Você está na página 1de 54

ระบบปฏิบ ัติการ

(Operating Systems)
น.ท.ไพศาล โมลิ สกุ ล
มงคล
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 1
บทที่ 9
การจัดการมัลติมีเดีย
(Multimedia Management)

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 2
พืพืน้ น้ ฐานสื
ฐานสื่ อ่ อมัมัลลติติมมเี เี ดีดียย
 สื่อมัลติมีเดียที่นิยมใช้ กนั ได้ แก่ video clip เป็ นสื่อเก็บข้ อมูลที่ใช้
กันทางด้ านอินเทอร์ เน็ต
 ปั จจุบน
ั ทังเสี
้ ยงและภาพสามารถจัดเก็บอยูใ่ นรูปไฟล์ข้อมูลในสื่อ
แบบต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ น แผ่นดิสก์ แผ่นซีดี
 ระบบมัลติมีเดียได้ นำไปใช้ ในเชิงพาณิชย์เป็ นจำนวนมาก โดย

เฉพาะทางภาพยนตร์ ได้ ใช้ ระบบเคเบิลทีวี


 ระบบการถ่ายทอดภาพก็ยิ่งต้ องมีความเร็ วมากขึ ้นเท่านัน ้ video
server ต้ องมีความเร็ วในการจัดการข้ อมูลภาพที่เก็บไว้ ในดิสก์
เป็ น 1000 ดิสก์
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 3
พืพืน้ น้ ฐานสื
ฐานสื่ อ่ อมัมัลลติติมมเี เี ดีดียย
 เทคโนโลยีปัจจุบนั ที่มีใยแก้ วนำแสดง หรื อไฟเบอร์ ออปติก (fiber optic)
ได้ ถกู นำมาใช้ ในวงการเคเบิลทีวี
 ระบบการประมวลผลข้ อมูลและการส่งข้ อมูลของเคเบิลทีวีไปยังผู้รับ
บริการให้ ได้ ตามความต้ องการนัน้ เรี ยกว่า video on demand
 ไม่วา่ ผู้รับบริ การแต่ละครัวเรื อนต้ องการชมภาพยนตร์ หรื อ กีฬา ผู้ให้
บริการต้ องให้ บริ การได้ ตามต้ องการของผู้รับบริการ

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 4
เคเบิลทีวี ประกอบด้ วยส่ วนสำคัญ 3 ประการได้ แก่ 1. Video server 2. ระบบการ
สื่ อสารผ่ านเครือข่ าย 3. บล็อกแปลงสั ญญาณ (set top box )

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 5
พืพืน้ น้ ฐานสื
ฐานสื่ อ่ อมัมัลลติติมมเี เี ดีดียย
 ระบบ PAL (Phase Alternating Line) และ SECAM (Sequentiel
Couleur Avec Memoire) ทัง้ 2ระบบใช้ แสดงภาพนิ่ง 25 ภาพ/วินาที
 ระบบทีวีแบบ PAL ใช้ ในประเทศเยอรมัน รวมทังประเทศไทยด้
้ วย
 ระบบทีวีแบบ SECAM ใช้ ในกลุม่ ประเทศยุโรปตะวันออก
 ระบบ PAL หรื อ NTSC มีการส่งภาพออกมา ต่อวินาทีไม่เท่ากัน
 ความแตกต่างของเสียงที่สง่ ออกมาในอัตราเร็วที่แตกต่างกันนันเราเรี ้ ยก
ว่า จิทเทอร์ (jitter) จิทเทอร์ จะต่างจากดีเลย์ (delay) ตรงที่ดีเลย์เป็ นช่วง
เวลาที่สง่ ข้ อมูลออกมา ผู้รับจะต้ องรอไประยะหนึง่

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 6
พืพืน้ น้ ฐานสื
ฐานสื่ อ่ อมัมัลลติติมมเี เี ดีดียย
 Set Top Box คือคอมพิวเตอร์ ประเภทหนึง่ ซึง่ ประกอบอยูด่ ้ วย ซีพียู,
รอม,แรม แต่ทำหน้ าที่ไม่เทียบเท่าคอมพิวเตอร์ พีซี
 สามารถใช้ พีซีมาแทน set top box ได้ อีกทังยั
้ งสามารถทำงานได้ มากกว่า
 ระบบมัลติมีเดียมีคณ
ุ ลักษณ์ สำคัญ 2 ประการ คือ
 ระบบมัลติมีเดียต้ องสามารถสื่อสารข้ อมูลได้ ด้วยอัตราเร็วสูงมาก เพราะ
ข้ อมูลที่ถ่ายทอดออกมาจะอยูใ่ นรูปของภาพและเสียง
 ระบบมัลติมีเดียต้ องสามารถแสดงภาพและเสียง ในลักษณะที่เป็ นเรี ยลไทม์
การแสดงภาพเคลื่อนไหวโดยทัว่ ไปจะอาศัยจำนวนภาพนิ่งหลายๆ ภาพมา
แสดงอย่างต่อเนื่อง

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 7
อัตราการถ่ ายโอนข้ อมูลของมัลติมเี ดีย และอินพุต / เอาต์ พุตดีไวซ์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 8
การเข้
การเข้าารหั
รหัสสเสีเสียยงง (Audio
(AudioEncoding)
Encoding)
 ข้ อมูลเสียงเป็ นข้ อมูลขนาด 1 มิติ ที่เราเรี ยกว่าความดังของเสียง
 การที่มนุษย์ได้ ยิน เกิดจากเคลื่อนเสียงที่มีความถี่เข้ าไปในหู
 ภายในหูประกอบด้ วยอวัยวะภายในที่เป็ นชิ ้นกระดูกชิ ้นเล็กๆ 3 ชิ ้นทำ
หน้ าที่สนั่ แล้ วส่งต่อไปยังประสาทหูให้ สามารถรับรู้ถงึ เสียงที่เกิดขึ ้น
 ความถี่ที่ประสาทหูของมนุษย์ได้ ยิน จะอยูใ่ นช่วงตังแต่้ 20 เฮิร์ต (Hz) ถึง
20000 เฮิร์ต

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 9
(ก) Sine wave

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 10
(ข) Sampling sine wave

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 11
(ค) Quantizing the samples to 4 bits

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 12
การเข้
การเข้าารหั
รหัสสภาพ
ภาพ (Video
(VideoEncoding)
Encoding)
 การสร้ างภาพบนหน้ าจอที่แสดงออกมาโดยเฉพาะภาพเคลื่อนไหว ภาพที่
แสดงออกทีละภาพหรื อเฟรม (frame)อย่างน้ อย 25 เฟรมต่อวินาที ทำให้
เกิดความราบเรี ยบของภาพเคลื่อนไหวจนสายตามนุษย์ไม่สามารถแยก
ออกได้ วา่ เกิดจากภาพนิ่งมาประกอบกัน
 แต่ละประเทศใช้ ระบบ NTSC มี 525 เส้ น แสดงจำนวนภาพ 30 เฟรมต่อ
วินาที
 ระบบ PAL, SECAM ในทวีปยุโรปมี 625 เส้ นแสดงจำนวนภาพ 25 เฟรม
ต่อวินาที
 ประเทศไทยเป็ นระบบ PAL การแสดงภาพของจอคอมพิวเตอร์ เริ่ มต้ นจาก
เส้ นที่ 1
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 13
การเข้
การเข้าารหั
รหัสสภาพ
ภาพ (Video
(VideoEncoding)
Encoding)
 ประเทศไทยเป็ นระบบ PAL การแสดงภาพของจอคอมพิวเตอร์ เริ่ มต้ นจาก
เส้ นที่ 1 ในตำแหน่งบนสุดสแกน (Scan) หรื อกวาดจากซ้ ายมือไปทางด้ าน
ขวาสุดแล้ วขึ ้นเส้ นที่สองในบรรทัดที่ 3, 5, 7, 9 ไปจนกระทัง่ เส้ นสุดท้ าย
รวมเรี ยกว่าครบ 1 ฟิ ลด์ (field) แล้ วขึ ้นไปที่เส้ นคู่ 2, 4, 6,…เป็ นฟิ ลด์ที่ 2
 กรณีภาพสี จะผสมทัง้ 3 สีได้ แก่ แดง, เขียว, น้ำเงิน หรื อที่เรี ยกว่า RGB
ซึง่ เป็ นแม่สีมาผสมกันจนเกิดเป็ นภาพนับล้ านๆสี
 แม่สีทงั ้ 3สี ถูกผสมโดยสัญญาณที่เรี ยกว่า สัญญาณผสม (Composite
Signal) ให้ กบั จุดหรื อพิกเซลสี (Pixel) เพื่อสร้ างภาพให้ ปรากฏบนจอ
คอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 14
แพทเทิร์นทีใ่ ช้ ในการสแกนภาพของระบบ NTSC

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 15
การเข้
การเข้าารหั
รหัสสภาพ
ภาพ (Video
(VideoEncoding)
Encoding)
 ภาพที่เรามองเห็นประกอบด้ วยสี (color) และความสว่าง (brightness)
ทังความสว่
้ างและสีนนถู
ั ้ กควบคุมแยกจากกันโดยสิ ้นเชิง
 โดยปกติแล้ วขนาดของจอภาพคอมพิวเตอร์ จะมีอตั ราส่วนความกว้ าง *
ความสูง เท่ากับ 4:3
 จอภาพแบบ VGA มีความละเอียดภาพอยูท่ ี่หน่วยความจำของจอภาพ
แบบ XGA ด้ วยจำนวนสี 24 บิตต่อพิกเซล และใช้ จำนวนภาพ 25 ภาพ
ต่อวินาที ต้ องมีหน่วยความจำเท่ากับ 472 Mbps

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 16
การบี
การบีบบอัอัดดภาพ
ภาพ (Video
(Video Compression)
Compression)
 เทคนิคการบีบอัดภาพมีเทคนิคสำคัญอยู่ 2 ประการ คือ
 การเข้ ารหัส (Coding) เพื่อเก็บภาพให้ มีขนาดเล็กลง
 การถอดรหัส (Decoding) เพื่อแสดงภาพ
 วิธีการบีบอัดภาพ สามารถนำไปใช้ ในวงการต่างๆ เช่น สำหรับภาพยนตร์
 สามารถบีบอัดภาพลงในแผ่นซีดีรอมเพียงครัง้ เดียวแล้ วนำไปเปิ ดฉายได้
หลายๆสิบครัง้
 ข้ อจำกัดที่เกิดขึ ้นในการบีบอัดภาพ คือ เมื่อมีการนำเอาภาพต้ นฉบับมา
ทำสำเนาใหม่คณ ุ ภาพที่ได้ จะไม่เหมือนเดิม

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 17
มาตรฐานภาพ
มาตรฐานภาพ JPEG
JPEG
 JPEG (Join Photographic Experts Group) การบันทึกภาพตาม
มาตรฐานของ JPEG แบ่งออกได้ เป็ น 4 ขันตอนดั
้ งนี ้
 ขันตอนที
้ ่เข้ ารหัสภาพของ JPEG โดยจะทำการแบ่งพื ้นที่หน้ าจอภาพออก
เป็ น บล็อก
 เมื่อได้ จำนวนบล็อกทังหมด
้ 7200 บล็อก แล้ วจะใช้ DCT (Discrete Cosine
Transformation) ในการเข้ ารหัสข้ อมูลแต่ละบล็อก กำหนดค่าเริ่ มต้ นของ
แต่ละพิกเซล เท่ากับ 0

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 18
(ก) RGB input data (ข) After block preparation

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 19
(ก) One block of the Y matrix (ข) The DCT coefficients

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 20
มาตรฐานภาพ
มาตรฐานภาพ JPEG
JPEG
 นำ DCT coefficients มาหารด้ วย ตัวถ่วงน้ำหนัก (weights) ที่กำหนดให้ ในตาราง
Quantization table ก็จะทำให้ คา่ ของ Quantized coefficient ด้ วยวิธีการในขัน้
ตอนนี ้อาจจะทำให้ ความละเอียดของภาพลงลงไป แต่ค้ มุ ค่ากับความเร็วที่ได้ เพิ่มขึ ้น
เป็ นอย่างมาก
 ลดจำนวนศูนย์ โดยการแทนค่า 0 ด้ วยรหัสใดๆ ที่แสดงให้ เห็นว่าเป็ นค่าที่ตา่ งจาก
ค่าอื่นๆ ค่าที่แสดงเป็ น 0 มีความหมายว่าเป็ นสีพื ้นซึง่ มีจำนวนมากที่สดุ ของเฟรม
ภาพ
 ทำการเก็บข้ อมูลแต่ละพิกเซลให้ อยูใ่ นรูปของลิสต์ จากซ้ ายไปขวาและจากบนลง
ล่าง
 จัดเก็บข้ อมูลที่ทำการเข้ ารหัสในแต่ละบล็อกลงบนสื่อ เช่นดิสก์ หรื อซีดีรอม เสร็จสิ ้น
วิธีการเข้ ารหัสของการเก็บภาพแบบ JPEG

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 21
การคำนวณหาค่ า quantized DCT coefficients

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 22
ลำดับการย้ ายค่ า quantized

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 23
มาตรฐานภาพ
มาตรฐานภาพ MPEG
MPEG
 MPEG ย่อมาจากคำว่า (Motion Picture Experts Group)
 ในปี ค.ศ.1993 ถือเป็ นเวอร์ ชนั่ แรกของมาตรฐานนี ้
 ความละเอียดภาพ 352 * 240 ในทีวีระบบ NTSC ของประเทศอเมริ กา
 เวอร์ ชนั่ นี ้มีอตั ราการส่งข้ อมูล 1.2 Mbps ต่อการได้ ทำการปรับปรุงใน
เวอร์ ชนั่ ใหม่
 อัตราการส่งข้ อมูล 4 ถึง 6 Mbps ทำให้ เวอร์ ชนั่ นี ้สามารถใช้ ได้ กบั ทังที
้ วี
ระบบ PAL และ NTSC

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 24
การจั
การจัดดเวลาโปรเซสมั
เวลาโปรเซสมัลลติติมมเี เีดีดียย (Multimedia
(MultimediaProcess
Process
Scheduling)
Scheduling)
 ระบบนี ้แตกต่างจากระบบปฏิบตั ิการโดยทัว่ ไปอยู่ 3 ประการด้ วยกันคือ
 ขันตอนการโปรเซส

 ระบบไฟล์
 การทำงานของดิสก์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 25
การทำงานของโปรเซสที
การทำงานของโปรเซสทีค่ ค่ ล้ล้าายๆ
ยๆ กักันน
 การแสดงภาพของอุปกรณ์ชนิดนี ้คิดเป็ นจำนวนภาพต่อวินาที
 สามารถกำหนดได้ ลว่ งหน้ าว่าใช้ เวลาเท่าไหร่ในการแสดงภาพที่มีอยู่
 การทำงานของอุปกรณ์แสดงภาพในแต่ละวงรอบของงานจะเหมือนกัน
 เริ่มการอ่านข้ อมูลจากแผ่นดิสก์มาทีละเฟรม แล้ วส่งต่อให้ ผ้ ใู ช้
 จำนวนข้ อมูลแต่ละเฟรมจะมีขนาดคงที่

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 26
การจั
การจัดดเวลาแบบเรี
เวลาแบบเรียยลไทม์
ลไทม์ (Real
(RealTime
Time Scheduling)
Scheduling)
 จำนวนผู้ใช้ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอด ขนาดของเฟรมภาพที่แสดงต่อ
วินาทีที่ตา่ งกัน
 ชนิดของภาพ หรื อแม้ กระทัง่ ความถี่ของตัวระบบเองมีความสามารถใน
การประมวลผลข้ อมูลที่แตกต่างกัน
 โปรเซสต่างๆ เหล่านี ้สามารถทำงานร่วมกันภายใต้ สภาวะแวดล้ อมที่ตา่ ง
แล้ วทำให้ งานนัน้ ๆ สำเร็จได้ ในระยะเวลาที่กำหนดได้ เรี ยกว่าการ
จัดการเวลาแบบเรี ยลไทม์ (Real Time Scheduling)

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 27
โปรเซส 3 โปรเซส แต่ ละโปรเซสแสดงภาพยนตร์ อัตราเฟรมและสิ่ งทีต่ ้ องการในการ
โปรเซสจะแตกต่ างกันในแต่ ละภาพยนตร์
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 28
จากโปรเซส 3 โปรเซส คือ A, B, C ซึ่งเป็ นตัวอย่างของระบบมัลติมีเดียแบบเรี ยลไทม์
โปรเซส A ต้องการแสดงภาพทุกๆ 30 มิลลิวนิ าที โดยที่แต่ละภาพใช้เวลา
ซีพียู 10 มิลลิวนิ าที
โปรเซส B ต้องการแสดงภาพทุกๆ 40 มิลลิวนิ าที โดยที่แต่ละภาพใช้เวลา
ซีพียู 15 มิลลิวนิ าที
โปรเซส C ต้องการแสดงภาพทุกๆ 50 มิลลิวนิ าที โดยที่แต่ละภาพใช้เวลา
ซีพียู 5 มิลลิวนิ าที
C คือเวลาที่ซีพียใู ช้ในการทำงานโปรเซส
P คือช่วงเวลาในการแสดงแต่ละภาพ
I คือลำดับที่ของโปรเซส
M คือจำนวนโปรเซส

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 29
การจั
การจัดดเวลาแบบโทนเสี
เวลาแบบโทนเสียยงเดี
งเดียยวว(RMS:
(RMS:Rate
RateMonotonic
Monotonic
Scheduling)
Scheduling)
 แต่ละโปรเซสจะต้ องทำเสร็จภายในช่วงเวลาที่ความถี่กำหนด
 แต่ละโปรเซสต้ องเป็ นอิสระต่อกัน
 วงรอบของแต่ละโปรเซสจะใช้ เวลาของซีพียเู ท่าๆ กัน
 สำหรับโปรเซสที่ไม่ได้ เกิดเป็ นวงรอบจะไม่มีการกำหนดเวลาสิ ้นสุด
 Process สามารถดำเนินได้ อย่างต่อเนื่องโดยไม่ต้องการสิง่ ใดช่วย

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 30
การจัดเวลาแบบนีส้ ามารถอธิบายได้ โดยใช้ ตวั อย่ างต่ อไปนี้
โปรเซส A ความถี่ในการแสดงข้อมูล 33 ครั้ง/นาที แต่ละครั้งใช้เวลาเท่ากับ
30 มิลลิวนิ าที
โปรเซส B ความถี่ในการแสดงข้อมูล 25 ครั้ง/นาที แต่ละครั้งใช้เวลาเท่ากับ
40 มิลลิวนิ าที
โปรเซส C ความถี่ในการแสดงข้อมูล 20 ครั้ง/นาที แต่ละครั้งใช้เวลาเท่ากับ
50 มิลลิวนิ าที
โปรเซส A ใช้เวลารัน 10 มิลลิวนิ าทีในแต่ละครั้ง
โปรเซส B ใช้เวลารัน 15 มิลลิวนิ าทีในแต่ละครั้ง
โปรเซส C ใช้เวลารัน 5 มิลลิวนิ าทีในแต่ละครั้ง

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 31
การจัดเวลาของ RMS และ EDF real - time

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 32
การทำงานระบบไฟล์
การทำงานระบบไฟล์มมลั ลั ติติมมเี เีดีดียย(Multimedia
(MultimediaFile
FileSystem
System
Paradigms)
Paradigms)
 ระบบไฟล์ของมัลติมีเดียนันแตกต่
้ างไปจากระบบไฟล์แบบเก่าที่เราคุ้น
เคยกันเป็ นอย่างมาก
 สำหรับระบบไฟล์แบบเดิมการเปิ ดไฟล์เพื่ออ่านข้ อมูลจะต้ องทำไปตาม
ขันตอนทุ
้ ก ๆ ครัง้ ที่ต้องการอ่านข้ อมูล เริ่ มต้ นด้ วยการร้ องขอผ่าน
System call ของระบบปฏิบตั ิการ
 ปั ญหาที่สำคัญคือเซิร์ฟเวอร์ ต้องการข้ อมูลมัลติมีเดียที่มีขนาดปริ มาณที่
แน่นอนและต้ องทันเวลาในการประมวลผลแต่ละครัง้ นอกจากนันตั ้ ว
เซิร์ฟเวอร์ เองจะต้ องสามารถสนับสนุนบล็อกของข้ อมูลในการประมวล
ผลแต่ละครัง้ ตามที่ระบบต้ องการ
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 33
การทำงานระบบไฟล์
การทำงานระบบไฟล์มมลั ลั ติติมมเี เีดีดียย(Multimedia
(MultimediaFile
FileSystem
System
Paradigms)
Paradigms)
 ระบบไฟล์แบบเดิม ๆ ไม่สามารถนำมาใช้ กบั ระบบไฟล์ของมัลติมีเดียได้
การอ่านข้ อมูลไฟล์ในระบบมัลติมีเดียเริ่ มต้ นด้ วยการร้ องขอผ่าน System
call ในตอนเริ่ มต้ น
 หลังจากนัน้ video server จะทำการส่งข้ อมูลตามขนาดและอัตรา
ความเร็ วที่กำหนด
 ลักษณะการส่งข้ อมูลของไฟล์มลั ติมีเดียจะเป็ นการป้อนข้ อมูล (push
server) แต่ในระบบไฟล์แบบเดิมเป็ นแบบดึงข้ อมูล (pull server) ดังนัน้
การข้ อมูลของ video server ทำให้ เกิดความรวดเร็ วยิ่งขึ ้นในการแสดงผล
ภาพที่ตอ่ เนื่อง
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 34
(ก) Pull Server (ข) Push Server

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 35
การจั
การจัดดเก็เก็บบข้ข้ออมูมูลลลงไฟล์
ลงไฟล์ (File
(FilePlacement)
Placement)
 การเก็บไฟล์ลงในดิสก์เดียวกัน (Placing File on a Single Disk)
 สองกลวิธีในการจัดเก็บไฟล์ข้อมูล (Two Alternative File Organization

Strategies)
 การเรี ยงข้ อมูลไฟล์ไว้ ตามลำดับเคลื่อนที่ของหัวอ่าน (Placing Files For

Near Video on Command)


การจัดเก็บข้ อมูลหลายไฟล์บนดิสก์เดียวกัน (Placing Multiple Files on a
Single Disk)
 การจัดเรี ยงหลายไฟล์ลงบนดิสก์หลายตัว (Placing Files on Multiple

Disks)

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 36
การเก็
การเก็บบไฟล์
ไฟล์ลลงในดิ
งในดิสสก์ก์เเดีดียยวกั
วกันน
 สิง่ สำคัญในการอ่านสายข้ อมูลเข้ าสูร่ ะบบเครื อข่าย หรื อแสดงข้ อมูล
ออกสูจ่ อภาพ คือความเร็ว และ ปราศจากการเสียเวลาในเรื่ องต่าง ๆ
เช่น การค้ นหาข้ อมูล (seek time) เป็ นต้ น
 การแก้ ปัญหาในการค้ นหาข้ อมูลวิธีการหนึง่ คือใช้ วิธีเก็บข้ อมูลแบบต่อ
เนื่อง อย่างไรก็ตามวิธีการนี ้ก็เป็ นวิธีการที่ไม่ได้ ผลเต็มที่นกั เพราะการ
อ่านข้ อมูลของระบบไฟล์แบบมัลติมีเดียนันนอกจากจะมี
้ ไฟล์ข้อมูลภาพ
แล้ ว ยังอาจจะประกอบด้ วยไฟล์ข้อมูลเสียงและข้ อความอีกด้ วย

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 37
การเก็
การเก็บบไฟล์
ไฟล์ลลงในดิ
งในดิสสก์ก์เเดีดียยวกั
วกันน
 ความซับซ้ อนของข้ อมูลดังกล่าวทำให้ การอ่านข้ อมูลไฟล์จากสื่อข้ อมูล
แบบต่อเนื่องมีปัญหาในการแยกประเภทของข้ อมูล หรื อแม้ แต่การจัด
เก็บข้ อมูลแบบต่อเนื่องให้ กบั ข้ อมูลภาพ เสียง และข้ อความแยกจากกัน
ก็ยงั ต้ องพบกับปั ญหาในการค้ นหาข้ อมูล
 หนทางในการแก้ ปัญหานี ้ได้ แก่การสร้ างแต่ละเฟรมข้ อมูลให้ ตอ่ เนื่องและ
ในแต่ละเฟรมจะถูกกำหนดให้ เก็บข้ อมูลแต่ละประเภทเป็ นแบบเดียวกัน

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 38
ภาพยนตร์ ทมี่ กี ารเก็บข้ อมูลทีเ่ ป็ นภาพ, เสี ย และข้ อความอยู่ในไฟล์ เดียวกัน

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 39
สองกลวิ
สองกลวิธธีใีในการจั
นการจัดดเก็เก็บบไฟล์
ไฟล์ขข้ อ้ อมูมูลล
 กลวิธีในการเก็บข้ อมูลของมัลติมีเดียไฟล์คือ
 วิธีการแรกใช้ บล็อกที่มีขนาดเล็ก
 วิธีที่สองใช้ บล็อกขนาดใหญ่
 ในกรณีของการใช้ บล็อกขนาดเล็ก วิธีการนี ้ขนาดเฉลี่ยของบล็อกจะเล็ก
กว่าขนาดของเฟรม ข้ อมูลแต่ละเฟรมจะประกอบไปด้ วยบล็อกที่เรี ยงติด
กันต่อเนื่องกันไป
 จำนวนบล็อกที่ใช้ ในแต่ละเฟรมอาจจะไม่เท่ากันขึ ้นอยูก
่ บั จำนวนข้ อมูล
แต่ละเฟรม
 ภายในเฟรมนอกจากจะประกอบด้ วยข้ อมูลภาพแล้ วยังมีข้อมูลประเภท

อื่นรวมอยูด่ ้ วย
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 40
การเก็บภาพยนตร์ ทไี่ ม่ ต่อเนื่อง (ข) บล็อกของดิสก์ ขนาดใหญ่
(ก) บล็อกของดิสก์ ขนาดเล็ก

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 41
การเรี
การเรียยงข้
งข้ออมูมูลลไฟล์
ไฟล์ไไว้ว้ตตามลำดั
ามลำดับบเคลื
เคลือ่ อ่ นที
นทีข่ ข่ องหั
องหัววอ่อ่าานน
 วิธีนี ้เป็ นการจัดลำดับข้ อมูลภายในไฟล์ เรี ยงตามลำดับตามการเคลื่อนที่
ของหัวอ่านและการหมุนของดิสก์ หรื อซีดีรอม
 เนื่องจากการเก็บไฟล์ข้อมูลแบบที่ใช้ กน ั โดยทัว่ ไปเป็ นการเก็บแบบเรี ยง
ลำดับแต่ไม่สามารถสนับสนุนการอ่านข้ อมูลที่เป็ นสายข้ อมูลได้ อย่างต่อ
เนื่อง ทำให้ ต้องเสียเวลาในการค้ นหาข้ อมูลในแต่ละช่วง
 สำหรับกลวิธีจด ั เตรี ยมสายข้ อมูล ให้ มีความต่อเนื่องนันถู ้ กค้ นพบในปี
ค.ศ.1997
 การจัดเตรี ยมสายข้ อมูลไว้ สำหรับให้ หว ั อ่านสามารถอ่านข้ อมูลได้ อย่างต่อ
เนื่อง ตลอดทัว่ ทังแผ่
้ นดิสก์ หรื อตลอดภาพยนตร์ ทงเรื ั ้ ่ อง ประกอบกับการ
ใช้ หน่วยความจำบัฟเฟอร์ เข้ ามาช่วย
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 42
การเรี
การเรียยงข้
งข้ออมูมูลลไฟล์
ไฟล์ไไว้ว้ตตามลำดั
ามลำดับบเคลื
เคลือ่ อ่ นที
นทีข่ ข่ องหั
องหัววอ่อ่าานน
 วิธีนี ้เป็ นการจัดลำดับข้ อมูลภายในไฟล์ เรี ยงตามลำดับตามการเคลื่อนที่
ของหัวอ่านและการหมุนของดิสก์ หรื อซีดีรอม
 เนื่องจากการเก็บไฟล์ข้อมูลแบบที่ใช้ กนั โดยทัว่ ไปเป็ นการเก็บแบบเรี ยง
ลำดับแต่ไม่สามารถสนับสนุนการอ่านข้ อมูลที่เป็ นสายข้ อมูลได้ อย่างต่อ
เนื่อง ทำให้ ต้องเสียเวลาในการค้ นหาข้ อมูลในแต่ละช่วง
 สำหรับกลวิธีจดั เตรี ยมสายข้ อมูล ให้ มีความต่อเนื่องนันถู ้ กค้ นพบในปี
ค.ศ.1997
 การจัดเตรี ยมสายข้ อมูลไว้ สำหรับให้ หวั อ่านสามารถอ่านข้ อมูลได้ อย่างต่อ
เนื่อง ตลอดทัว่ ทังแผ่
้ นดิสก์ หรื อตลอดภาพยนตร์ ทงเรืั ้ ่ อง ประกอบกับการ
ใช้ หน่วยความจำบัฟเฟอร์ เข้ ามาช่วย
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 43
การเรี
การเรียยงข้
งข้ออมูมูลลไฟล์
ไฟล์ไไว้ว้ตตามลำดั
ามลำดับบเคลื
เคลือ่ อ่ นที
นทีข่ ข่ องหั
องหัววอ่อ่าานน
 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่านข้ อมูลมัลติมีเดียไฟล์ได้ มากกว่า 50
เปอร์ เซ็นต์ เทคนิคดังกล่าวเป็ นวิธีการง่าย ๆ ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้ จา่ ยแต่
อย่างใด และเป็ นที่นิยมใช้ กนั โดยทัว่ ไป

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 44
การเรียงลำดับข้ อมูลตามลำดับของหัวอ่ าน

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 45
การจั
การจัดดเก็เก็บบข้ข้ออมูมูลลหลายไฟล์
หลายไฟล์บบนดิ
นดิสสก์ก์เเดีดียยวกั
วกันน
 สำหรับระบบมัลติมีเดียแบบมีผ้ ใู ช้ จำนวนมาก (Multiuser) การจัดเก็บไฟล์
ภาพยนตร์ หลาย ๆ เรื่ องไว้ บนดิสก์เดียวกันจะทำให้ หวั อ่านดิสก์ต้องทำงาน
หนักขึ ้น
 ยิ่งมีผ้ ใู ช้ ต้องการชมภาพยนตร์ หลายเรื่ องเพิ่มขึ ้น หัวอ่านดิสก์ก็ยิ่งต้ องการ
ทำงานหนักขึ ้น
 การหากลวิธีการใด ๆ เข้ ามาช่วยจะทำให้ ชว่ ยยืดอายุของหัวอ่านได้ นาน
ขึ ้น และยังช่วยให้ ระบบทำงานได้ เร็วขึ ้น
 จากการทดสอบความถี่ของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นการยืมหนังสือใน
ห้ องสมุด การเช่าวีดีโอเทป หรื อแม้ กระทังเว็้ บไซต์ที่มีผ้ เู ข้ าชมมากที่สดุ

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 46
C/1 + C/2 + C/3 +…+ C/n = 1 เมื่อ n คือจำนวนภาพยนตร์ที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการชม
C คือ ค่าคงที่ใดๆ

กราฟแสดงความถีใ่ นการเรียกใช้ ไฟล์ บน video server

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 47
การจั
การจัดดเรีเรียยงหลายไฟล์
งหลายไฟล์ลลงบนดิ
งบนดิสสก์ก์หหลายตั
ลายตัวว
 ในการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลแบบไฟล์มลั ติมีเดียหลาย ๆ ไฟล์ลงบนดิสก์นนั ้
เพื่อให้ ได้ ประสิทธิภาพสูงสุดในการอ่านข้ อมูล
 นอกจากนัน้ ดิสก์แต่ละตัวจะต้ องสามารถทำงานได้ พร้ อม ๆ กันอย่าง
อิสระอีกด้ วย
 สำหรับตัว video server จะต้ องมีความสามารถสูงในการจัดการกับดิสก์
หลาย ๆ ตัวได้ เป็ นอย่างดี
 สามารถทำงานได้ รวดเร็วโดยไม่ไปสนใจกับข้ อบกพร่องเล็ก ๆ น้ อย ๆ ที่
อาจจะเกิดขึ ้นได้ ในระหว่างที่อา่ นข้ อมูล นอกจากนันตั
้ วเซิร์ฟเวอร์ เองจะ
ต้ องสามารถแก้ ปัญหาคอขวดที่เกิดขึ ้นในระบบได้

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 48
การจั
การจัดดเรีเรียยงหลายไฟล์
งหลายไฟล์ลลงบนดิ
งบนดิสสก์ก์หหลายตั
ลายตัวว
 ในการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลแบบไฟล์มลั ติมีเดียหลาย ๆ ไฟล์ลงบนดิสก์นนั ้
เพื่อให้ ได้ ประสิทธิภาพสูงสุดในการอ่านข้ อมูล
 นอกจากนัน้ ดิสก์แต่ละตัวจะต้ องสามารถทำงานได้ พร้ อม ๆ กันอย่าง
อิสระอีกด้ วย
 สำหรับตัว video server จะต้ องมีความสามารถสูงในการจัดการกับดิสก์
หลาย ๆ ตัวได้ เป็ นอย่างดี
 สามารถทำงานได้ รวดเร็วโดยไม่ไปสนใจกับข้ อบกพร่องเล็ก ๆ น้ อย ๆ ที่
อาจจะเกิดขึ ้นได้ ในระหว่างที่อา่ นข้ อมูล นอกจากนันตั
้ วเซิร์ฟเวอร์ เองจะ
ต้ องสามารถแก้ ปัญหาคอขวดที่เกิดขึ ้นในระบบได้

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 49
การจั
การจัดดเรีเรียยงหลายไฟล์
งหลายไฟล์ลลงบนดิ
งบนดิสสก์ก์หหลายตั
ลายตัวว
 สำหรับระบบที่มีดิสก์หลายตัวเราสามารถใช้ ดิสก์แต่ละตัวเก็บภาพยนตร์
แต่ละเรื่ องได้
 แต่วิธีการนี ้ทำให้ เกิดความไม่สมดุลย์ในระบบดิสก์ เพราะดิสก์ที่เก็บ
ภาพยนตร์ ที่มีผ้ ตู ้ องการชมมากจะทำงานหนักเพียงตัวเดียว
 ดังนันเพื
้ ่อเป็ นการเฉลี่ยในการแบ่งเบาภาระของดิสก์แต่ละตัวให้ เท่า ๆ
กัน ระบบการจัดเก็บจะต้ องแบ่งเฟรมภาพยนตร์ เรื่ องเดียวกันให้ กระจาย
ไปอยูท่ วั่ ไปในดิสก์ทกุ ตัว

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 50
(ก) การจัดการไฟล์ มลั ติมเี ดียแบบไม่ มกี ารแบ่ งภาพยนตร์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 51
(ข) การจัดการไฟล์ มลั ติมเี ดียแบบใช้ แพทเทิร์นเดียวกันสำหรับแต่ ละไฟล์

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 52
(ค) การจัดการไฟล์ มลั ติมเี ดียแบบแบ่ งภาพยนตร์ วางแต่ ละดิสก์ ในลักษณะเหลือ่ ม

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 53
(ง) การจัดการไฟล์ มลั ติมเี ดียแบบใช้ งานสุ่ ม

ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operating Systems) 54

Você também pode gostar