1.254 ฉะนั้น IP Client 192.168.1.200
สาเหตุที่ตอง Fix IP เพราะเราจะทําการ Config ระบบผานการดแลนใบที่ 1 หรือ ETH0

สายแลนแบบ CROSS

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 35
ทดสอบการเชื่อมตอระหวาง Client และ Server โดยใชคําสั่ง PING
เขาไปที่ เครื่อง Client แลวเขาไปที่ Start -> RUN

เมื่อเขาสูเมนู RUN ใหพิมพคําวา cmd เพื่อที่จะเขาสูโหมด DOS

พิมพคําสั่ง ping แลวตามดวย IP Server


เชน ping 192.168.1.254

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 36
ถาขอความ ขึ้นวา Reply from 192.168.1.254: bytes =32 time=30ms TTL=128 แปลวา
ระบบไดทดสอบการเชื่อม IP ที่กําหนดแลว
Reply from 192.168.1.254 หมายเลข IP ของเปาหมายตอบกลับมา
bytes=32 จํานวนไบตที่สงกลับมา (32 ไบต)
time=30ms เวลาที่ใช ในการตอบกลับ มีหนวยเปนมิลิวินาที
TTL=128 TTL (Time To Live) หมายถึงจุดผาน routers ตางๆ กอนจะเดินไปถึง
เปาหมาย TTL
ถาขอความ ขึ้นวา Request timed out แปลวาระบบไมสามารถเชื่อม IP ที่กําหนดไว

ถาขอความ ขึ้นวา Hardware error. แปลวาอุปกรณ Network มีปญหา หรือไมไดเปดการ


ใชงาน จึงไมสามารถเชื่อม IP ที่กําหนดไว

ถาขอความ ขึ้นวา Destination host unreachable แปลวาตําแหนง Host IP ที่ไดทําการ


PING เพื่อทดสอบ ไมสามารถเชื่อมตอได อาจเกิดจาก Class IP หรือ IP ผิด

*ใชโปรแกรม WinSCP ทําการคัดลอกขอมูลที่อยูในแผน ชื่อ Folder Source\Amnat-EDv2 ลง


ไปยัง Linux Fedora Folder /home/

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 37
- Login เขาใชงานโปรแกรม WinSCP

IP ของ Server Port ที่ใชงาน SSH

เขาสูระบบ

เมื่อ Login IP ถูกตองระบบจะทําการแจงเตือนวา IP ไดถูกเขามาใชงานโดย MAC


Address ดังตอไปนี้ ใหทําการ คลิ๊กที่ Update

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 38
WinSCP ใหทําการปอน UserName : root

root ปอน User ที่ใช

WinSCP ใหทําการปอน Password : *********

********* ปอน Password ที่ใชงาน

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 39
หนาตาของ WinSCP

เขาสู Folder /home โดยคลิ๊กที่ไอคอน

ใหทําการ Copy Folder Source\Amnat-EDv2 ที่ไดจาก CD อบรม โดยทําการลากจากดาน


ซายมือ เขาไปยัง /home

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 40

WinSCP ใหทําการยืนยันการคัดลอกขอมูล ใหคลิ๊กที่ Copy

WinSCP ไดทําการ Copy ขอมูลที่ตองการลงไปยัง Folder /home

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 41

WinSCP หลักจากที่ไดทําการ Copy ขอมูลที่ตองการลงไปยัง Folder /home จะมีขอมูล


ของ Folder Amnat-EDv2 อยูดวย /home/Amnat-EDv2
เสร็จสิ้นการคัดลอกขอมูล Amnat-EDv2 + File Config

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 42
* กลับไปยังเครื่อง Server ใหทําการ Login User root ใหถูกตอง
1. ปดการทํางานในสวนของ Auto Update เพื่อไมใหมีการติดตั้ง Package เพิ่มเติมภายหลัง
เพราะเราตองใชคาที่เราติดตั้งนี้เทานั้น
ปดการทํางาน AutoUpdate
# service yum-updatesd stop
ไมให Auto Update ทํางานอีกตอไป
# chkconfig yum-updatesd off

2. ปรับคา LanCard ใบที่ 2 (หรือการดใบที่ตองการแจก DHCP ใหกับ เครื่องลูก) ในที่นี้จะเปน


eth1 เพราะวา eth0 จะเปนการด Lan ที่เชื่อมตอกับ Internet เขาสูเครื่อง

3. สั่งให CardLan ใบที่ 2 ทํางานและไมตอง Set IP


เขาสูโหมดแกไขขอความ ของ Network eth1

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 43
# nano /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1

เปลี่ยน ONBOOT = yes


* ตัวเกาจะเปน No คือเมื่อทําการบูทเขาสูระบบ Linux สั่งให CardLan ใบนี้ทํางานทันที
เพิ่ม BOOTPROTO = none
* รูปแบบของ Protocal ไมตองทําการตั้งคาใด ๆ ทั้งสิ้นปรับใหเปน none
TIP BOOTPROTO = static คือ fix คา IP Address ลงไดคานั้นคาเดียว
BOOTPROTO = dhcp คือ รับคา IP Address จากเครื่องแมคาย
4. ทําการ Forward IP ใหเครื่องลูกสามารถที่จะออกเน็ตไดตามปกติ
เขาสูโหมดแกไขขอความ ของ Network eth1
# nano /etc/sysctl.conf

เปลี่ยนคาจาก net.ipv4.ip_forward = 0 เปน net.ipv4.ip_forward = 1


UPDATE ทําการติดตั้งชุดเสริมของ CentOS 5.5
# rpm -Uvh /home/Amnat-EDv2/rpmforge-release-0.3.6-1.el5.rf.i386.rpm
# rpm -Uvh /home/Amnat-EDv2/silfreednet-release-1.1-1.el5.noarch.rpm
เพิ่ม Pubkey.txt
# rpm --import /home/Amnat-EDv2/pubkey.txt
BackUP Yum Install ตัวเกาไว
# mv /etc/yum.repos.d/CentOS-Base.repo /etc/yum.repos.d/CentOS-Base.repo.bak
# mv /etc/yum.repos.d/rpmforge.repo /etc/yum.repos.d/rpmforge.repo.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/CentOS-Base.repo /etc/yum.repos.d/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/rpmforge.repo /etc/yum.repos.d/

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 44
5. ตั้งคา เวลา ใหเปนเวลามาตรฐานอยูเสมอ Network Time Protocol Server (NTP Server)
ติดตั้ง NTP Server จะ Server หลัก CentOS
# yum -y install ntp
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# mv /etc/ntp.conf /etc/ntp.conf.bak
# mv /etc/ntp/ntpservers /etc/ntp/ntpservers.bak
# mv /etc/ntp/step-tickers /etc/ntp/step-tickers.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/ntp/ntp.conf /etc/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/ntp/ntpservers /etc/ntp/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/ntp/step-tickers /etc/ntp/

6. ทําการติดตั้ง WEB SERVER และสวนที่ตองการเพิ่มเติม


# yum -y install httpd httpd-manual mod_ssl
7. ทําการติดตั้ง DATABASE และสวนที่ตองการเพิ่มเติม
# yum -y install mysql mysql-server mysql-devel
8. ทําการติดตั้ง FREE RADIUS และสวนที่ตองการเพิ่มเติม
# yum -y install freeradius freeradius-mysql
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# mv /etc/raddb/sql.conf /etc/raddb/sql.conf.bak
# mv /etc/raddb/radiusd.conf /etc/raddb/radiusd.conf.bak
# mv /etc/raddb/clients.conf /etc/raddb/clients.conf.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
cp -Rf /home/Amnat-EDv2/raddb/sql.conf /etc/raddb/
cp -Rf /home/Amnat-EDv2/raddb/radiusd.conf /etc/raddb/
cp -Rf /home/Amnat-EDv2/raddb/clients.conf /etc/raddb/
# service radiusd restart

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 45
9. ทําการติดตั้ง PHP และสวนที่ตองการเพิ่มเติม
# yum -y install php php-mysql php-cli php-mbstring
แกไขในสวนของไฟล php.ini เพื่อกําหนดเพิ่มเติม
# nano /etc/php.ini
แกไขขอมูลภายใน php.ini ดังนี้
เปลี่ยน upload_max_filesize = 2M เปน 20M
เปลี่ยน max_execution_time = 30 เปน 300
เปลี่ยน memory_limit = 32M เปน 128M
เปลี่ยน post_max_size = 8M เปน 20M
เปลี่ยน session.auto_start = 0 เปน 1
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข

10. ทําการติดตั้ง SQUID PROXY และสวนที่ตองการเพิ่มเติม


# yum -y install squid
Copy ไฟล ตาง ๆ จาก /home/Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/squid/blockx.txt /etc/squid/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/squid/files.txt /etc/squid/
กําหนดสิทธิการแกไขไฟล ใหสามารถแกไขไฟลได
# chmod 777 /etc/squid/blockx.txt
# chmod 777 /etc/squid/files.txt
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# mv /etc/squid/squid.conf /etc/squid/squid.conf.bak
# mv /usr/share/squid/errors/English/ERR_DNS_FAIL
/usr/share/squid/errors/English/ERR_DNS_FAIL.bak
# mv /usr/share/squid/errors/English/ERR_ACCESS_DENIED
/usr/share/squid/errors/English/ERR_ACCESS_DENIED.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 46
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/squid/squid.conf /etc/squid/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/squid/ERR_DNS_FAIL /usr/share/squid/errors/English/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/squid/ERR_ACCESS_DENIED
/usr/share/squid/errors/English/
เพิ่มขอมูล HostName ของเรา
# nano /etc/squid/squid.conf
เพิ่มคําสั่งตอไปนี้ลงตอทายคําวา TAG visible_hostname # none
visible_hostname Amnat-ED ชื่อ hostname ที่เราไดทําการติดตั้งครั้งแรก
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข
สั่งให Squid เริ่มทํางาน
# squid -zD
# service squid restart
11. ทําการติดตั้ง Chillispot และสวนที่ตองการเพิ่มเติม
# rpm -ivh /home/Amnat-EDv2/chillispot-1.1.0.i386.rpm
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# mv /etc/chilli.conf /etc/chilli.conf.bak
ลบ File Config ตัวเกาออก
# rm -Rf /etc/init.d/chilli
# rm -Rf /etc/firewall.iptables
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/chilli.conf /etc/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/chilli /etc/init.d/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/firewall.iptables /etc/
กําหนดสิทธิการใชงานไฟล ChilliSpot
# chmod 777 /etc/init.d/chilli
# chmod 777 /etc/firewall.iptables
# chmod 777 /etc/chilli.conf

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 47
12. ทําการติดตั้งให Firewall ทํางานเมื่อเปดเครื่องขึ้นมาอัตโนมัติ
# nano /etc/rc.local
เพิ่มขอความนี้ตอทายลงไปในไฟล rc.local
sh /etc/firewall.iptables
/usr/sbin/ntpdate -u clock.nectec.or.th
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข

13. ทําการ Copy File User-Manages ลงไปยัง Folder /var/www/html


# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/www/wifi /var/www/html/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/www/ezradius /var/www/html/
กําหนดสิทธิการแกไขไฟล ใหสามารถแกไขไฟลได
# chmod 777 /var/www/html/ezradius/Connections/cnRadius.php
# chmod 777 /var/www/html/ezradius/Connections/database.ini
# chmod 777 /var/www/html/ezradius/config/config.ini
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# mv /etc/httpd/conf/httpd.conf /etc/httpd/conf/httpd.conf.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/httpd.conf /etc/httpd/conf/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/nettime.sh /etc/cron.hourly/
กําหนดสิทธิการแกไขไฟล ใหสามารถแกไขไฟลได
chmod +x /etc/cron.hourly/nettime.sh

14. สั่งให inittab ทํางาน


BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# cp /etc/inittab /etc/inittab.bak
แลวแกไขไฟล เพื่อเปลี่ยนขอความตอไปใน inittab
# nano /etc/inittab
Amnatcharoen Educational Office Service Area
http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 48
หาบรรทัดที่มีคําวา id:5:initdefault:
แลวทําการเปลี่ยนเปน id:3:initdefault:
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข

15. แกไข Secure Shell หรือ SSH คือ โพรโทคอลสําหรับ เครือขายคอมพิวเตอร ที่ออกแบบมา
เพื่อใหล็อกอินเขาไปยังคอมพิวเตอรเครื่องอื่น และทํางานตางๆ บนเครื่องนั้น
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# mv /etc/ssh/sshd_config /etc/ssh/sshd_config.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/sshd_config /etc/ssh/

16.เพิ่ม Port และ Socket ใหเครื่อง Client สามารถจัดการระบบ Database ได


# nano /etc/my.cnf
เพิ่มขอความตอไปนี้ตอทาย
###Amnat –Ed client set port MySQL####
[client]
port = 3306
socket = /var/lib/mysql/mysql.sock
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข
สั่งให MySQL ทํางาน
# /etc/init.d/mysqld start
กําหนด User และ Password ให MySQL
# /usr/bin/mysqladmin -u root password ‘123456’
ทําการสราง Database ชื่อ radius
# mysqladmin -uroot -p123456 create radius
Copy โครงสรางและขอมูล Database Radius ใสใน MySQL
# mysql -uroot -p123456 radius < /home/Amnat-EDv2/radius.sql
Amnatcharoen Educational Office Service Area
http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 49
17. ติดตั้งโปรแกรมแสดงผลรายงาน Radius
# tar -C /root -zxvf /home/Amnat-EDv2/radiusContext-1.93.tar.gz
สราง Folder แสดงผล Report
# mkdir /var/www/html/radius-report
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/radius-report /etc/cron.hourly/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/radiusreport.sh /root/
กําหนดสิทธิการแกไขไฟล ใหสามารถแกไขไฟลได
chmod +x /etc/cron.hourly/radius-report
chmod +x /root/radiusreport.sh

18. ติดตั้งโปรแกรมบริหารจัดการ Database MySQL ดวย phpmyadmin


# yum -y install phpmyadmin
เปลี่ยนขอความตอไปนี้ให phpmyadmin ทํางาน
# nano /etc/httpd/conf.d/phpmyadmin.conf
เปลี่ยนขอความตอไปนี้
Deny from all เปลี่ยน เปน Allow from all
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข
ยาย File Config จาก phpmyadmin ที่ติดตั้ง
# mv/usr/share/phpmyadmin/config.inc.php
/usr/share/phpMyAdmin/config.inc.php.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/config.inc.php /usr/share/phpMyAdmin/

19. ติดตั้ง Sarg Squid-Reports


# yum -y install gd sarg
Amnatcharoen Educational Office Service Area
http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 50
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# cp /etc/httpd/conf.d/sarg.conf /etc/httpd/conf.d/sarg.conf.bak
แกไขขอมูล sarg.conf
#nano /etc/httpd/conf.d/sarg.conf
แลวเปลี่ยนขอความตอไปนี้
Deny from all เปลี่ยนเปน Allow from all
หรือ deny from all เปลี่ยนเปน allow from all
*ถาไมเจอใหเพิ่มขอความตอไปนี้บน order allow,deny
allow from all
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข
20.ติดตั้ง LightSquid เพื่อใหระบบทํางานเร็วขึ้น
# rpm -ivh /home/Amnat-EDv2/perl-GD-2.35-1.el5.rf.i386.rpm
# cd /home/Amnat-EDv2/
# tar -zxvf /home/Amnat-EDv2/lightsquid-1.8.tgz
# mv /home/Amnat-EDv2/lightsquid-1.8 /var/www/html/lightsquid
# cd /var/www/html/lightsquid
# chmod +x *.cgi
# chmod +x *.pl
# chown -R apache:apache *
# service httpd restart
# ./check-setup.pl
# ./lightparser.pl
# /var/www/html/lightsquid/lightparser.pl
21.ติดตั้ง PHP SysInfo ดูขอมูลระบบ Server
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/www/phpinfo /var/www/html/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/www/index.html /var/www/html/
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/www/block.html /var/www/html/

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 51
22. ติดตั้ง MC IPTraf Net-SNMP ชุดเสริมของระบบ
# yum -y install mc
# yum -y install iptraf
# yum -y install net-snmp net-snmp-utils net-snmp-libs
# yum -y install rrdtool

23. ติดตั้ง Fonts และชุดเสริม


# rpm -Uvh /home/Amnat-EDv2/msttcorefonts-1.3-4.noarch.rpm

24.ติดตั้ง LOG Rotate


# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/log/changeaccess.sh /root/
# chmod +x /root/changeaccess.sh
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/log/clearradutmp.sh /root/
# chmod +x /root/clearradutmp.sh
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/etc/nettime.sh /root/
# chmod +x /root/nettime.sh

25.ปรับแตงชุดคําสั่งตาง ๆ ใหทํางานอัตโนมัติเมื่อเปดเครื่อง
เพิ่มคําสั่งตอไปนี้ลงใน /etc/rc.local
#nano /etc/rc.local
พิมพขอความตอไปนี้ตอทายลางสุด
sh /root/clearradutmp.sh
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข

26.ปรับแตงชุดคําสั่งตาง ๆ ใหทํางานอัตโนมัติเมื่อเปดเครื่อง
เพิ่มคําสั่งตอไปนี้ลงใน /etc/crontab
# nano /etc/crontab

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 52
พิมพขอความตอไปนี้ตอทายลางสุด
#### Amnatcharoen Educational Service Area Office ####
35 * * * * root /var/www/html/lightsquid/lightparser.pl
45 * * * * root /root/radiusreport.sh
50 * * * * root /root/nettime.sh
55 23 * * * root /root/changeaccess.sh
15 4 * * * root /root/clearradutmp.sh
Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข
เพิ่มคําสั่งตอไปนี้ลงใน /etc/sudoers
# nano /etc/sudoers
พิมพขอความตอไปนี้ตอทายลางสุด
apache ALL=NOPASSWD: /bin/echo, /usr/bin/radclient
apache ALL=NOPASSWD: /bin/echo, /etc/init.d/squid, /sbin/reboot, /sbin/poweroff

Ctrl + O Save ขอมูลที่ไดแกไข


กําหนดสิทธิการแกไขไฟล ใหสามารถแกไขไฟลได
# chmod 711 /etc/raddb
# chmod 755 /etc/raddb/dictionary

27. ติดตั้ง และสราง พื้นที่จัดเก็บ LOG


# mkdir /home/LOG
# mkdir /home/LOG/radius
# mkdir /home/LOG/secure
# mkdir /home/LOG/squid
# mkdir /home/LOG/mysql
# chmod 777 /home/LOG

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 53
28. ติดตั้ง Samba Share Files
# yum -y install samba
BackUp ขอมูล File Config ตัวเกา เก็บไวเผื่อมีปญหาในการใชงาน
# mv /etc/samba/smb.conf /etc/samba/smb.conf.bak
Copy File Config จากขอมูล Amnat-EDv2
# cp -Rf /home/Amnat-EDv2/conf/smb.conf /etc/samba/
# chmod 777 /var/www/html/wifi/admin/upload
# chmod 777 /var/www/html/wifi/admin/photo_login
# chmod 777 /var/www/html/wifi/admin/ThaiPDF
# chmod 777 /var/www/html/wifi/admin/templates/default/images
29. กําหนดการทํางานของ Service
# service bluetooth stop
# chkconfig bluetooth off
# service isdn stop
# chkconfig isdn off
# service ip6tables stop
# chkconfig ip6tables off
# service smartd stop
# chkconfig smartd off
30. ปรับ Service ตาง ๆ ใหทํางาน
# chkconfig httpd on
# chkconfig squid on
# chkconfig mysqld on
# chkconfig radiusd on
# chkconfig chilli on
# chkconfig ntpd on
# chkconfig snmpd on

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 54
# chkconfig smb on
# chkconfig winbind on
31. เสร็จสิ้นการติดตั้ง ทําการ REBOOT เครื่องใหม
# reboot

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 55

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 56

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 57

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 58

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 59

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 60

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 61

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 62

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 63

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 64

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 65

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 66

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 67
การจัดการสวนตาง ๆ ของ Server

- โปรแกรมจัดการกลุมและขอมูลผูใชงานระบบ Authentication ผานทางเว็บเบราวเซอร


http://10.1.0.1/wifi/admin
Username = administrator Password = amnat-ed

- หนาจัดการฐานขอมูล MySQL ผานทางเว็บเบราวเซอร


http://10.1.0.1/phpmyadmin
Username = root Password = 123456

- หนาจัดการ ezradius เพื่อจัดการกับกลุมและการ Kick User ผานทางเว็บเบราวเซอร


http://10.1.0.1/ezradius
User = admin Password = amnat-ed

- ดู Squid Report จาก sarg ซึ่งปกติจะสรางเองโดยอัตโนมัติทุกวัน แตถาจะสรางเองใหเขา


เปน root แลวสั่ง
# sarg
แลวดูรายงาน sarg จากทางเว็บเบราวเซอร
http://10.1.0.1/sarg
- ดูรายงานของ RadiusContex ซึ่งตั้งเวลาใหสรางทุก 1 ชั่วโมง แตทดลองสรางเองโดยเขา
เปน root และสั่งดังนี้
# /root/radiusContext-1.93/raddetail /var/log/radius/radacct/*/*
# /root/radiusContext-1.93/stdreport -D /var/www/html/radius-report
เขาดูรายงานทางเว็บเบราวเซอร
http://10.1.0.1/radius-report
- ดูขอมูลตาง ๆ ของระบบเครื่องจาก phpsysinfo ทางเว็บเบราวเซอร
http://10.1.0.1/phpsysinfo

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 68

- ดูขอมูล access.log ของ Squid จาก lightsquid ทางเว็บเบราวเซอร


http://10.1.0.1/lightsquid

- ดูขอมูลแชร LOG ไฟลใน samba โดย เปด My Computer แลวพิมพที่ Address ดังนี้
\\10.1.0.1 หรือ \\ชื่อของ Server

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 69
Tips เทคนิค

1. วิธีแกกรณีลืม password root ของ mysql


ขั้นตอนแรก หยุดการทํางานของ service mysql ใน linux ตองล็อคอินเปน root กอน แลว
สั่งโดย
# service mysqld stop
จากนั้น run คําสั่ง
# mysqld_safe --skip-grant-tables &
จากนั้น เรา login เขา mysql root โดยไมมี password ดังนี้
# mysql -uroot mysql
ที่ชองคําสั่งใหพิมพ
Mysql# UPDATE user SET password=PASSWORD("123456") WHERE user="root";
Mysql# FLUSH PRIVILEGES;
ตอนนี้ root password ของ mysql จะถูกเปลี่ยนเปน 123456 ตามที่เราแกไขและสามารถ
ใชไดตอไป

2. การแกปญหากรณีที่ User ของ radius คางในระบบ แลวล็อคอินไมได ใหล็อคอินเปน


root กอนแลวสั่งดังนี้
- ดูรายชื่อผูที่คางในระบบโดย
radwho
- เตะผูที่ใชงานที่คางออกจากระบบโดย
radzap -u ชื่อผูที่คาง localhost testing123
เชน
radzap -u supervisor localhost testing123

3. หากเปลี่ยนรหัสผาน root password ของ MySQL แลวจะตองตามเปลี่ยนไฟลคอนฟก


ของระบบ Authentication ดังนี้

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 70
3.1 Freeradius
- /etc/raddb/sql.conf
3.2 ระบบจัดการผูใชงานของ ม.บูรพา
- /var/www/html/wifi/admin/include/config.inc.php
3.3 ระบบจัดการผูใชงานของ ezradius
- /var/www/html/ezradius/Connections/cnRadius.php

4. หากตองการเปลี่ยนวงไอพีภายใน (tun0) จาก 192.168.2.0/24 เปนวงอื่น จะตองตาม


เปลี่ยนไฟลตอไปนี้
4.1 ระบบของ Chillispot
- /etc/chilli.conf
4.2 ระบบ Firewall
- /etc/firewall.iptables
4.3 ระบบพร็อกซี Squid
- /etc/squid/squid.conf

5. การใชงาน crontab
หลายๆคนนาจะมีบางที่มีความจําเปนที่จะตองตั้งเวลาใหเครื่องของเราทํางานบางอยาง
ใหโดยอัตโนมัติ ในเวลาที่เราตองการ เชน ทุกๆวันเวลาเที่ยงคืนเราตองการใหมีการสั่งรัน script
เพื่อ backup ขอมูล ไอครั้นจะมานั่งรอเวลาใหถึงเที่ยงคืนแลวก็มานั่งสั่งรัน script ดวยตัวเองมัน
ก็ออกจะเกินไปหนอย ถาจะใหดีพอถึงเวลาเที่ยงคืน ระบบมันก็ควรจะ backup ใหเองโดย
อัตโนมัติเลย ซึ่งถาอยากจะใหเปนเชนนั้นก็ไมยากเพราะ linux มีเครื่องมือที่จะชวยแกปญหาใน
เรื่องนี้มาให อยูแลวในตัวไมตองลงอะไรเพิ่ม นั่นก็คือ crontab นะเองครับ
วิธีการใชงาน crontab ครับ
Step 1: เขา terminal แลวก็พิมพ
# nano /etc/crontab
รูปแบบการเขียน crontab คราวๆดังนี้

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 71
# m h dom mon dow command
อธิบายเพิ่มเติมครับField มีคา รายละเอียด
m(minute) 0-59 เวลาเปนนาที จะสั่งใหคําสั่งที่กําหนดทํางานทันทีเมื่อถึง
h(hour) 0-23 เวลาเปนชั่วโมง จะสั่งใหคําสั่งที่กําหนดทํางานทันทีเมื่อถึง
dom(day of month) 1-31 เวลาเปนวัน จะสั่งใหคําสั่งที่กําหนดทํางานทันทีเมื่อถึง
mon(month) 1-12 เวลาเปนเดือน จะสั่งใหคําสั่งที่กําหนดทํางานทันทีเมื่อถึง
dow(day of week) 0-6 วันของแตละสัปดาห มีคาดังนี้(อาทิตย=0,จันทร=1,...,
เสาร=6)
command คําสั่ง เราสามารถกําหนดคําสั่งหรือ script ที่ตองการรันลงไปได
Step 2: เขียนคําสั่งลงไป เชน
# m h dom mon dow command
0 0 * * * /home/rooney/backup.sh
เปนการสั่งใหรัน backup script เวลา 24.00 น. ของทุกวัน โดยเครื่องหมาย * หมายถึงเอา
ทั้งหมด อยางกรณีขางตน เครื่องหมาย * ตรง dom หมายถึงทําทุกๆวันของเดือน
Step 3: หลังจากสราง crontab เสร็จก็ save ซะครับ แตถาอยากจะแกไขก็ใหพิมพ
# nano /etc/crontab

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 72

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 73

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 74

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 75

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 76

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 77
วิธีแกไมใหขึ้นคําวา Continue to this website (not recommended).

เขาไปที่ Internet Explorer – Tools – Internet Option

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 78
ที่แทบ Advanced เลื่อนลงมาดานลางสุด เอาเครื่องหมายถูกหนา Warn about
certificate address mismatch* ออกแลวคลิ๊กที่ OK

เขาที่ Internet Explorer ใหม แลวคลิ๊กที่ Continue to this website (not recommended).

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 79

ที่แถบ Address bar คลิ๊กที่ Certificate Error – View Certificate

เลือก Install Certificate

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 80

คลิ๊กที่ Next

เลือก Automatically select the certificate store based on the type of certificate - Next

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 81
เลือก Finish

เลือก Yes

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 82
เลือก OK (ทําการติดตั้ง Certificate เรียบรอยแลว)

เลือก OK (ทําการติดตั้ง Certificate เรียบรอยแลว) ทําการปด Internet Explorer และเปดขึ้นมา


ใหม

• สังเกต จะมีรูปกุญแจ Security Lock เพราะระบบไดเขารหัสปองกันการดัก


จับ Password แลว
Amnatcharoen Educational Office Service Area
http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 83
วิธีการติดตั้งแบบ Auto Install

• ในกรณีทานใดไมตองการ Config คา ทานสามารถทําไดโดยการใสแผน


Amnat-ED Auto Install ในแผนที่ใชในการอบรมได
- ตั้งระบบการติดตั้งแบบ Boot CD-ROM ใหเรียบรอย
- ใสแผน Amnat-ED Auto Install

- พิมพ Install
- รอจนกวาเครื่องจะขึ้นขอความ Restart เปนอันเสร็จสิ้นการ Config คาอัตโนมัติ
- หลังจากนั้นใหทานทําการเปลี่ยนคา IP Address ETH0 (ใชในการรับ Internet) โดยให
ทานเขาสูระบบ Server Login ใหเรียบรอย ที่ Command Line พิมพ Setup
- แลวใหทําการปรับเปลี่ยนคา Network Configuration – Edit Device – เลือก Eth0 ปอน
คา IP Address
- แลวใหทําการปรับเปลี่ยนคา Network Configuration – Edit DNS – เลือก Eth0 ปอนคา
DNS ที่ไดจะ ระบบ
- ที่ Command Line พิมพ : reboot
• เปนอันเสร็จสิ้นการติดตั้งแบบ Amnat-ED AutoInstall
Amnatcharoen Educational Office Service Area
http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 84
วิธีการเขาหัว (RJ45) ทั้ง 2 แบบ
การเขาแบบธรรมดา เปนการเชื่อมตอแบบตางอุปกรณ เชน การใชสายตอกันระหวาง
คอมพิวเตอร กับ Switch หรือ HUB

Straight Through Cable


RJ-45 PIN RJ-45 PIN
1 Tx+ 1 Rc+
2 Tx- 2 Rc-
3 Rc+ 3 Tx+
6 Rc- 6 Tx-

การเขาแบบไขว หรือ Cross เปนการเขาสายแบบ เชื่อมตอระหวางอุปกรณชนิดเดียวกัน เชน


HUB to HUB ,Switch To Swich หรือ คอมพิวเตอร กับ คอมพิวเตอร เราสามารถที่จะใชระหวาง
คอมพิวเตอร กับ NoteBook

Crossover Cable
RJ-45 PIN RJ-45 PIN
1 Rx+ 3 Tx+
2 Rc- 6 Tx-
3 Tx+ 1 Rc+
6 Tx- 2 Rc-

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 85
ผลที่ไดรับจากการอบรมในครัง้ นี้

1. ทําความเขาในเกี่ยวกับ พรบ.คอมพิวเตอร
2. ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับระบบการทํางานแบบ Authentication
3. ศึกษาการทํางานของระบบ LOG Server
4. ติดตั้งระบบ Linux CentOS และ Config ระบตาง ๆ
5. ควบคุมการทํางานของ User Management
6. สามารถที่จะนําความรูที่ไดรับการอบรมในครั้งนี้ ไปพัฒนา ศึกษาเพิ่มเติมได

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 86
สรุป
เทคโนโลยี Authentication นอกจากจะทําหนาที่ใหบริการยืนยันตัวตนของผูใชงาน
แลว ยังมีองคประกอบของความปลอดภัยอื่น ๆ ไดแก Authorization และAuditing เทคโนโลยี
บางชนิ ด มี ค วามสามารถครอบคลุ ม องค ป ระกอบของความปลอดภั ย ทั้ ง หมด แต บ างชนิ ด
ครอบคลุมบางสวนเทานั้น หรืออาจจะตั้งคาเพิ่มเติมตามที่เราไดศึกษาและลงมือปฏิบัติกันมา
เพื่อที่จะรองรับเทคโนโลยี และการทํางานที่ครอบคลุมทุกสวนของความปลดภัย
Authentication จะแตกตางกันและความเหมาะสมที่จะนําไปใชงานก็แตกตางกันตามไป
ดวย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ จุดประสงคของการนําไปใชงาน วาจะนําไปใชงานในลักษณะใด อีกทั้ง
เพื่อใหเกิดประโยชนที่สูงที่สุด

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 87
อางอิง

Linux, กลุมผูดูแลระบบแหงประเทศไทย : www.thaiadmin.org


ชุมชนคนรัก Linux : http://www.linuxthai.org/forum/
http://www.linuxthai.org/forum/index.php?topic=6698.0

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 88

ภาคผนวก

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th
เอกสารประกอบการอบรม 89
คณะทํางาน

ที่ปรึกษา
1. นายวัชรพงศ สุขรักษา ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอํานาจเจริญ
2. นางรัตติกร ทองเนตร รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอํานาจเจริญ
3. นายโชติ ชวงชิง ผูอาํ นวยการกลุมนโยบายและแผน

คณะทํางาน
1. นายโชติ ชวงชิง ผูอํานวยการกลุมนโยบายและแผน
2. นายนิกร มีชัย นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการพิเศษ
3. นายชุมพร ไชยงาม นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ
4. นางบุญเปรียบ สนั่นเมือง นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ
5. นายมีศักดิ์ รัตนพิมพ นักจัดการงานทั่วไป ชํานาญการ
6. นายวิษณุ เพชรพิมพ นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ
7. นายมังกร พลพวก นักวิชาการศึกษา ชํานาญการ
8. นางนิชาภัทร อุไรรัตน นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ
9. นางสาววิลัยวรรณ สุภชาติ นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ
10. นายพงศวัฒนา สืบสิงห เจาหนาที่ระบบงานคอมพิวเตอร

Amnatcharoen Educational Office Service Area


http://www.amnat-ed.go.th

Você também pode gostar