Você está na página 1de 28

Cellular Basis of Immunity

311 304 Cell & Molecular Biology

Lecturer: Mr. Jirapat Chunthapong


September, 2006
1. Innate Immunity
เป็ นระบบภูมค
ิ ุ้มกันแบบทีม่ อี ยู่แล้ วตามธรรมชาติ โดยที่
ไม่ ต้องมีสิ่งแปลกปลอมเป็ นตัวกระตุ้นให้ สร้ างขึน้ มา
การตอบสนองเกิดโดยตรง ณ ตำแหน่ งทีม ่ กี ารติดเชื้อ
microbe-specific molecules กระตุ้นให้ ระบบนีทำ ้ งาน
การตอบสนองเกิดรวดเร็ว แต่ ไม่ ค่อยมีความจำเพาะ
ทำงานร่ วมกับ adaptive immunity
Innate Immunity
 ผิวหนัง และ เยือ่ เมือก
 การอักเสบ (inflammation)
 สารคัดหลัง่ จากต่ อมเหงือ่
 ไลโซไซม์ ในน้ำลาย
ในน้ำลาย น้ำตา + การชะล้ าง
 กรดในกระเพาะอาหาร
 โปรตีนต้ านจุลชีพ เช่ น อินเตอร์ เฟี ยรอน
 การทำงานของฟาโกไซต์
Campbell & Reece, 2002
Lysozyme
เป็ นเอนไซม์ ทพ
ี่ บในไข่ ขาว
น้ำตา น้ำลาย และสารคัดหลัง่
อืน่ ๆ
ทำหน้ าทีย่ ่ อยสลาย
polysaccharide walls ของ
แบคทีเรียและเชื้อราหลายชนิด
อาจเกีย่ วข้ องกับการฆ่ าเชื้อโรค
หรือการย่ อยสลายเชื้อโรคทีต่ าย
แล้ ว
Nature, 412: 835-838, 2000
Interferon
 เป็ นโปรตีนทีผ
่ ลิตขึน้ มาจากเซลล์ที่
ติดเชื้อไวรัส
 มีฤทธิ์ต้านไวรัสแบบไม่ จำเพาะ และ
มีอายุการทำงานสั้ น
 ช่ วยกระตุ้นการทำงานของ
มาโครฟาจและ NK cells
 ปัจจุบันสามารถผลิตได้ โดยใช้
เทคโนโลยีดเี อ็นเอสายผสม
http://arginine.chem.cornell.edu/Structures/IFN.html
2. Adaptive (Acquired) Immunity
 เป็ นระบบภูมค
ิ ุ้มกันแบบจำเพาะ (specific immunity)
 มีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ
 มีความจำเพาะ
 มีความหลากหลาย

 สามารถแยกแยะ self antigens ออกจาก non-self antigens

 มีความจำทางภูมค
ิ ุ้มกัน
 อาศัยการทำงานของเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ เป็
เป็ นหลัก
Classic Experiment ทีแ่ สดงให้ เห็นถึงความสำคัญ
ของลิมโฟไซต์ ต่อระบบภูมคิ ุ้มกันแบบจำเพาะ

Cell-transfer experiment after sub-lethal irradiation


Alberts et al, 2004
Lymphocytes
 รู ปร่ างกลม มี 3 ขนาด คือเล็ก กลาง ใหญ่
 ในกระแสเลือดส่ วนใหญ่ เป็ นขนาดเล็ก
Ø 6-8 m
 นิวเคลียสกลม โครมาตินทึบ ทำให้ นิวเคลียสติดสี
เข้ มและอาจมองไม่ เห็นนิวคลิโอลัส
 มีไซโตพลาสซึมน้ อย
 ลิมโฟไซต์ ขนาดใหญ่ มไี ซโตพลาสซึมมาก
และนิวเคลียสมีโครมาตินน้ อย จึงมองเห็น
มีประมาณ 20% ของ นิวคลีโอลัสได้ ง่าย
เม็ดเลือดขาวในกระแสเลือด
Lodish et al., 2000
พัฒนาการของ B lymphocytes

และ T lymphocytes

Campbell & Reece, 2002


B cells & T cells พัฒนามาจาก pluripotent
homeopoietic stem cells ในไขกระดูก
Resting B cells และ resting T cells มีลกั ษณะทาง
สั ณฐานวิทยาไม่ แตกต่ างกัน
เมือ่ lymphocytes ถูกกระตุ้นจะพัฒนาไปเป็ น effector
cells
 B cells  plasma cells & memory B cells
 T cells effector T cells & memory T cells
Resting lymphocytes vs. Activated lymphocytes

Alberts et al, 2004


 เมือ่ สั งเกตรู ปร่ างและลักษณะของ lymphocytes ทั้ง 2 ชนิด ภาย
ใต้ กล้องจุลทรรศน์ แบบใช้ แสง จะไม่ สามารถบอกได้ ว่าเป็ นชนิด
ใด
 หากต้ องการจำแนก lymphocytes ต้ องใช้ วธิ ีตรวจหา
เครื่องหมายบนผิวเซลล์ (surface markers)
 Clusters of Differentiation (CD): nomenclature for
leukocyte surface markers, proposed and established in the
1st International Workshop and Conference on Human
Leukocyte Differentiation Antigens (HLDA), held in Paris,
France in 1982
CD1 = an MHC-like molecule that presents lipid molecules
CD3 = the signaling component of the T-cell receptor (TCR) complex
CD4 = a co-receptor for the TCR that is found on T-helper cells;
also a receptor used by HIV to enter T cells
CD8 = a co-receptor for the TCR that is found on cytotoxic T cells
CD31 = PECAM-1, a cell adhesion molecule on platelets and
endothelial cells
CD35 = Complement receptor 1 (C3b/C4b receptor)
CD36 = Platelet glycoprotein IV or IIIb (GP IV / GP IIIb)
CD56 = a marker for natural killer cells and some T-lymphocytes
CD71 = Transferrin receptor, mediates cellular uptake of iron
CD117 = c-kit, the receptor for Stem Cell Factor, a glycoprotein that
regulates cellular differentiation, particularly in hematopoiesis
CD120 = a receptor for Tumour Necrosis Factor, an inflammatory
cytokine
CD142 = Tissue factor, a major initiator of blood-clotting
CD143 = Angiotensin-converting enzyme
CD144 = VE-Cadherin, a calcium-dependent adhesion molecule at
intercellular junctions, found only in the vascular endothelium
CD202a = Tie2, the receptor for angiopoietins, a family of angiogenic
factors
Janeway et al., 2005
http://www-immuno.path.cam.ac.uk/~immuno/part1/lec06/ab12.gif
http://www-immuno.path.cam.ac.uk/~immuno/part1/lec06/ab3.gif
Alberts et al, 2004
มียนี สำหรับ constant region ของ heavy chain อยู่มาก จึงทำให้ มแี อนติบอดีหลาย class
http://www-immuno.path.cam.ac.uk/~immuno/part1/lec06/igc.gif
กลไกที่ทำให้ เกิดความหลากหลาย
ของ Antigen Receptors
 เกิดจาก genetic recombination ในระหว่ างพัฒนาการของ
B cells
 ยีนของ variable region ของแอนติบอดีมกี ารแบ่ งเป็ นหลายๆ
segments คือ variable segment, diversity segment, และ
joining segment แต่ ละ segment มี polymorphisms
 V-D-J recombination ทำให้ เกิด Combinatorial
diversification
 เอนไซม์ ที่ทำให้ เกิด V-D-J recombination สร้ างมาจากยีนชื่อ
rag-1 และ rag-2 (Recombination Activating Genes)
http://nature.chem.msu.su/
lectures_old/Recombination/VDJ.gif
http://www-immuno.path.cam.ac.uk/~immuno/part1/lec06/igdna.gif
http://www-immuno.path.cam.ac.uk/~immuno/part1/lec06/seg.gif
Immunological Tolerance
 คือการทีร่ ะบบภูมค
ิ ุ้มกันไม่ ตอบสนองต่ อ self antigens
 Natural tolerance หรือ self tolerance ช่ วยให้ ร่างกายของเรา
ไม่ ถูกทำลายโดยระบบภูมคิ ุ้มกันของตนเอง
 หากไม่ มี self tolerance จะเกิด autoimmune diseases

 Induced tolerance: เป็ น tolerance ทีเ่ กิดจากการทีเ่ ราตั้งใจ


กระตุ้นให้ ร่างกายไม่ ตอบสนองต่ อแอนติเจนจากภายนอกบาง
ชนิด เพือ่ ประโยชน์ บางประการ เช่ นป้ องกันโรคภูมแิ พ้ หรือ
ป้องกันการปฏิเสธการปลูกถ่ ายเนือ้ เยือ่
กลไกการเกิด Immunological Tolerance

Developing lymphocytes ทีม่ ี antigen receptor ทีส่ ามารถ interact


กับ self antigens ได้ จะถูกกระตุ้นให้ เกิด programmed cell death
http://bio.winona.msus.edu/bates/Human%20Bio/Images/hb12_02.jpg

Você também pode gostar